มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร

ความเดิมตอนที่แล้ว
http://www.pantip.com/cafe/home/topic/R11951214/R11951214.html

มีหลายๆ คนบอกว่าถ้าเปลี่ยนมิเตอร์เป็น 15 แอมป์ จะประหยัดไฟกว่าปัจจุบัน 5 แอมป์
อันนี้จริงหรือเปล่าครับ หลักการมันยังไง ทำไมถึงประหยัดกว่า

เพราะผมคิดว่า มันก็แค่ขยายขีดจำกัดเท่านั้นเอง หรือว่าผมคิดผิดครับ
ค่าเปลี่ยนก็แพงเหมือนกัน 4 พันกว่าบาทใช่ปะ

By: จระเข้กินหญ้า
Since: 18 เม.ย. 55 21:55:35

คำค้นหา:

  • ราคามิเตอร์ไฟฟ้า
  • มิเตอร์ไฟฟ้า ราคา
  • ราคามิเตอร์ไฟฟ้า 15 แอมป์
  • เปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้า ราคา
  • ขอมิเตอร์ไฟฟ้า ราคา
  • เปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้า
  • เปลี่ยนมิเตอร์ไฟฟ้า
  • มิเตอร์ไฟฟ้า 15 แอมป์ ราคา
  • เปลี่ยนหม้อไฟฟ้า
  • ราคามิเตอร์ไฟฟ้า 5 แอมป์

มารู้จักการอ่านค่ามิเตอร์ไฟฟ้า ไขข้อข้องใจ เรื่องค่าไฟแต่ละเดือนเราใช้ไฟไปกี่หน่วย!! 

ก่อนอื่น รู้หรือไม่ว่า...มิเตอร์ประเภทจานหมุนที่เราใช้งานทั่วไปมีอยู่ 4 ขนาด ได้แก่ 5(15) A 15(45) A ขนาด 30(100) A และ 50(150) A โดยหน้าปัดมิเตอร์จะมีช่องที่เป็นตัวเลข 5 ช่อง แต่ละช่องก็จะหมุนไป จนครบรอบ 0-9 นั่นเอง

มิเตอร์ขนาด 5(15) A และมิเตอร์ขนาด 15(45) A อ่านค่าโดยไม่นับหลักทศนิยม 

ยกตัวอย่างเช่น

ต้นเดือนวันที่ 1 เราจดหน่วยมิเตอร์ไว้ที่ : 7660.5

ปลายเดือนวันที่ 31 เรามาจดมิเตอร์ได้: 7780.8

สรุปในเดือนนั้นใช้ไฟ: 120 หน่วย

มิเตอร์ขนาด 30(100) A และมิเตอร์ขนาด 50(150) A นับรวมทั้ง 5 หลัก 

ยกตัวอย่างเช่น

ต้นเดือนวันที่ 1 เราจดมิเตอร์ไว้ที่ : 75650

ปลายเดือนวันที่ 31 เรามาจดมิเตอร์ได้: 76750

สรุปในเดือนนั้นใช้ไฟ: 1,100 หน่วย

วิธีง่าย ๆ ให้เรานำเลขหน่วยที่ได้จากหน้าปัดไปคำนวณค่าไฟฟ้าใน App MEA Smart life รู้แบบนี้แล้ว เราก็สามารถควบคุมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของเราได้แล้วล่ะ 

MEA Smart life Application “แอปเดียวจบครบทุกเรื่องไฟฟ้า” ดาวน์โหลดฟรี คลิก http://onelink.to/measmartlife 

หมายเหตุ : ข้อมูลตัวอย่างการอ่านค่ามิเตอร์ไฟฟ้าของ MEA 

#MEAFt #MEAMaxDemand #ประหยัดไฟ #ชี้แจงค่าไฟ #วิธีประหยัดไฟ #ค่าไฟแพง

#MEASmartLifeApp #แอปเดียวจบครบทุกเรื่องไฟฟ้า #แอปไฟฟ้า #จ่ายค่าไฟ #ตรวจสอบค่าไฟฟ้า #ดูค่าไฟย้อนหลัง

#การไฟฟ้านครหลวง #MEA #พลังงานเพื่อวิถีชีวิตเมืองมหานคร

มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร

มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร

มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร

เชื่อว่าหลายท่านที่เลือกซื้อบ้านหรือสร้างบ้านเอง มักจะไม่ได้ให้ความใส่ใจกับ ระบบไฟฟ้า ภายในบ้านมากนัก โดยเฉพาะขนาดของมิเตอร์ไฟฟ้า ที่เลือกจะใช้สะดวกที่สุด และราคาถูกที่สุด แต่สำหรับบ้านบางหลังที่เป็นบ้านขนาดใหญ่ มีการเรียกใช้ไฟเป็นจำนวนมาก การเลือกใช้แบบขอไปทีอาจทำให้คุณเจ็บตัวและปวดหัวในภายหลังได้ วันนี้เราจะมาแนะนำระบบไฟภายในบ้านที่เหมาะกับความต้องการของครอบครัวของคุณมากที่สุด

ปกติแล้วแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ในประเทศไทยจะอยู่ที่ 220V เป็นมาตรฐาน สำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป

  • ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย 220
    มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร
    เป็นระบบไฟฟ้าทั่วไปที่จะเห็นได้ตามบ้านเรือน โดยจะเป็นระบบไฟฟ้าที่มิเตอร์มีสายไฟจำนวน 2 เส้น เส้นที่มีไฟ คือสายไลน์ หรือ สาย L ส่วนอีกเส้นนึงที่ไม่มีไฟเรียกว่าสายนิวนิวทรอล หรือสายศูนย์ ซึ่งสายที่มีไฟจะมีแรงดันไฟฟ้าอยู่ที่ 220V ตามมาตรฐานแรงดันไฟฟ้าของประเทศไทย ข้อดีคือ ขั้นตอนใรการติดตั้งง่าย และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งราคาไม่แพง
  • ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 220/380
    มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร
    เป็นระบบไฟฟ้าที่จะเห็นได้บ่อยในอาคารพาณิชย์ โรงงาน และบ้านขนาดใหญ่ มีเครื่องใช้ไฟฟ้าใหญ่ๆหลายตัว โดยระบบไฟประเภทนี้ที่มิเตอร์จะมีสายไฟ 4 เส้น เป็นสายไลน์จำนวน 3 เส้น และสายนิวทรอล 1 เส้น โดยแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายไลน์ด้วยกันอยู่ที่ 380V และระหว่างสายไลน์เส้นใดเส้นหนึ่งกับสายนิวทรอล จะมีแรงดันอยู่ที่ 220v ซึ่งระบบไฟฟ้าแบบนี้หากนำไปใช้กับบ้านจะสามารถแบ่งส่วนการใช้งานได้ โดยเราจะแบ่งไฟฟ้า 3 เฟส ออกเป็น ไฟฟ้า 1 เฟส จำนวน 3 ชุด แล้วกระจายไปตามจุดต่างๆที่อุปกรณ์ไฟฟ้าติดตั้ง ช่วยป้องกันการโอเวอร์โหลดของเฟสใดเฟสหนึ่งได้

โดยปกติขนาดของมิเตอร์ไฟฟ้าที่จะขอติดตั้งได้จะมีขนาด 5(15) , 15(45) และ30(100) ตัวเลขที่อยู่ด้านซ้ายนอกวงเล็บหมายถึงกระแส ไฟฟ้าปกติสำหรับการใช้งานของระบบไฟฟ้าขนาดนั้นๆ ส่วนตัวเลขด้านขวาที่อยู่ภายในวงเล็บ หมายถึงกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ระบบไฟฟ้าสามารถทนได้ ซึ่งถ้าจะบอกว่าโครงการบ้านหลายๆหลังมักให้มาเป็นไฟฟ้าเฟสเดียว และให้มิเตอร์ ขนาด 5(15) และ 15(45) ซะเป็นส่วนใหญ่ ด้วยเหตุผลที่ไม่ยุ่งยากและราคาไม่ได้สูงมาก เพราะไฟฟ้า 3 เฟส นั้นมีราคาที่สูงมาก โดยราคาการขอติดตั้งมิเตอร์ใหม่ มีดังนี้

