ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรียนคณะอะไร

หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป (4 ปี)
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)

Show

ชื่อหลักสูตร
     ภาษาไทย: การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
     ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Education Program in General Science

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
     ชื่อเต็ม (ภาษาไทย): การศึกษาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
     ชื่อย่อ (ภาษาไทย): กศ.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
     ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ): ฺBachelor of Education (General Science)
     ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ): B.Ed. (General Science)

วิชาเอกของหลักสูตร/แขนงวิชา
     -

จุดเด่นของหลักสูตร

  1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทั้งเนื้อหาวิชา และทักษะการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของสังคม
  2. บัณฑิตสอบผ่านการบรรจุเข้ารับราชการครูในสังกัดหน่วยงานราชการจำนวนมาก
  3. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและมีการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การศึกษาภาคสนาม และ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. ครูระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและระดับอาชีวศึกษา
  2. นักวิชาการทางการศึกษา
  3. นักวิจัยทางด้านวิทยาศาสตรศึกษา
  4. นักพัฒนาชุมชนทางการศึกษา
  5. ผู้จัดการอบรมและสัมมนาในองค์กรสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา
  6. อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์

รางวัลเชิดชูเกียรติ

  1. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2554 นายสุรเชษฐ์  หิรัญสถิตย์
  2. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2555 นางสาวชุติมา  อันชนะ
  3. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2556 นายรักษวิชช์ ปรัสพันธ์
  4. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2557 นายธนวุฒิ  มากเจริญ
  5. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนประกายเพชรกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2554 นายสุรเษฐ์  หิรัญสถิตย์
  6. นิสิตได้รับรางวัลเยาวชนประกายเพชรกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2555 นายวิชิตพล  มีแก้ว
  7. นิสิตชนะผ่านเข้ารอบโครงการปั้นฝันเดอะบัณฑิต ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2557
       หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพครู สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม ในลักษณะเบ็ดเสร็จในตัว บูรณาการความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณธรรม และจริยธรรม อันเป็นการพัฒนาคนโดยสมบูรณ์

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรียนคณะอะไร

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ( 4 ปี)

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in General Science

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : ครุศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
ชื่อย่อ (ไทย) : ค.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)

ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Education (General Science)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Ed. (General Science)

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์
2. บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาทั้งในภาครัฐและเอกชน
3. พนักงานสายสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและวิทยาศาสตร์
4. นักวิชาการทางการศึกษา
5. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

คุณลักษณะของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ เป็นผู้น าในการสร้างสรรค์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวใหม่ในศตวรรษที่ 21 มีความเป็นครูและเป็นนักวิชาการที่พร้อมด้วยคุณธรรมตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้
1. เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในด้านการสอนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้
อย่างสอดคล้องกับสภาพสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของประเทศ
2. เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาหลักสูตรทางด้านการเรียน
การสอนที่จะส่งผลให้ครู มีความรู้ความสามารถ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของการศึกษาของชาติ
3. เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครูมีความรับผิดชอบสูงต่อวิชาการและ
วิชาชีพ มีความอดทน ใจกว้าง และมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพครูอย่างมี
คุณภาพ และเป็นไปตามสมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพครู
4. ความรอบรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎีและ
ระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความรู้ใหม่ส าหรับการประกอบวิชาชีพหรือการศึกษาในระดับสูงขึ้นในอนาคต
5. มีศักยภาพที่จะพัฒนางานในหน้าที่และเส้นทางวิชาชีพให้มีความก้าวหน้าเป็นผู้น าทางวิชาการ
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานหน้าที่ครูได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรียนคณะอะไร

จำนวนเข้าใช้ 987

เรียนจบสายศิลป์ภาษา… แล้วจะเลือกเรียนต่อในคณะ/สาขาวิชาไหนได้บ้าง? เชื่อว่ายังคงเป็นอีกหนึ่งคำถามยอดฮิตของน้อง ๆ สายศิลป์ภาษากันอย่างแน่นอน เพราะบางคนอาจจะค้นหาตัวเองไม่เจอ หรือไม่รู้ว่าเมื่อตนเองเรียนสายนี้ไปแล้ว จะสามารถเข้าเรียนต่อในคณะ/สาขาวิชาของสถาบันการศึกษาแห่งไหนได้บ้าง

จบศิลป์ภาษา เรียนต่อคณะอะไรได้บ้าง?

