หลักการออกแบบในงานทัศนศิลป์ มีอะไรบ้าง

ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ความรู้เกี่ยวกับทัศนธาตุ สิ่งที่เป็นปัจจัยของการมองเห็น ในผลงานทัศนศิลป์ อันประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง-รูปทรง น้้าหนักอ่อน-แก่ พื้ นที่ว่าง พื้ นผิว และสี เป็นสิ่ง ที่ศิลปินนำมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน เพื่ อสื่อความหมายตามแนวคิด โดยนำทัศนธาตุมาประกอบให้เข้ากันและเกิดการรวมตัวกันอย่างสมบูรณ์ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนและความสมดุล 1

สิ่งแวดล้อม (ENVIRONMENT) สิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ แวดล้อม ชีวิตมนุษย์ทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ้นเอง และสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น และเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 2

สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 3

สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น 4

ทัศนธาตุในสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ รูปทรงที่ปรากฏจะเป็นไปอย่างอิสระ รูปทรงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ รูปลักษณะและความงามจะปรากฏตามกฎของธรรมชาติ 5

ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ เกิดขึ้นจากการสร้างารรค์ของมนุษย์ รูปทรงเป็นไปตามจินตนาการและแนวคิดของผู้สร้างสรรค์ รูปทรงจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามแนวคิดของผู้สร้างสรรค์ รูปทรงและความงามมีปรากฏอยู่ได้ทุกเวลา ทุกพื้นที่ตามแนวคิดในการสร้างสรรค์ ส่วนประกอบของการมองเห็น หรือสิ่งที่เป็น ปัจจัยของการเห็นในงานทัศนศิลป์ ที่นำมาจัดเป็นภาพ ประกอบด้วย จุด เส้น รูปร่างและรูปทรง น้ำหนัก 6 อ่อน-แก่ พื้นที่ว่าง พื้นผิว และสี

องค์ประกอบของทัศนธาตุ 7

1.จุด (DOT OR POINT) 2.เส้น (LINE) 3.น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงา (TONE OR LIGHT & SHADOW) 4.ที่ว่างหรือช่องไฟ (SPACE) 5.รูปร่างและรูปทรง (SHAPE & FROM) 6.สี (COLOUR) 7.ลักษณะผิว (TEXTURE) 8

1. จุด (DOT) 9

1. จุด (DOT) จุดในสิ่งแวดล้อม 10

11

12

13

14

1. จุด (DOT) จุดในงานทัศนศิลป์ 15

การนำจุดในสิ่งแวดล้อมมาออกแบบสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ 16

2. เส้น (LINE) 17

18

19

2. เส้น (LINE) เส้นในสิ่งแวดล้อม 20

21

22

23

24

25

26

เส้นในงานทัศนศิลป์ 27

28

3. น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงา (TONE OR LIGHT & SHADOW) จำนวนความเข้ม ความอ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามที่ประสาท ตารับรู้ เมื่อเทียบกับน้ำหนักของสีขาว - ดำ ความอ่อนแก่ของแสง เงาทำให้เกิดมิติ เกิดระยะใกล้ไกลและสัมพันธ์กับเรื่องสีโดยตรง 29 ที่มา http://www.cpss.ac.th/learnonline/art_say/unit_1.html

30

31

4. บริเวณว่าง (SPACE) / พื้นที่ว่าง บริเวณว่าง (SPACE) หมายถึง บริเวณที่เป็นความว่างไม่ใช่ส่วนที่เป็นรูปทรง หรือเนื้อหาในการจัดองค์ประกอบใดก็ตาม ถ้าปล่อยให้มีพื้นที่ว่างมากและให้มีรูป ทรงน้อย การจัดนั้นจะให้ความรู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว 1. พื้นที่ว่างระหว่างรูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี 2. ปริมาตรของอากาศที่ล้อมรอบรูปทรงหรือวัตถุ 3. ปริมาตรของอากาศที่ถูกล้อมรอบด้วยขอบเขต 4. การแทนค่าความลึกลักษณะ 3 มิติลงบนระนาบ 2 มิติในงานทัศนศิลป์ 32

ลักษณะของที่ว่าง สามารถแบ่งที่ว่างในงานศิลปะได้เป็น 2 ลักษณะดังนี้ 1. ที่ว่างแบบ 2 มิติ คือพื้นที่ระหว่างรูปบนพื้นผิวแบนราบ เช่นกระดาษ ผ้าใบ เป็นที่ว่างที่ กำหนดด้วยความกว้างและความยาว เท่านั้น 2. ที่ว่างแบบ 3 มิติ คือมีปริมาตรของอากาศที่อยู่ระหว่างวัตถุ หรือรูปทรง กำหนดด้วยความ กว้าง ความยาว และความลึก สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 2.1 ที่ว่างลวงตา หรือที่ว่างแบบรูปภาพ (PICTORIAL SPACE) เป็นที่ว่างที่เกิดจาก ความรู้สึกเมื่อได้เห็นภาพ ไม่สามารถสัมผัสได้ เป็นที่ว่างในงาน 2 มิติ ที่สร้างสรรค์ให้ดูคล้ายจริง คล้ายมีความลึก เช่น งานจิตรกรรม ภาพพิมพ์ 2.2 ที่ว่างจริง หรือที่ว่างกายภาพ (PHYSICAL SPACE) เป็นที่ว่างที่มีอยู่จริง สามารถ สัมผัสได้ เป็นที่ว่างในงานที่มีลักษณะเป็น 3 มิติจริง เช่น งานสื่อผสม งานประติมากรรม และงาน สถาปัตยกรรม 33

