การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *

���ԡ�� �ԡ�� 3 ������� ���¶֧����

���ԡ��
�ҡ�ԡԾ����

���ԡ�� ����� �ԡ�� 3 ���¶֧�������Ѻ�֡��, ����֡�Ң�ͻ�ԺѵԷ��֧�֡��, ��ý֡��ͺ���������ͧ���֧�֡�� 3 ���ҧ���

͸�����ԡ�� ����֡������ͧ��� ͺ����Ժѵ����١��ͧ�է�� ���١��ͧ�����ѡ������ �Ѫ������ ��������� ��ʹ�֧��Ժѵ��������ѡ �Ѫ������ ��������� ��ʹ�֧��Ժѵ��������ѡ�Թ�����ѧ�� ʵ������ѭ�� ����ѹ�� ͸ԨԵ��ԡ�� ����֡������ͧ�Ե ͺ���Ե���ʧ���蹤�����Ҹ� �����ú�����������ҹ�ͧ�������ó����������Ţѹ�쨹�����جҹ 4 ͸Իѭ���ԡ�� ����֡������ͧ�ѭ��ͺ��������Դ�ѭ������� �����ú����Ի��ʹҡ����ҹ�ͧ�����ҹ���Ǩ��������Ԫ�� 8 ����繾�����ѹ��
Create Date : 03 �չҤ� 2552
Last Update : 3 �չҤ� 2552 8:47:29 �. 1 comments
Counter : 29281 Pageviews.
การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *


��������������
Have a nice day ka

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *

��: ��������
การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *
�ѹ���: 8 �չҤ� 2552 ����:21:15:37 �.
 

ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

  1. อธิสีลสิกขา คือ ศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ
  2. อธิจิตตสิกขา คือ ศึกษาเรื่องจิต อบรมจิตให้สงบมั่นคงเป็นสมาธิ ได้แก่การบำเพ็ญสมถกรรมฐานของผู้สมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์จนได้บรรลุฌาน 4
  3. อธิปัญญาสิกขา คือ ศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานได้ฌานแล้วจนได้บรรลุวิชชา 8 คือเป็นพระอรหันต์หรืออืกชื่อคืออรหันต์พุทธ

คำค้น : คือ ประกอบด้วย ตัวอย่าง หมาย ถึง อะไร บาง หมาย ถึง วัด ท ลาม ล ตา ราม หมายถึง ศีล สมาธิ ปัญญา คือ อะไร มรรค8 3 3 คือ หลัก ภาษา อังกฤษ 3 หมาย ถึง ศีล คือ หลักธรรมที่ยืนยันได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา การ์ตูน การศึกษาตามวิธีของพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า พัฒนามาจากหลักธรรมข้อใด 3 ศีล สมาธิ ปัญญา ความ หมาย ของ มีอะไรบ้าง กับ การ ศึกษา วัด ป่า ภาวนา วัง น้ํา เขียว 3 ประการ ปัญญา คืออะไร มีอะไรบ้าง คืออะไร 3 ข้อ มีอะไรบ้าง ป.5 วัด สกลนคร 3 ประการได้แก่ บท สรุป ความหมาย สะอาด สงบ สว่าง 3 ข้อ 3 มีอะไรบ้าง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา แปลว่า คือข้อใด ศีล ประกอบด้วยอะไรบ้าง ภาวนา อริยสัจ4 มรรค 8 กับ ไตรลักษณ์ ป.6 ป.4 คือ มี 3 ประการ คือ การศึกษาและอบรมประกอบด้วยอะไรบ้าง

ที่มา:wikipedia

อัพเดทครั้งสุดท้าย เมื่อ 30 ตุลาคม 2022

 

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *
การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *
     

          ไตรสิกขา คือ หลักการพัฒนาชีวิตเพื่อให้ประสบความสำเร็จเป็นคนสมบูรณ์แบบตามแนวพุทธ ไตรสิกขา จึงจัดอยู่ใน มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) คือ ควรทำให้เกิดมีขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาชีวิต ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา ๓ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ต้องศึกษา 1 อย่าง คือ

