บันทึกข้อตกลง กับ สัญญา ต่างกันอย่างไร

MoU ย่อมาจาก Memorandum of Understanding หรือเรียกกันว่า บันทึกความเข้าใจ หมายถึง เอกสารที่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือความเข้าใจระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ซึ่งเมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกัน รับทราบถึงรายละเอียดในบันทึกข้อตกลง และยอมรับข้อตกลงที่ทำร่วมกันแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่ายจะลงนามในบันทึกข้อตกลงนั้น เพื่อรับรองว่า ทั้งสองฝ่ายพึงพอใจกับข้อตกลงที่ทำร่วมกัน และ MOU ฉบับนี้ก็จะมีผลบังคับใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในเอกสารนั้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

บันทึกข้อตกลง กับ สัญญา ต่างกันอย่างไร

กองธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน นฤมล บุญแต่ง นักวรรณศิลป์ 7 ว ให้คำอธิบายว่า บันทึกความเข้าใจ หรือเอ็มโอยู (MOU-Memorandum of Understanding)  เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง

โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา

ขณะที่ บันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement) เป็นหนังสือหรือสัญญา ซึ่งมีข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นข้อกติกา ข้อที่นัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ จึงมีใช้ได้ทั้ง 2 คำ แต่จะใช้บันทึกความเข้าใจมากกว่า เช่น MOU ระหว่างมหาวิทยาลัยกับส่วนราชการ ในการแลกเปลี่ยนวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

ที่ผ่านมา เรามักจะได้ยินคำว่า MOU บ่อยๆ ทั้งในการทำ MOU ระหว่างประเทศ หรือระหว่างองค์กรเเละหน่วยงานต่างๆ จึงทำให้หลายคนอดสงสัยไม่ได้ว่า MOU มีความหมายอย่างไร ? และบางคนอาจสงสัยไปอีกเลเวลว่า มีความแตกต่างจาก MOA อย่างไร ? สปริงนิวส์จึงขออาสาเคลียร์ทุกข้อสงสัยให้หายคาใจ ดังนี้

MOU ย่อมาจาก Memorandum Of Understanding หมายถึง บันทึกความเข้าใจ เป็นเอกสารที่บันทึกข้อตกลงโดยความร่วมมือ หรือความเข้าใจระหว่างองค์กร หน่วยงาน รัฐ เมื่อทั้งสองฝ่ายรับทราบและเข้าใจรายละเอียดในบันทึกความเข้าใจนั้นแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่าย ก็จะลงนามในบันทึกความเข้าใจ

แต่ MOU ไม่ถือว่าเป็นหนังสือสัญญาที่มีผลตามกฎหมายโดยตรง แต่จะถูกนำมาอ้างอิง เมื่อเรื่องที่สองฝ่ายที่ลงนามเกิดปัญหา จนต้องพึ่งกระบวนการทางกฎหมาย จึงจะนำบันทึกความเข้าใจดังกล่าวมากล่าวอ้าง (ยกเว้นบันทึกสัญญาที่เข้าข่ายเป็นสนธิสัญญา)

โดยบันทึกความเข้าใจ จะเป็นสนธิสัญญาก็ต่อเมื่อเข้าองค์ประกอบของสนธิสัญญา ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969  ส่วนลด Lazada 10.10 | สูงสุด 90% | ตุลาคม 2020 | คลิกเลย!

บันทึกข้อตกลง กับ สัญญา ต่างกันอย่างไร

ส่วน  MOU แตกต่างจาก MOA อย่างไรนั้น คุณนฤมล บุญแต่ง นักวรรณศิลป์ 7 ว จากกองธรรมศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้รายละเอียดและยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ และเห็นถึงความแตกต่างว่า

“บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่า จะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้

“เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา”

ขณะที่ MOA มาจาก Memorandum Of Agreement หมายถึง บันทึกข้อตกลง อันเป็นหนังสือหรือสัญญา ซึ่งมีข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ หรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นข้อกติกา ข้อที่นัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้

ที่ผ่านมา ในการทำบันทึกต่างๆ ระหว่างองค์กร หน่วยงาน รัฐ รวมถึงระหว่างประเทศ มีการจัดทำทั้ง 2 แบบ แต่บันทึกในลักษณะ MOU จะได้รับความนิยมมากกว่า  MOA เพราะสามารถอ้างอิงได้ แต่ไม่ถือว่าเป็นสนธิสัญญาที่ผูกมัดแต่อย่างใด

ที่มา https://th.wikipedia.org/ , http://www.krachab.go.th/assets-admin/files/journal/50961958988654.pdf