34

35

5. รูปร่าง รูปทรง (SHAPE & FROM) รูปร่าง รูปทรง เกิดจากการนำเอาเส้นลักษณะต่าง ๆ มาประกอบให้เป็นเรื่องราว ทั้งนี้รูปร่างจะเป็นเส้น โครงของวัตถุสิ่งของ มีลักษณะ 2 มิติ คือ กว้าง และยาว ส่วนรูปทรง เป็นเส้นโครงของ วัตถุสิ่งของ มีลักษณะ 3 มิติ คือ กว้าง ยาว และลึก (หนา) 36

37

ความหมายของรูปร่าง รูปร่าง (SHAPE) หมายถึงภาพที่เกิดจากเส้นและทิศทางที่มีปลายทั้งสอง มาบรรจบกัน รูปร่างพื้นฐานมี 3 ลักษณะ คือ วงกลม สามเหลี่ยม และ สี่เหลี่ยม ซึ่งเรียกว่ารูปร่างเรขาคณิต หรืออาจเพิ่มเติมรูปร่างอิสระอีกก็ได้ 38

ตัวอย่างรูปร่าง เป็นรูปที่มีลักษณะแบน เป็น ๒ มิติ มีความกว้างและความยาว ไม่มีความหนา 39

40 ที่มา http://www.thaischool.in.th/_files_school/10106250/data/10106250_1_20170127-133156.pdf

ความหมายของรูปทรง รูปทรง (FROM) โครงสร้างทั้งหมดของวัตถุที่ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มิติ คือมีทั้งส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนาหรือลึก คือ จะให้ความรู้สึกเป็น แท่ง มีเนื้อที่ภายใน มีปริมาตร และมีน้ำหนัก 41

ตัวอย่างรูปทรง เป็นรูปที่มีลักษณะแบน เป็น 3 มิติ มีความกว้างและความยาว และความหนา 42

43 ที่มา http://www.thaischool.in.th/_files_school/10106250/data/10106250_1_20170127-133156.pdf

44

6. สี (COLOUR) สีเป็นปรากฏการณ์ของแสงที่ส่องกระทบวัตถุ สะท้อนเข้าสู่ตามนุษย์ สิ่งที่ปรากฎอยู่ทั่วไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สีทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างมากมาย เช่น ทำให้รู้สึกสดใส ร่าเริง ตื่นเต้น หม่นหมอง หรือเศร้าซึมได้ เป็นต้น 45

46

47

วงจรสี คือ สีที่เกิดจากการผสมกันเป็นคู่ เริ่มตั้งแต่ แม่สี 3 สี แล้ว เกิดเป็นสีใหม่ขึ้นมา จนครบ วงจร จะได้สีทั้งหมด 12 สี ซึ่งแบ่งสีเป็น 3 ขั้น 48

หลักการออกแบบทางทัศนศิลป์คืออะไร

การออกแบบงานทัศนศิลป์ นิยมใช้หลักองค์ประกอบการทัศนศิลป์เป็นแนวทางในการสร้าง 5 ประการ ได้แก่ เอกภาพ ดุลยภาพ จุดเด่น ความกลมกลืน และความขัดแย้ง โดยสามารถวิเคราะห์การใช้ธาตุและ หลักการออกแบบในงานทัศนศิลป์5 ประการ ดังนี้

หลักในการออกแบบมีอะไรบ้าง

10 พื้นฐานองค์ประกอบการออกแบบ.
1. เส้นในการออกแบบ (Lines) ... .
2. สี (Color) ... .
3. รูปร่างต่างๆ (Shape) ... .
4. พื้นที่ในงาน (Space) ... .
5. พื้นผิว (texture) ... .
6. ตัวอักษร (Typography) ... .
7. ขนาดต่างๆ (Scale) ... .
8. องค์ประกอบหลักและรอง (Dominance and Emphasis).

หลักทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง

ทัศนศิลป์ เป็นรูปแบบศิลปะ เช่น จิตรกรรม, การวาดเส้น, ภาพพิมพ์, ประติมากรรม, เซรามิก, การถ่ายภาพ, วิดีโอ, การสร้างภาพยนตร์, การออกแบบ, หัตถกรรม และสถาปัตยกรรม สาขาวิชาศิลปะมากมาย เช่น ศิลปะการแสดง ศิลปะเชิงแนวคิด และศิลปกรรมสิ่งทอ รวมถึงลักษณะทางทัศนศิลป์ ตลอดจนศิลปะประเภทอื่น ๆ นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงศิลปะประยุกต์ที่ ...

การออกแบบมีความสําคัญด้านใดบ้าง

ในแง่ของการวางแผนการการทำงาน งานออกแบบจะช่วยให้การทำงานเป็นไปตามขั้นตอน อย่างเหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือว่าการออกแบบ คือ การวาง แผนการทำงานก็ได้.
ในแง่ของการนำเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ ตรงกันอย่างชัดเจน ดังนั้น ความสำคัญในด้านนี้ คือ เป็นสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจระหว่างกัน.