         1. อธิสีลสิกขา สิกขา คือ ศีลอันยิ่ง

         2. อธิจิตตสิกขา สิกขา คือจิตอันยิ่ง หมายถึง สมาธิ

         3. อธิปัญญาสิกขา สิกขา คือ ปัญญาอันยิ่ง

          ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา ๓ ด้าน คือ ศีล เป็นหลักการพัฒนาระดับความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม สมาธิ เป็นหลักการพัฒนาจิตใจให้มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพในการคิดพิจารณาตัดสินใจกระทำหรือไม่กระทำการใด ๆ ปัญญา เป็นหลักการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ รู้จักสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น และสามารถแยกแยะวิเคราะห์สืบหาสาเหตุของสิ่งทั้งหลายได้ชัดแจ้ง ไตรสิกขาจึงเป็นกระบวนการพัฒนาแบบบูรณาการ

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *

http://www.anc.ubu.ac.th/prayersys56/show_detil3.php?m_id=23

การศึกษาและอบรมตามหลักไตรสิกขา หมายถึงข้อใด *
 

ไตรสิกขา: ระบบการศึกษา ซึ่งพัฒนาชีวิตที่ดำเนินไปทั้งระบบ

ในระบบการดำเนินชีวิต ๓ ด้าน ที่กล่าวแล้วนั้น เมื่อศึกษาฝึกชีวิต ๓ ด้านนั้นไปแค่ไหน ก็เป็นอยู่ดำเนินชีวิตที่ดีได้เท่านั้น ฝึกอย่างไร ก็ได้อย่างนั้น หรือสิกขาอย่างไร ก็ได้มรรคอย่างนั้น

สิกขา คือการศึกษา ที่ฝึกอบรมพัฒนาชีวิต ๓ ด้านนั้น มีดังนี้

๑. สิกขา/การฝึกศึกษา ด้านสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม จะเป็นสิ่งแวดล้อมทางสังคม คือเพื่อนมนุษย์ ตลอดจนสรรพสัตว์ หรือสิ่งแวดล้อมทางวัตถุก็ตาม ด้วยอินทรีย์ (เช่น ตา หู) หรือด้วยกาย วาจา ก็ตาม เรียกว่า ศีล (เรียกเต็มว่า อธิสีลสิกขา)

๒. สิกขา/การฝึกศึกษา ด้านจิตใจ เรียกว่า สมาธิ (เรียกเต็มว่า อธิจิตตสิกขา)

๓. สิกขา/การฝึกศึกษา ด้านปัญญา เรียกว่า ปัญญา (เรียกเต็มว่า อธิปัญญาสิกขา)

รวมความว่า การฝึกศึกษานั้น มี ๓ อย่าง เรียกว่า สิกขา ๓ หรือ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งพูดด้วยถ้อยคำของคนยุคปัจจุบันว่า เป็นระบบการศึกษาที่ทำให้บุคคลพัฒนาอย่างมีบูรณาการ และให้มนุษย์เป็นองค์รวมที่พัฒนาอย่างมีดุลยภาพ

เมื่อมองจากแง่ของสิกขา ๓ จะเห็นความหมายของสิกขาแต่ละอย่างดังนี้

๑. ศีล คือ สิกขาหรือการศึกษาที่ฝึกในด้านการสัมพันธ์ติดต่อปฏิบัติ จัดการกับสิ่งแวดล้อม ทั้งทางวัตถุและทางสังคม ทั้งด้วยอินทรีย์ต่างๆ และด้วยพฤติกรรมทางกาย-วาจา พูดอีกอย่างหนึ่งว่า การมีวิถีชีวิตที่ปลอดเวรภัยไร้การเบียดเบียน หรือการดำเนินชีวิตที่เกื้อกูลแก่สังคม และแก่โลก

๒. สมาธิ คือ สิกขาหรือการศึกษาที่ฝึกในด้านจิต หรือระดับจิตใจ ได้แก่การพัฒนาคุณสมบัติต่างๆ ของจิต ทั้ง…

ในด้านคุณธรรม เช่น เมตตา กรุณา ความมีไมตรี ความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความสุภาพอ่อนโยน ความเคารพ ความซื่อสัตย์ ความกตัญญู

ในด้านความสามารถของจิต เช่น ความเข้มแข็งมั่นคง ความเพียรพยายาม ความกล้าหาญ ความขยัน ความอดทน ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นแน่วแน่ ความมีสติ สมาธิ และ

ในด้านความสุข เช่น ความมีปีติอิ่มใจ ความมีปราโมทย์ร่าเริงเบิกบานใจ ความสดชื่นผ่องใส ความรู้สึกพอใจ

พูดสั้นๆ ว่า พัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพ และสุขภาพของจิต

๓. ปัญญา คือ สิกขาหรือการศึกษาที่ฝึกหรือพัฒนาในด้านการรู้ความจริง เริ่มตั้งแต่ความเชื่อที่มีเหตุผล ความเห็นที่เข้าสู่แนวทางของความเป็นจริง การรู้จักหาความรู้ การรู้จักคิดพิจารณา การรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง ทดลอง ตรวจสอบ ความรู้เข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การเข้าถึงความจริง การนำความรู้มาใช้แก้ไขปัญหา และคิดการต่างๆ ในทางเกื้อกูลสร้างสรรค์

เฉพาะอย่างยิ่ง เน้นการรู้ตรงตามความเป็นจริง หรือรู้เห็นตามที่มันเป็น ตลอดจนรู้แจ้งความจริงที่เป็นสากลของสิ่งทั้งปวง จนถึงขั้นรู้เท่าทันธรรมดาของโลกและชีวิต ที่ทำให้มีจิตใจเป็นอิสระ ปลอดปัญหา ไร้ทุกข์ เข้าถึงอิสรภาพโดยสมบูรณ์

หลักทั้ง ๓ ประการแห่งไตรสิกขา ที่กล่าวมานี้ เป็นการศึกษาที่ฝึกคนให้เจริญพัฒนาขึ้นไปในองค์ประกอบทั้ง ๓ ด้านของชีวิตที่ดีงาม ที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น

ย้ำอีกครั้งหนึ่งว่า การฝึกศึกษาที่จะให้มีชีวิตที่ดีงาม เป็นสิกขา ชีวิตดีงามที่เกิดจากการฝึกศึกษานั้น เป็นมรรค

หลักไตรสิกขาหมายถึงข้อใด

ไตรสิกขามาจาก ๒ ค า คือ ค าว่า “ไตร” แปลว่า สาม ส่วน “สิกขา” แปลว่า การศึกษา การส าเหนียก เมื่อรวมกันแล้วแปลว่า สิกขาสาม, หรือข้อที่จะต้องศึกษาสามประการ หรือข้อปฏิบัติที่เป็นหลักส าหรับการศึกษาสาม ประการ กล่าวคือศึกษาในอธิศีล อธิสมาธิ และ อธิปัญญา ซึ่งเรียกง่ายๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา ดังนั้น ไตรสิกขา หมายถึงข้อที่จะต้อง ...

อธิปัญญาสิกขาหมายถึงข้อใด

อธิปัญญาสิกขา คือการที่ภิกษุได้บรรลุจตุตถฌานแล้วนั่งเข้าฌานด้วยจิตอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว เธอมีจิตบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้วก็โน้มน้อมจิตไปเพื่อญานทัสสนะ จนได้บรรลุวิชชาหรือเห็นประจักษ์ซึ่งสามัญญผลที่สูงขึ้นดียิ่งขึ้นตามลำดับ คือ

ไตรสิกขา พัฒนามาจากอะไร

5. เฉลย 4) มรรค ๘ ไตรสิกขา พัฒนามาจากมรรค ๘ 1. สัมมาทิฏฐิคือ ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความดําริชอบ 3. สัมมาวายามะ คือ ความเพียรพยายามชอบ 4. สัมมาสติคือ ความมีสติไมประมาท ขั้นสมาธิ 5. สัมมาสมาธิคือ ความตั้งใจชอบ 6. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทําชอบ 7. สัมมาวาจา คือ การมีวาจาชอบ ขั้นศีล 8. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยง ...

ไตรสิกขา มีความสําคัญอย่างไร

การฝึกฝนและพัฒนามนุษย์นั้นทางพุทธศาสนาจัดวางเป็นหลักเรียกว่า ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งถือว่าเป็นระบบการศึกษาที่ทำให้บุคคลพัฒนาอย่างมีบูรณาการ และให้มนุษย์เป็นองค์รวมที่พัฒนาอย่างมีดุลยภาพ