เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง

����������� ���ླ� �Ѳ����� ���¸��� >>

��������

�͡�ѡɳ���

  1. ������ ��� ���Ҿٴ�����������áѹ�����ҧ���� �֧����������§���ᵡ��ҧ�ѹ仺�ҧ����о�鹷�� ����֧������Ѿ��Ѻ�ؤ����дѺ��ҧ � ����ѡ���·�����������¹�·����
     
  2. ����觡�� �֧������㹻Ѩ�غѹ����觡�¢ͧ����¨����ҡ��ҡ��� ����ѧ������ͧ�觡�� �ͧ�������͡���Ӥѭ��ҧ �
     
  3. ����ʴ�������þ���¡��������С�Һ ������¡�͡�����ҧ�Ѵਹ �� ��Һ��оط��ٻ ��Һ���ʧ�� ��Һ����ؤ��㹰ҹ� ������µ�ҧ � ��ʹ������ҧ�����¤������Ҿ��͹���������� ����ʴ�������ѭ�١��Ƿյ�ͼ���վ�Фس
     
  4. ʶһѵ¡��� �����ҡ��鹧ҹ����ҡ����ʹʶҹ �ʶ������ ����ҷ�Ҫ�ѧ ����Ҥ�ú�ҹ �ç��
     
  5. ��Ż�Ѳ�������л��ླ� ��������ա�õԴ��͡Ѻ�������ͪҵ� ������ա���Ѻ�Ѳ������ͧ�ҵ� ��ҧ � ����� �褹������ö���һ���ء���������ҧ������� ��л�Ժѵ��׺��͡ѹ�Ҩ� ������ ��ǹ˹����Զժ��Ե�ͧ��
     
  6. ������� ������ ��С������蹾�����ͧ��ҧ�

เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
�͡�ѡɳ���
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
�Ѳ�������
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
���ҵ���
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
������
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
�������
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
������ʵ����
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
��û���ͧ��㹻Ѩ�غѹ
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
��ʹ�㹻������
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
��ͺ������
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
��е��ҡ�����

เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง
เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง

�ѭ�ѡɳ��ШӪҵ���


�ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� (Nation Identity) 3 ���
���§�ط� ������Ѫ �ɡ��Ш��ӹѡ��¡�Ѱ����� .�ŧ�š�û�Ъ������Ѱ����� ��ѹ��� 2 ���Ҥ� 2544 ��� ����Ѱ�������������繪ͺ ��á�˹��ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� (Nation Identity) ..3 ��� �������ͧ��¡�Ѱ����� (��»ͧ�� ʹ��á���) ��иҹ��С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵ��ʹ� ��觨��繡�� ���»�Ъ�����ѹ����������Ҿ�ѡɳ�ͧ������� �ѧ���

1. �ѵ���ШӪҵ��� ��� "��ҧ��" Chang Thai (Elephant ���� Elephas Maximas)
2. �͡����ШӪҵ� ��� "�͡�Ҫ�ġ��" (�ٹ) Ratchapruek (Cassiafistula Linn)
3. ʶһѵ¡�����ШӪҵ� ��� "������" Sala Thai (Pavilion)

��駹�� .���ͧ�ҡ��з�ǧ��õ�ҧ����� ���ʹ͢�ͤԴ�������ǡѺ ��á�˹��ѭ�ѡɳ��ШӪҵ� �� (Nation Identity) ��С����������ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� ������������Է���Ҿ��û�Ъ�����ѹ��������� �Ҿ�ѡɳ�����������ռ�������� .....��觤�С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵ����֡������Ǻ������������� �֧��˹�������ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� 3 ��觴ѧ����� �������з�ǧ��ҧ������ʹ�

����Ѻ�Ҿ�ѡɳ��ѵ���ШӪҵ� "��ҧ��" .....�ҧ�����Żҡ����͡Ẻ..... ��Ф�С������ �͡�ѡɳ�ͧ�ҵ� ��Ԩ�ó���繪ͺ�繷�����º��������. ��������繡�û�Ъ�����ѹ������ЪҪ���蹵�� ��Ш�����繤�����ҡ���� ..�ҧ��С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵԨШѴ����ա�û�СǴ�Ҿ 3 ������ҧ�Ҿ �ѡɳ� "�͡�Ҫ�ġ��" �͡����ШӪҵ����ʶһѵ¡�����ШЪҵ� ......�֧���觵�駤�С�����èѴ��� ��СǴ�Ҿ��������ЪҪ������ǹ����㹡�äѴ���͡�ٻẺ�ѭ�ѡɳ��ШӪҵԵ���

����Ъ������Ѱ����� �ѹ��� 1 �.�. 2548 �Ѻ��Һ����ͧ��á�˹��ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� �������ӹѡ�ҹ��С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵ� �ӹѡ�ҹ��Ѵ�ӹѡ��¡�Ѱ������ʹ��� �¡�˹�����ѵ���ШӪҵ� ��� ��ҧ�� �͡����ШӪҵ� ��� �͡�Ҫ�ġ�� ���ʹ͡�ٹ ʶһѵ¡�����ШӪҵ� ��� ������ ��觤�С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵԾԨ�óҡ���͡Ẻ�Ҿ�ѭ�ѡɳ��ШӪҵ��� ��� 3 ��� �ҵ������»� 2544 ���ͺ�����������Żҡ��繼���͡Ẻ�Ҿ��ҧ�� ��ǹ�Ҿ�͡�Ҫ�ġ������Ҿ��������ҡ��û�СǴ����ͺẺ ���ա�÷��ǹ��л�Ѻ��ا����Ҿ���¤��� ��Ф�С������� �������繪ͺ�Ҿ�͡�ѡɳ��ШӪҵ��·�� 3 ��� 㹡�û�Ъ����С�������͡�ѡɳ�ͧ�ҵ� ������ѹ��� 27 �ѹ�Ҥ�����ҹ��

�ѵ���ШӪҵ�

เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง


�͡����ШӪҵ�

เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง


ʶһѵ¡�����ШӪҵ�

เอกลักษณ์ของชาติ มี อะไร บ้าง


โดยได้ให้ความหมายของคำว่า 'เอกลักษณของชาติ' ว่า ลักษณะที่แสดงถึงความเด่นและดีงามเฉพาะที่ร่วมกันของชาติไทย เกี่ยวกับประชากร ดินแดน ศิลปวัฒนธรรม ภาษาไทย ความเป็นเอกราชและอธิปไตย เกียรติภูมิของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อันเป็นเครื่องบงชี้ถึงความเป็นชาติ ช่วยให้ประเทศไทยสามารถรักษาความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าบนพื้นฐานของความสงบสุข ประชาชนมีความรัก ความสามัคคี เอื้ออาทร และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาได้จนถึงทุกวันนี้

'การเสริมสร้างเอกลักษณของชาติ' หมายความว่า การดําเนินการใดๆ ด้านเอกลักษณ์ของชาติ เพื่ออนุรักษ์ ปกป้อง พัฒนา เผยแพร่และสงเสริมอย่างสร้างสรรค์ด้วยจิตสํานึกด้านคุณธรรม ความดีงาม ความรักหวงแหน และความภาคภูมิใจ ในอันที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถรักษาความมั่นคง และสงเสริมความเจริญก้าวหน้าบนพื้นฐานของความสงบสุข ประชาชนมีความเข้าใจ เอื้ออาทร และรู้รักสามัคคี

คณะกรรมการเอกลักษณของชาติ (กอช.) ประกอบด้วย

1. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ

2. รัฐมนตรีคนหนึ่งตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ

3. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เป็นกรรมการ

4. ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นกรรมการ

5. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เป็นกรรมการ

6. ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เป็นกรรมการ

7. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นกรรมการ

8. ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นกรรมการ

9. ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นกรรมการ

10. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรรมการ

11. เลขาธิการพระราชวัง เป็นกรรมการ

12. ราชเลขาธิการ เป็นกรรมการ

13. เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นกรรมการ

14. เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เป็นกรรมการ

15. ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ เป็นกรรมการ

16. อธิบดีกรมศิลปากร เป็นกรรมการ

17. อธิบดีกรมประชาสัมพันธ เป็นกรรมการ

18. ผู้อํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เป็นกรรมการ

19. เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน เป็นกรรมการ

20. ผู้แทนภาคเอกชนด้านการสงเสริมเอกลักษณ์ของชาติ การเผยแพร่ และการประชาสัมพันธ์ และด้านการบริหาร จํานวนไม่เกิน 6 คน เป็นกรรมการ

21. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเอกลักษณของชาติ จํานวนไม่เกิน 9 คน เป็นกรรมการ

22. ผู้อำนวยการสํานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ

23. เจ้าหน้าที่สํานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติที่ได้รับมอบหมาย จํานวน 2 คน เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คณะกรรมการเอกลักษณของชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

1. เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการดําเนินงานด้านเอกลักษณ์ของชาติต่อคณะรัฐมนตรี