ดังนั้น ในบทความนี้ แคมปัส-สตาร์ ก็ได้รวบรวมข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับคณะที่น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาสามารถเข้าเรียนต่อมาฝากกันด้วย จะมีคณะไหนบ้างนั้น อย่ารอช้า! ตามมาดูรายละเอียดกันได้เลย

1. คณะอักษรศาสตร์/คณะมนุษยศาสตร์

สำหรับน้อง ๆ สายศิลป์ภาษาที่อยากจะเรียนต่อด้านภาษา หรืออยากเรียนต่อภาษาที่สามโดยเฉพาะนั้น ไม่ควรพลาดคณะอักษรศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์เลยค่ะ เพราะว่าทั้งสองคณะนี้หลัก ๆ แล้วจะเน้นเรียนเกี่ยวกับภาษา ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ วัฒนธรรม และยังรวมไปถึงด้านศิลปะการแสดงอีกด้วย ทั้งนี้น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนต่อได้ทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรียนคณะอะไร

2. คณะศิลปศาสตร์

เป็นคณะที่เรียนเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปและทักษะเชิงปัญญา ซึ่งเป็นการผสมผสานความรู้ด้านศิลปวิทยาการต่าง ๆ เข้ามา เพื่อช่วยทำให้การเรียนรู้ในด้านนี้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น เช่น การศึกษาศิลปะในการใช้เหตุผล การใช้ภาษาเพื่อแนะนำชักชวนให้ผู้อื่นสนใจ เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังได้มีการนำเอาความรู้ด้านคณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ และดนตรี เข้ามาผสมผสานในการเรียนรู้ เพื่อให้เราสามารถที่เรียนรู้ได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การเรียนเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการเงิน การพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวและการโรงแรม ด้านสัตววิทยา และด้านพันธุศาสตร์ เป็นต้น น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

3. คณะนิติศาสตร์

น้อง ๆ ศิลป์ภาษาคนไหนที่มีความใฝ่ฝันอยากเป็นนักกฎหมาย ผู้พิพากษา นิติกร อัยการ และทนายความ ก็สามารถสมัครเข้าเรียนต่อด้านนี้ได้เช่นกัน ซึ่งสามารถสมัครได้ทุกสาขาวิชาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

4. คณะนิเทศศาสตร์

นิเทศศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งคณะที่น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาสามารถสมัครเรียนต่อได้อย่างสบาย ๆ เลยค่ะ เพราะสาขาวิชาส่วนใหญ่ของคณะนี้จะเน้นไปที่ความสามารถด้านการใช้ความคิดสร้างสรรค์มากกว่า โดยจะเรียนเกี่ยวกับศิลปะในการสื่อสาร ประกอบด้วย หลักทฤษฎี องค์ประกอบ กระบวนการ บทบาทหน้าที่ และประสิทธิผล ฯลฯ ดังนั้นน้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ในทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

5. คณะธุรกิจการบิน

เป็นคณะที่ไม่ว่าเราจะเรียนจบมาในสายไหนก็สามารถสมัครเข้าเรียนได้ แต่ทั้งนี้น้อง ๆ จำเป็นที่จะต้องมีพื้นฐานด้านภาษาที่ดี เพราะภาษาเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ใช้ในการเรียนและทำงานในสายงานด้านการบิน น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

6. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสายสังคมที่ไม่ว่าน้อง ๆ จะเรียนจบสายไหนมาก็สามารถสมัครเข้าเรียนได้ โดยคณะนี้จะมีเนื้อหาที่เรียนเกี่ยวกับการสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและการพัฒนาสังคม การสร้างสังคมที่ไม่กีดกันและการเลือกปฏิบัติ เป็นต้น ซึ่งน้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ในทุกสาขาวิชาที่เปิดสอนเลยค่ะ

…..

7. คณะครุศาสตร์/คณะศึกษาศาสตร์

น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาก็สามารถสมัครเข้าเรียนต่อที่คณะครุศาสตร์ หรือคณะศึกษาศาสตร์ได้ด้วยเช่นกัน แต่ทั้งนี้จะต้องทำการสอบวัดความรู้ความถนัดทางวิชาชีพครู หรือ PAT5 ด้วยนะ เพื่อนำผลคะแนนสอบไปยื่นสมัครเข้าเรียนต่อที่คณะนี้ น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ทุกมหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้ทุกสาขาวิชานะ

8. คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม

คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม ไม่ว่าน้อง ๆ จะเรียนจบสายวิทย์หรือสายศิลป์ก็สามารถสมัครเข้าเรียนได้ ซึ่งวิชาที่น้อง ๆ ก็ต้องเน้นเป็นพิเศษ ได้แก่ภาษา เพราะต้องนำไปใช้ทั้งในด้านการเรียนและการทำงานนั่นเอง ซึ่งสามารถสมัครเข้าเรียนได้ทุกสาขาและทุกสถาบันการศึกษา

9. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

น้อง ๆ ที่เรียนจบสายศิลป์ภาษาก็สามารถสมัครเข้าเรียนต่อที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้เช่นกัน แต่อาจจะเลือกเรียนต่อได้ในบางสาขาวิชาและบางมหาวิทยาลัยเท่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่เกณฑ์การคัดเลือกของแต่ละมหาวิทยาลัยที่ได้มีการกำหนดเอาไว้

10. คณะโบราณคดี

คณะโบราณคดี เป็นอีกหนึ่งคณะที่มีสาขาวิชาให้เราได้เลือกเรียนกันอย่างหลากหลาย โดยจะเน้นทั้งด้านภาษาและประวัติศาสตร์ ซึ่งน้อง ๆ สามารถสมัครเรียนได้ทุกสาขาวิชาที่เปิดสอนเลยค่ะ

11. คณะวารสารศาสตร์

เป็นคณะที่เหมาะกับน้อง ๆ สายศิลป์ภาษาเป็นอย่างมากเลยทีเดียว โดยน้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนได้ในทุกสาขาวิชาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน เช่น สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพถ่าย สาขาวิชาโฆษณา สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์ และสาขาวิชาประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

…..

12. คณะวิจิตรศิลป์

น้อง ๆ ที่มีใจรักในด้านศิลปะ การออกแบบ และมีจินตนาการที่ดี ไม่ควรพลาดกับคณะน่าเรียน คณะนี้เลย “วิจิตรศิลป์” สาขาวิชาที่เปิดสอนที่น่าสนใจ เช่น สาขาวิชาจิตรกรรม สาขาวิชาประติมากรรม สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ สาขาวิชาศิลปะไทย และสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ เป็นต้น โดยน้อง ๆ สามารถเลือกเรียนต่อได้ในทุกสาขาวิชาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

13. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

เป็นอีกหนึ่งคณะสายสังคม โดยจะเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเราจะได้ศึกษาทั้งกระบวนการและผลของการกระทำระหว่างคนในสังคม ชุมชน องค์กร ไปจนถึงสถาบันด้านสังคมแบบต่าง ๆ เป็นต้น ทั้งนี้น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนต่อได้ในทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัย

14. คณะดุริยางคศิลป์

สำหรับน้อง ๆ ที่เรียนจบสายศิลป์ภาษา แต่มีความสามารถด้านดนตรี การขับร้อง และการแสดง ก็สามารถสมัครเข้าเรียนต่อที่คณะดุริยางคศิลป์ได้ในทุกสาขาวิชาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

15. คณะศิลปกรรมศาสตร์

คณะนี้ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นเรียนเกี่ยวกับการออกแบบ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้นน้อง ๆ ที่จะเรียนต่อในคณะนี้จะต้องมีความรู้พื้นฐานด้านศิลปะ รวมถึงพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ด้วย สาขาวิชาที่เปิดสอน เช่น สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น และสาขาวิชาทัศนศิลป์ เป็นต้น น้อง ๆ สามารถสมัครเข้าเรียนทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนเลยนะจ๊ะ

16. คณะรัฐศาสตร์

สำหรับคณะนี้น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาก็สามารถสมัครเรียนต่อได้เช่นกันโดยมีสาขาที่น่าสนใจไม่ว่าจะเป็น สาขาการเมืองการปกครอง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฯลฯ ซึ่งน้อง ๆ สามารถสมัครเรียนได้ในทุกสาขาและทุกมหาวิทยาลัย

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรียนคณะอะไร

17. คณะบริหารธุรกิจ

เป็นอีกหนึ่งคณะยอดฮิต สำหรับคณะบริหารธุรกิจที่มีน้อง ๆ ให้ความสนใจเข้าศึกษาต่อเป็นจำนวนมาก โดยมีสาขาวิชาที่เปิดสอนอย่างหลากหลาย เช่น บัญชี การตลาด การเงิน และสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาสามารถสมัครเรียนได้ในบางสาขาวิชาและบางมหาวิทยาลัยเท่านั้น ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกของแต่ละมหาวิทยาลัย

18. คณะเศรษฐศาสตร์

สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่มีความใฝ่ฝันอยากเรียนต่อด้านเศรษฐศาสตร์ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นกัน โดยสามารถสมัครเรียนได้ทุกสาขาวิชาและทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดสอน แต่ทั้งนี้น้อง ๆ ก็ต้องเตรียมตัวให้พร้อมด้วยนะ เพราะเมื่อเข้าไปเรียนแล้ว วิชาที่จะต้องเจอเลยก็คือ คณิตศาสตร์ ที่จะมีการเรียนด้านคำนวณค่อนข้างเยอะเหมือนกัน พร้อมทั้งยังจะต้องเรียนด้านการวิเคราะห์ การวางแผนอย่างเป็นระบบด้วยค่ะ