เมื่อเข้าเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทแล้ว หากต่อมาภายหลังไม่พอใจไม่อยากจะเป็นผู้ถือหุ้นต่อไป จะทำยังไงดี คำตอบมีทางเดียวคือต้องโอนขายหุ้นนั้นให้คนอื่น ซึ่งการโอนหุ้นนี้กฎหมายได้กำหนดรูปแบบไว้ด้วยว่าต้องทำอย่างไร ซึ่งรูปแบบการโอนที่กฎหมายกำหนดนี้ ผู้โอนทุกคนต้องทำตามแม้จะเป็นการโอนโดยสมัครใจ เช่น การซื้อขาย หรือยกหุ้นให้กันก็ตาม ก็ต้องทำตามวิธีที่กฎหมายกำหนดไว้

วิธีการโอนหุ้นทำได้ 2 วิธีตามประเภทของใบหุ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือ (bearer) คือเพียงแต่ส่งมอบใบหุ้นให้กับผู้รับโอนเท่านั้นก็มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้ว ( ป... มาตรา 1135) โดยไม่ต้องไปทำหนังสือ หรือสัญญาอะไรอีก เนื่องจากใบหุ้นชนิดออกให้กับผู้ถือนั้นไม่มีการระบุชื่อผู้ถือหุ้นไว้ ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการอะไร เพียงแต่ส่งมอบใส่มือผู้รับโอนก็เป็นอันเสร็จสมบูรณ์

ส่วนการโอนหุ้นชนิดระบุชื่อผู้ถือหุ้นลงในใบหุ้นนั้นจะต้องมีการทำหนังสือสัญญาขึ้นมาว่าจะมีการโอนหุ้นให้กัน มีการเซ็นชื่อทั้งผู้โอนและผู้รับโอน รวมทั้งต้องมีคนที่สามเป็นพยานอีกหนึ่งคนและต้องใส่หมายเลขหุ้นเข้าไปด้วยว่าจะโอนให้กันกี่หุ้น มีหุ้นหมายเลขที่เท่าไร ต้องทำให้ครบถ้วนอย่างนี้จะขาดตกบกพร่องไปไม่ได้ ถ้าขาดไปอย่างหนึ่งอย่างใด การโอนนั้นเป็นโมฆะทันที (ป... มาตรา 1129) ถ้าซื้อขายกันก็เท่ากับไม่ได้ซื้อขาย ถ้ายกให้ก็มีค่าเท่ากับไม่ได้ยก เคยมีเรื่องที่เกิดขึ้นจริงเป็นคดีมาแล้วมากมายที่การโอนหุ้นทำโดยไม่ถูกต้อง เช่น มีแต่ลายเซ็นผู้โอนไม่มีลายเซ็นผู้รับโอน หรือมีลายเซ็นของทั้งสองคนแต่ไม่มีลายเซ็นพยาน ผลก็คือการโอนนั้นตกเป็นโมฆะ หรือแม้ขณะทำสัญญาจะมีคนร่วมเป็นพยานรู้เห็นอีกกี่คนก็ตาม ก็ไม่มีผลทางกฎหมายแต่อย่างใดทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นจะต้องทำเป็นสัญญาตามที่กฎหมายกำหนดไว้

เคยมีตัวอย่างคดีหนึ่ง ผู้ถือหุ้นทำจดหมายไปถึงบริษัทว่าอยากโอนขายหุ้น ฝ่ายผู้ซื้อก็ทำจดหมายไปถึงบริษัทเหมือนกันว่ายินดีจะซื้อ ต่อมามีการผิดข้อตกลงกัน มีปัญหาว่ามีการโอนหุ้นแล้วหรือไม่ ศาลตัดสินว่า

จดหมายทั้งสองฉบับไม่ใช่การโอนหุ้น (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1308/2515)

การโอนหุ้นนั้นเป็นสิทธิของผู้ถือหุ้นที่จะทำได้เสมอ แม้หุ้นนั้นจะยังเรียกชำระไม่เต็มจำนวนก็ตาม เช่น หุ้นราคาพาร์ 100 บาท ชำระ 25% หรือ 25 บาท ผู้ถือหุ้นก็สามารถโอนหุ้นไปได้ โดยผู้รับโอนจะเข้าเป็นผู้ถือหุ้นคนใหม่มีหน้าที่ชำระให้บริษัทอีก 75 บาท นอกเหนือไปจากการทำสัญญาการโอนแล้ว ผู้รับโอนก็จะต้องไปแจ้งต่อทางบริษัทว่าขอเปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้นจากผู้โอนมาเป็นผู้รับโอนใน “สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น” ของบริษัทด้วย (ป... มาตรา 1129) มิฉะนั้นทางบริษัทจะถือว่าผู้โอนยังเป็นผู้ถือหุ้นอยู่ ถ้ายังไม่มีการเปลี่ยนชื่อ อย่างเช่น บริษัทเกิดประกาศจ่ายเงินปันผลออกมาในระหว่างที่ยังไม่ได้มีการแก้ไขชื่อ อย่างนั้นบริษัทก็จะจ่ายให้ผู้โอนซึ่งมีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นไป ผู้รับโอนก็จะไปฟ้องร้องอะไรบริษัทไม่ได้ เพราะชื่อยังไม่ได้เปลี่ยนก็มีทางเดียวต้องไปเรียกคืนจากผู้โอน ซึ่งผู้โอนก็ต้องคืนให้เพราะได้โอนหุ้นให้ผู้รับโอนไปแล้ว กล่าวโดยสรุปว่า เมื่อทำหนังสือสัญญาโอนกับผู้รับโอน มีอะไรก็เรียกร้องกันได้ แต่จะไปบังคับบริษัทไม่ได้จนกว่าจะได้เปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้น