2. ดําเนินการให้มีการบูรณาการการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเกี่ยวกับการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติมิให้ซ้ำซ้อนกัน และให้สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและนโยบายของรัฐบาล

3. ประสานการสนับสนุนและเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินงานด้านเอกลักษณ์ของชาติของหนวยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

4. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายดําเนินงานด้านการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ

5. ดําเนินการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับเอกลักษณ์ของชาติ

6. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมาย รวมทั้งให้คําปรึกษา ติดตาม และกํากับดูแล การดําเนินการของคณะอนุกรรมการ และคณะทํางานต่าง ๆ ที่แต่งตั้งตามระเบียบนี้

7. ดําเนินการอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย

โครงสร้างแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้

ส่วนส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ มีหน้าที่

1. ศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และวิจัยปัญหาเกี่ยวกับสถาบันหลักของชาติอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ คือ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. กำหนดแนวทางและมาตรการในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสถาบันหลักของชาติ

3. วางแผน ริเริ่ม ประสานงานการจัดทำโครงการและกิจกรรมให้เป็นไปตามแผน

4. ประมวลและวิเคราะห์ข่าวและบทความเกี่ยวกับสถาบันหลักเพื่อเป็นประโยชน์ในการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ

ส่วนวิชาการ มีหน้าที่

1. จัดทำนโยบาย แผนงาน/ โครงการและงบประมาณของสำนักงานในการเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ

2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ปัญหาเกี่ยวกับการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ และการดำเนินการต่าง ๆ ของสำนักงานเพื่อแก้ไขและพัฒนาการวางแผนและบริหาร

3. ประสานนโยบายติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ และงานของสำนักงาน

4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ

5. เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ

นอกจากสำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติแล้ว ยังมีอีกองค์กรหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์ในการทำงานคล้ายกันคือมูลนิธิเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ จัดตั้งตามกฎหมายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2935

เว็บไซต์สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ http://www.identity.opm.go.th/identity/content/index.asp

ที่มา

ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ

ขอบคุณรูปภาพจาก https://pasalak.files.wordpress.com/

ร่วมเป็นแฟนเพจเฟสบุ๊คกับ TCIJ ออนไลน์
www.facebook.com/tcijthai

ป้ายคำ

เอกลักษณ์ที่สำคัญของชาติคืออะไร

7. นิยาม “เอกลักษณ์ของชาติ” ลักษณะที่แสดงถึงความเด่นและดีงามเฉพาะที่ร่วมกันของชาติไทย เกี่ยวกับ ประชากร ดินแดน ศิลปวัฒนธรรม ภาษาไทย ความเป็นเอกราช และ อธิปไตย เกียรติภูมิของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อันเป็นเครื่องบ่งชี้ถึง ความเป็นชาติ ช่วยให้ประเทศไทยสามารถ ...

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมมีอะไรบ้าง

- มารยาทไทย เช่นการไหว้ เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก การมีสัมมาคารวะ เคารพผู้อาวุโส รู้จักกาลเทศะ - ประเพณีไทย เช่น ผีตาโขน บุญบั้งไฟ การแห่ปราสาทผึ้ง แห่นางแมว - การแสดงแบบไทย เช่นลิเก โขน รำวง - ดนตรีไทย เช่นระนาด ปี่ ขลุ่ย อังกะลุง

เอกลักษณ์ความเป็นไทยมีอะไรบ้าง

เรื่อง ภาษาไทย ภาษาไทย ถือเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญและชัดเจน ... .
เรื่องการแต่งกาย ถือว่า เรามีเสื้อผ้าแสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็น ... .
วัฒนธรรมการแสดงความเคารพ ความนอบน้อม อ่อนน้อม ต่อ ... .
อาหารไทย ก็ถือเป็นเอกลักษณ์แสดงความเป็นไทย เช่นกัน จะเห็น ... .
เรื่องสถาปัตยกรรม ของไทย ก็ถือเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งที่.

เอกลักษณ์ไทยที่ชาวต่างประเทศยอมรับมากที่สุดคืออะไร

เช่น จรรยามารยาท จิตใจของคนไทย เป็นต้น ลักษณะเฉพาะของคนไทยที่ทั่วโลกต่างก็ ยอมรับก็คือ ความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อม ตน จิตใจดีที่แสดงออกมาในหลาย รูปแบบเช่น การยิ้ม การไหว้เป็นต้น เชื่อว่าได้รับอิทธิพลมาจากความเชื่อและ ศาสนา