19. คณะจิตวิทยา

สำหรับคณะจิตวิทยาจะเรียนเกี่ยวกับกระบวนการทางจิต หมายถึง การทำงานของจิตใจ ซึ่งมีสาขาวิชาที่เปิดสอนที่น่าสนใจ ได้แก่ จิตวิทยาชุมชน จิตวิทยาการแนะแนว จิตวิทยาสังคม และจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ เป็นต้น โดยน้อง ๆ ที่เรียนจบสายศิลป์ภาษาจะสามารถสมัครเรียนได้เกือบทุกสาขาวิชา (ยกเว้น สาขาวิชาจิตวิทยาคลีนิก)

20. คณะมัลติมีเดีย

น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาคนไหนที่ชื่นชอบด้านการออกแบบกราฟิก ทำเว็บ ทำสื่อดิจิทัลมีเดีย เอฟเฟคต์ แอนิเมชัน 3D บอกได้คำเดียวเลยว่าคณะนี้เหมาะกับน้อง ๆ มากค่ะ แต่ทั้งนี้น้อง ๆ สามารถสมัครเรียนได้เฉพาะบางสาขาวิชาและบางมหาวิทยาลัยเท่านั้น ขึ้นอยู่เกณฑ์การคัดเลือกที่มหาวิทยาลัยกำหนดขึ้นมา

21. คณะโลจิสติกส์

โลจิสติกส์ คณะยอดฮิตที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งการเรียนที่คณะนี้ไม่ได้เรียนเกี่ยวกับการขนส่งเพียงอย่างเดียว แต่น้อง ๆ ยังจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคลคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ และความเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจ อีกด้วย ทั้งเราสามารถสมัครเรียนได้เฉพาะบางสาขาวิชาเท่านั้น ขึ้นอยู่เกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยใช้คัดเลือก

…..

22. คณะวิทยาการจัดการ

น้อง ๆ คนไหรที่ต้องการเข้าศึกษาต่อที่คณะนี้ จะต้องเตรียมความพร้อมทางด้านภาษาและคณิตศาสตร์เอาไว้ให้ดีเลย เพราะต้องนำมาใช้ในการเรียนอย่างแน่นอน รวมถึงในการทำงานด้วยนะจ๊ะ น้อง ๆ สามารถสมัคเรียนได้ทุกสาขาวิชาในทุก ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

23. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

น้อง ๆ ศิลป์ภาษาก็สามารถเรียนต่อคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีได้เช่นกัน แต่น้อง ๆ จะต้องมีการเตรียมตัวในวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษกันไว้ให้ดีด้วยนะ เพราะต้องใช้แน่นอนทั้งในการเรียนและการทำงาน โดยน้อง ๆ สามารถสมัคเรียนได้ในบางสาวิชาและบางมหาวิทยาลัยเท่านั้น

24. คณะแพทยศาสตร์

น้อง ๆ สายศิลป์ภาษาก็สามารถสอบเข้าเรียนต่อแพทย์ได้เช่นกันแต่สามารถสมัครเรียนได้เฉพาะรอบ กสพท เท่านั้น โดยน้อง ๆ จะต้องทำการทดสอบวิชาความถนัดแพทย์ด้วย เพื่อนำคะแนนมายื่นในการสมัครเข้าเรียน

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปสอนอะไรบ้าง

เนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์ทั่วไป เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ วิทยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยี ที่มีสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. การนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาสร้างสรรค์นวัตกรรม

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไป ทํางานอะไร

เรียนจบแล้วทำงานอะไร (1) รับราชการครู (2) ครูสังกัดโรงเรียนเอกชน (3) บุคลากรทางการศึกษา (4) นักวิทยาศาสตร์

ครูวิทยาศาสตร์ทั่วไป สอบ อะไรบ้าง

กลุ่มคณะวิทยาศาสตร์ วิชาสามัญที่ต้องสอบ : ภาษาไทย / สังคม / คณิตศาสตร์ 1 / ภาษาอังกฤษ / ฟิสิกส์ / เคมี /ชีววิทยา

วิททั่วไป เรียนอะไรบ้าง

วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป.
ในด้านชีวภาพ และกายภาพโดยรวม เนื้อหาครอบคลุมทั้งวิชาฟิสิกส์ วิชาเคมี และวิชาชีววิทยา แต่จะเน้นไปทางด้าน.
วิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา และอุตุนิยมวิทยา แต่ในวิชาเลือกก็สามารถเลือกเรียนในวิชาที่ตนเอง.