ราคาติดตั้งมิเตอร์ใหม่

5(15) แอมป์ 1 เฟส 2 สาย 728.00 บาท
15(45) แอมป์ 1 เฟส 2 สาย 4,621.50 บาท
30(100) แอมป์ 1 เฟส 2 สาย 12,383.00 บาท
15(45) แอมป์ 3 เฟส 4 สาย 16,004.50 บาท
30(100) แอมป์ 3 เฟส 4 สาย 38,754.00 บาท

นอกจากนี้ ยังมีการขอติดตั้งมิเตอร์แบบชั่วคราว โดยการขอจะเป็นการขอเพื่อการใช้งานระหว่างก่อสร้าง ค่าขอและราคาค่าไฟต่อหน่วยแพงกว่า มิเตอร์แบบถาวรเป็นอย่างมาก การขอมิเตอร์ชั่วคราวต้องเตรียมสายไฟฟ้าและคัทเอ้าท์หรือเบรกเกอร์ตามขนาดมิเตอร์มาในวันชำระเงินด้วย โดยราคาขอติดตั้งมิเตอร์แบบชั่วคราวมีดังนี้

ราคาติดตั้งมิเตอร์ชั่วคราว

15(45) แอมป์ 1 เฟส 2 สาย 10,802.50 บาท
30(100) แอมป์ 1 เฟส 2 สาย 26,605.00 บาท
15(45) แอมป์ 3 เฟส 4 สาย 32,407.50 บาท
30(100) แอมป์ 3 เฟส 4 สาย 79,815.00 บาท

หลักฐานสำหรับการขอติดตั้งมิเตอร์

สำหรับการเตรียมหลักฐานการขอติดตั้งมิเตอร์ มีดังนี้

การขอติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้าใหม่

  1. สำเนาทะเบียนบ้านที่ขอติดตั้งการใช้ไฟฟ้า
  2. สำเนาทะเบียนบ้านที่อยู่ปัจจุบัน
  3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
  4. สัญญาซื้อขาย (กรณีซื้อขายบ้าน)
  5. ใบเสร็จค่าไฟฟ้าข้างเคียงของเสาที่จะติดตั้งมิเตอร์ (ถ้ามี)

การขอติดตั้งมิเตอร์ชั่วคราว(ใช้ในการก่อสร้าง, ปรับปรุงบ้าน)

  1. สำเนาทะเบียนบ้านที่อยู่ปัจจุบัน
  2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
  3. สำเนาใบอนุญาตก่อสร้าง (ถ้ายังไม่ได้ให้ถ่ายใบคำขอมาแทน)
  4. โฉนดที่ดินสถานที่ขอใช้ไฟ
  5. หนังสือมอบอำนาจพร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท (กรณีผู้ขอไม่มาดำเนินการ)
  6. สำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ

ข้อมูลจาก การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

เช่าบ้าน เกินระยะเวลาจดทะเบียนสัญญาเช่า 3 ปี จะเป็นอะไรไหม?

มิเตอร์ ไฟฟ้า 15 แอ ม ป์ กับ 30 แอ ม ป์ ต่างกันอย่างไร

ทะเบียนบ้าน จะขอต้องทำยังไง? กับขั้นตอนในการติดต่อ และเอกสารที่ต้องใช้

สนใจข้อมูลข่าวสารเด่นๆ คอนเทนท์ร้อน ที่เรานำมาเสิร์ฟให้คุณผู้อ่านในทุกๆวันจาก Dotproperty คลิ๊ก