อย่างไรก็ตาม วิธีการโอนที่ว่ามานี้ไม่มีผลใช้บังคับการโอนโดยทางมรดก เช่น ผู้ถือหุ้นถึงแก่ความตาย และทายาทของผู้ถือหุ้นจะขอเข้าเป็นผู้ถือหุ้นแทน เช่นนี้ก็ย่อมทำได้เพราะการเป็นผู้ถือหุ้นไม่ได้อาศัยคุณสมบัติเฉพาะตัวอะไร เมื่อถึงแก่ความตายทายาทก็เข้าเป็นผู้ถือหุ้นต่อได้โดยทางมรดกนี้ ผู้เป็นทายาทก็เพียงแต่นำหลักฐานไปแสดงให้บริษัทเห็นว่าตนเป็นทายาทจริง เช่นนี้ทางบริษัทก็คงยินยอมให้ทายาทเข้าเป็นผู้ถือหุ้นต่อไป โดยการเปลี่ยนแปลงชื่อผู้ถือหุ้นในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น (ป... มาตรา 1132)

นอกจากนี้ก็ยังไม่รวมถึงการโอนหุ้นที่ไปทำการซื้อขายกันในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอีกด้วย เพราะการที่ซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นการซื้อขายหุ้นของบริษัทมหาชน และเป็นการซื้อขายในสถานที่เฉพาะ ซึ่งมีวิธีการเฉพาะไปอีกต่างหาก คือเป็นการโอนโดยวิธีสลักหลังใบหุ้นและหักบัญชีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ไม่เกี่ยวกับวิธีการที่เรากำลังว่ากันอยู่นี้

ดังนั้น การโอนหุ้นไม่ว่าจะเป็นการซื้อขาย หรือการยกให้ ต้องทำตามวิธีการที่ว่ามา จะขาดไปอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ การโอนหุ้นที่ไม่ได้ทำตามแบบที่กฎหมายกำหนดนั้นมีผลเป็นโมฆะ

ข้อตกลง กับ สัญญา ต่างกันไหม

สัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่ว MOA หรือบันทึกข้อตกลงนั้นกฎหมายให้ความ กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญาจะมีชื่อ แน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้และ คุ้มครองอยู่แล้วเพราะข้อตกลงก็คือสัญญา เรียกที่แตกต่างกันไป อาทิ ความตกลง (agree- อีกฝ่ายหนึ่งก็มีความเข้าใจอย่างเดียวกัน เช่น นั่นเอง ดังนั้นหากฝ่ายใดฝ่าย ...

บันทึกข้อตกลงเป็นสัญญาไหม

MOA : Memorandum of Agreement หมายถึง “บันทึกข้อตกลงเป็นหนังสือสัญญาซึ่งมี ข้อตกลงที่มีรายละเอียดลักษณะกิจกรรมที่ชัดเจน มีการระบุหลักเกณฑ์ ข้อบังคับ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง ต้องปฏิบัติตามหรือด าเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่ให้สัญญาไว้ กล่าวคือ MOA มีสภาพบังคับตามกฎหมาย และได้รับการคุ้มครองในทางกฎหมาย ( ...

สัญญา MOU มีผลทางกฎหมายไหม

MoU ไม่ใช่หนังสือสัญญาที่มีผลทางกฎหมายโดยตรง แต่จะถูกนำมาใช้อ้างอิงเมื่อเรื่องที่ทั้งทุกฝ่ายที่ลงนามเกิดปัญหา จนต้องพึ่งกระบวนการทางกฎหมาย จึงจะนำบันทึกความเข้าใจดังกล่าวมากล่าวอ้าง ยกเว้นบันทึกสัญญาที่เข้าข่ายเป็นสนธิสัญญา (บันทึกความเข้าใจจะเป็นสนธิสัญญาก็ต่อเมื่อเข้าองค์ประกอบของสนธิสัญญา ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ...

MOU ต่างจากสัญญายังไง

“บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่า จะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้