ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

 
ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
 
 
ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
 
 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

1.อธิบายความหมาย องค์ประกอบ และ กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ให้เป็นสารสนเทศ

2.  สามารถนำสารสนเทศไปใช้งานได้

 
     
 

<< ข้อมูลและสารสนเทศ >>

 
 

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ข้อมูล (Data )  หมายถึง  ข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ไม่ว่าจะเป็นคน  สัตว์สิ่งของหรือ เหตุการณ์ต่างๆ

2.  สารสนเทศ (Information)   หมายถึง  ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสม และถูกต้อง ซึ่งตรงกับความต้องการของผู้ใช้

กระบวนการสารสนเทศ
|
ข้อมูล - >> การประมวลผลข้อมูล - >> สารสนเทศ
 
 

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
ระบบสารสนเทศ

สารสนเทศสามารถแบ่งแยกประเภทออกตามสภาพความต้องการ    ที่จัดทำขึ้นได้  ดังนี้

1. สารสนเทศที่ทำประจำ  เช่น  การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียน ที่มารงเรียนในแต่ละวันรายงานรายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน

2.  สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย  เช่น  การทำบัญชีงบดุล ของบริษัทที่ต้องยื่นต่อทางราชการและเพื่อใช้ในการเสียภาษี

3. สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ  เช่น  รายงานข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ

 
 

<< ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ >>

 
 

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ มี 5 ส่วน  คือ

1.  บุคลากร

2.  ขั้นตอนการปฏิบัติ

3.  เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (ฮาร์ดแวร์)

4.  โปรแกรม (ซอฟต์แวร์)

5.  ข้อมูล 

 
 

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
บุคลากร

       เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดเพราะบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเข้าใจ
วิธีการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จะเป็นผู้ดำเนินการในการทำงานทั้งหมด บุคลากร จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรภายในองค์กร
เป็นส่วนประกอบที่จะทำให้เกิดระบบสารสนเทศด้วยกันทุกคน เช่น ร้านขายสินค้า
แห่งหนึ่ง บุคลากรที่ดำเนินการในร้านทุกคน ตั้งแต่ผู้จัดการถึงพนักงานขาย
เป็นส่วนประกอบที่จะทำให้เกิดสารสนเทศ

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
ขั้นตอนการปฏิบัติ

เป็นระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในการจัดเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่จะทำให้เป็นสารสนเทศได้ เช่น กำหนดให้มีการป้อนข้อมูลทุกวัน ป้อนข้อมูลให้ทันตามกำหนดเวลา มีการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ กำหนดเวลาในการประมวลผล และการทำรายงาน เป็นต้น
            การดำเนินการต่างๆ ต้องมีขั้นตอน หากขั้นตอนใดมีปัญหา ระบบก็จะมีปัญหา ด้วยเพราะทุกขั้นตอนล้วนมีผลต่อระบบสารสนเทศด้วยเช่นกัน

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (ฮาร์ดแวร์)

      เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการหรือประมวลผลข้อมูล ให้เป็นสารสนเทศตามต้องการ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถคำนวณ ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็วและสามารถทำงานได้ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์  จึงเป็น องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของระบบสารสนเทศ

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
ซอฟต์แวร์

       คือลำดับขั้นตอนคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงชุดคำสั่งที่เรียงเป็นลำดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน และประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
ข้อมูล

       เป็นวัตถุดิบที่จะทำให้เกิดสารสนเทศ ข้อมูลที่เป็นวัตถุดิบจะต่างกันขึ้นกับสารสนเทศที่ต้องการ เช่น ในสถาบันการศึกษามักจะต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนักเรียน ข้อมูลผลการเรียน ข้อมูลอาจารย์ ข้อมูลการใช้จ่ายต่างๆ   ข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดสารสนเทศ

 
 

<< ประเภทของข้อมูล >>

 
 

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็น 2  ประเภท  คือ

1.  ข้อมูลปฐมภูมิ  เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง  เช่น  ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามโดยตรง  การสัมภาษณ์  การสำรวจ  การจดบันทึก 
2.  ข้อมูลทุติยภูมิ 
เป็นข้อมูลที่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว เช่น  สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด   สถิติการนำสินค้าเข้า

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี  มีดังนี้

1. ถูกต้อง

2. ทันเวลา

3. สมบูรณ์

4. สอดคล้องกับงาน

5. สามารถตรวจสอบได้

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
การประมวลผลข้อมูล

วิธีการประมวลผล แบ่งได้เป็น   2  วิธี  ดังนี้

1.  การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)   หมายถึง    การประมวลผลโดยทันทีทันใด     เช่น   การจองตั๋วเครื่องบิน ,  การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า ,  การฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม

2.  การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)   หมายถึง  การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ     เช่น   เมื่อต้องการทราบผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน  ก็มีการสำรวจข้อมูลโดยเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะเวลาหนึ่งแล้วจึงจะประมวลผลได้ จึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ  เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง
การจัดการสารสนเทศ  

เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จึงมีขั้นตอนการดำเนินการต่าง ๆ ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นจนได้มาซึ่งสารสนเทศ  มีหลายขั้นตอน ดังนี้   

1.  การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.
  การตรวจสอบข้อมูล 
3.
การจัดเรียงข้อมูล
4.
  การคำนวณ
5. 
การทำรายงาน
6. 
การจัดเก็บ
7.
  การทำสำเนา 
8. 
การแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล 

 
 

<< การแทนข้อมูล >>

 
 

ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลจะต้องอยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ เข้าใจจึงจำเป็นต้องหาวิธีการแทนข้อมูลซึ่งเป็นชุดของตัวอักขระดังกล่าว  

ปกติการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีสองสถานะ คือปิดและเปิดจึงมีการกำหนดให้ใช้ตัวเลข 0 และ 1 แทนสถานะทั้งสอง และมีการกำหนดรหัสแทนอักขระด้วยชุดของตัวเลขซึ่งประกอบด้วย 0 และ 1ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสอง  

รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระที่เป็นมาตรฐานแบบหนึ่ง  เรียกว่า รหัสแอสกี(American Standard Code for Information Interchange : ASCII) 

 
 
ขั้น ตอน การจัด ทำ ระบบ สารสนเทศ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง