เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

          เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงหน้าที่และวิธีใช้งานเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรม Google SketchUp เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาครั้งแรก จะปรากฏหน้าต่างและชุดเครื่องมือต่างๆ ดังนี้

เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

          แถบที่รวบรวมคำสั่งต่างๆ ในการทำงาน โดยจะแบ่งออกเป็น 8 หมวดด้วยกันดังนี้

1. File: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการกับไฟล์งาน เช่น การสร้างไฟล์งาน เปิดไฟล์งาน การบันทึก การนำเข้า/ส่งออก การสั่งพิมพ์ เป็นต้น

2. Edit: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับปรับแต่งแก้ไขเช่น การคัดลอก ลบ ซ่อน/แสดงวัตถุ สร้าง Group/Component

3. View: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการในส่วนของพื้นที่ทำงานเช่น ซ่อน/แสดงแถบเครื่องมือ เส้นไกด์ แกนอ้างอิง เงา หมอก การ แสดงผลของเส้น การแสดงผลในส่วนของการแก้ไข Group/Component เป็นต้น

4. Camera: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการในส่วนของมุมมองในการทำงานเช่น การหมุน เลื่อน ย่อ/ขยาย เป็นต้น

5. Draw: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการวาดรูปทรงเช่น กาววาดเส้นตรง โค้ง สี่เหลี่ยม วงกลม

6. Tools: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการทำงานเช่น Push/Pull การหมุน/ย้ายวัตถุ การสร้างตัวอักษรสามมิติ การวัดขนาด เป็นต้น

7. Window: เป็นกลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการเรียกแสดงหน้าต่างหรือไดอะล็อกบอกซ์ขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมในการทำงานและปรับแต่งค่าต่างๆของโปรแกรม

8. Help: เป็นกลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับคู่มือการแนะนำการใช้งานโปรแกรม ไปจนถึงการลงทะเบียนและการตรวจสอบการอัพเดต

Toolbars (แถบเครื่องมือ)

          แถบสำหรับรวบรวมเครื่องมือต่างๆ ในการทำงาน โดยในขั้นต้นโปรแกรมจะกำหนดแถบเครื่องมือมาให้กลุ่มเดียว (จาก 20 กลุ่ม) คือ Getting Start ซึ่งในการทำงานจริงเครื่องมือเพียงเท่านี้ไม่เพียงพอต่อการทำงาน เราสามารถที่จะเรียกแสดงแถบเครื่องมือกลุ่มต่างๆ ได้จากเมนู View > Toolbars แล้วเลือกแถบเครื่องมือที่ต้องการ โดยแถบเครื่องมือที่แสดงอยู่จะมีเครื่องหมายถูกอยู่ที่หน้าคำสั่ง

เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

ทำความรู้จักกับเครื่องมือต่างๆ

ชื่อเครื่องมือ ส่วนประกอบของเครื่องมือ
Advanced Camera Tools
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Camera
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Classifier
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Construction
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Drawing
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Dynamic Component
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Edit
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Getting Started
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Google
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Large Tool Set
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Layers
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Measurements
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Principal
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Sandbox
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Section
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Shadows
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Solid Tools
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Standard
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Styles
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Views
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด
Warehouse
เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

(รายละเอียดของเครื่องมือแต่ละชิ้น จะได้เรียนและทดลองใช้ในบทต่อไป)

เมนู Context

          เมนู Context สามารถเรียกได้ด้วยการคลิกขวา โดยจะแสดงคำสั่งที่สัมพันธ์กับวัตถุ ซึ่งรายการคำสั่งของเมนูจะเปลี่ยนไปตามวัตถุที่เลือก

พื้นฐานการสร้างโมเดลโดยอาศัยการอ้างอิงส่วนประกอบในภาพ

          เมื่อต้องการสร้างโมเดล สิ่งสำคัญสิ่งหนึ่งคือความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของโปรแกรม เพื่อควบคุม และแก้ไขจนออกมาเป็นชิ้นงานที่ต้องการ หลักการทำงานของโปรแกรม Google SketchUp คือสร้างโครงร่างสองมิติ แล้วดึงพื้นที่ขึ้นหรือกดลงเพื่อให้มีความลึกหรือความหนา จนได้เป็นชิ้นงานสามมิติ

          ในการสร้างงานสามมิติ ควรศึกษาแกนหลักในการวาดภาพและเข้าใจภาพหรือเส้นแสดงแกนหลักของโปรแกรม โดยจะมีด้วยกัน 3 แกน ดังนี้

          1. แกนหลักสีเขียว แทนทิศเหนือ ใต้ โดยเส้นทึบเขียวแทนทิศเหนือ เส้นประเขียวแทนทิศใต้

          2. แกนหลักสีแดง แทนทิศตะวันออก ตะวันตก โดยเส้นทึบแดงแทนทิศตะวันออก เส้นประแดงแทนทิศตะวันตก

          3. แกนหลักสีน้ำเงิน แทนแนวระดับจากพื้น โดยเส้นทึบน้ำเงินแทนแนวระดับที่สูงกว่าพื้น เส้นประน้ำเงินแทนแนวระดับที่ต่ำกว่าพื้น

การย้ายแกนอ้างอิง

1. คลิกขวาที่แกนหลัดใดก็ได้

2. เลือกคำสั่ง “Move”

3. กำหนดค่าแกนใหม่ตามต้องการ

4. คลิกปุ่ม “OK”

เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

การซ่อนแกนอ้างอิง

1. คลิกขวาที่แกนหลัดใดก็ได้

2. เลือกคำสั่ง “Hide”

เมื่อต้องการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม sketchup ควรคลิกปุ่มใด

อ้างอิง

แมนสรวง แซ่ซิ้ม, “1.4 ส่วนประกอบของโปรแกรม Google Sketchup 8”, https://occupationandtechnologym3.wordpress.com สืบค้นวันที่ 4 พ.ย. 61