คุณธรรมจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์มีอะไรบ้าง

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต + คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์


โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขาย ของผิดกฏหมาย, ขายบริการทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ


โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต


     เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย

 ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่ารุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ

หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้เป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความ

เชี่ยว ชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง แต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้งานอินเตอร์เน็ต


        ในสังคมอินเทอร์เน็ตนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดีเช่นเดียวกับสังคมทั่วไป ผุ้ใช้ที่ไม่ระมัดระวังจึงอาจถูกล่อลวงไปในทางที่ผิดหรือก่อให้เกิดอันตราย ได้ ฉะนั้น วิธีหนึ่งที่จะป้องกันเยาวชนไทยจากปัญหาเหล่านี้ก็คือ การให้เยาวชนรู้จักกับศิลปป้องกันตัวในอินเทอร์เน็ต


ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรจะรู้และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้


        1. ไม่บอกข้อมูลส่วนตัว เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ โรงเรียนของตนให้แก่บุคคลอื่นที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน

        2. หากพบข้อความหรือรูปภาพใดๆ บนอินเทอร์เน็ตที่มีลักษณะหยาบคายหรือไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที

        3. ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตจาก ผู้ปกครองก่อน และหากผู้ปกครองอนุญาต ก็ควรไปพร้อมกับผู้ปกครอง โดยควรไปพบกันในที่สาธารณะ

        4. ไม่ส่งรูปหรือสิ่งใดๆ ให้บุคคลที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน

        5. ไม่ตอบคำถามหรือต่อความกับผู้ที่สื่อข้อความหยาบคาย และต้องแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที

        6. ควรเคารพต่อข้อต่อลงในการใช้อินเทอร์เน็ตที่ให้ไว้กับผู้ปกครอง เช่น กำหนดระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ผู้ปกครองอนุญาตให้เข้าได้

ความหมายของการสื่อสาร

ความหมายของการสื่อสาร คำว่ำ กำรสื่อสำร (COMMUNICATIONS) มีที่มำจำกรำกศัพท์ภำษำลำติน
ว่ำ COMMUNISหมำยถึง ควำมเหมือนกันหรือร่วมกัน กำรส่ือสำร (COMMUNICATION) หมำยถึงกระบวนกำร
ถ่ำยทอดข่ำวสำร ข้อมลู ควำมรู้ ประสบกำรณ์ ควำมรู้สึก ควำมคิดเห็น ควำมต้องกำรจำกผู้ส่งสำรโดยผ่ำนสื่อต่ำง ๆ
ท่ีอำจเป็นกำรพูด กำรเขียน สัญลักษณ์อ่ืนใด กำรแสดงหรือกำรจัดกิจกรรมต่ำง ๆ ไปยังผู้รับสำร ซึ่งอำจจะใช้
กระบวนกำรส่ือสำรที่แตกต่ำงกนั ไปตำมควำมเหมำะสม หรือควำมจำเป็นของตนเองและคู่ส่ือสำร โดยมีวัตถุประสงค์
ใหเ้ กดิ กำรรบั ร้รู ว่ มกันและมีปฏิกิริยำตอบสนองต่อกัน บริบททำงกำรส่ือสำรที่เหมำะสมเป็น ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้
กำรสอ่ื สำรสมั ฤทธผ์ิ ล

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ความหมายของการใช้ส่ือดจิ ทิ ลั เพ่ือการสื่อสาร

วัตถุประสงค์การสื่อสาร

1. เพอ่ื แจ้งให้ทรำบ (INFORM) ในกำรทำกำรส่ือสำร ผทู้ ำกำรสื่อสำรควรมีควำม ตอ้ งกำรท่ีจะบอกกล่ำว
หรอื ชแ้ี จงขำ่ วสำร เรอื่ งรำว เหตกุ ำรณ์ หรอื สิ่งอน่ื ใดใหผ้ ู้รับสำรได้รบั ทรำบ
2. เพื่อสอนหรือให้กำรศกึ ษำ (TEACH OR EDUCATION) ผ้ทู ำกำรสื่อสำรอำจมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ จะ
ถ่ำยทอดวชิ ำควำมรู้ หรอื เร่ืองรำวเชิงวิชำกำร เพอ่ื ให้ผ้รู บั สำรไดม้ ีโอกำสพฒั นำควำมรใู้ ห้เพ่มิ พนู ยิ่งขึ้น
3. เพื่อสรำ้ งควำมพอใจหรอื ใหค้ วำมบนั เทิง (PLEASE OF ENTERTAIN) ผทู้ ำกำรสือ่ สำรอำจ ใช้
วตั ถปุ ระสงค์ในกำรสอ่ื สำรเพอ่ื สรำ้ งควำมพอใจ หรือให้ควำมบันเทงิ แกผ่ รู้ ับสำร โดยอำศัยสำรทต่ี นเอง
ส่งออกไป ไม่ว่ำจะอยู่ในรูปของกำรพูด กำรเขยี น หรือกำรแสดงกิรยิ ำตำ่ ง ๆ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

วัตถปุ ระสงคก์ ารสื่อสาร

4. เพ่ือเสนอหรือชกั จงู ใจ (PROPOSE OR PERSUADE) ผทู้ ำกำรสื่อสำรอำจใช้วตั ถุประสงคใ์ น กำรส่อื สำรเพ่อื ใหข้ อ้ เสนอแนะ หรือ
ชักจูงใจในสง่ิ ใดสิง่ หน่งึ ตอ่ ผรู้ ับสำร และอำจชกั จงู ใจให้ผรู้ บั สำรมคี วำมคิดคลอ้ ยตำม หรอื ยอมปฏิบตั ติ ำมกำรเสนอแนะของตน
5. เพอื่ เรียนรู้ (LEARN) วัตถปุ ระสงค์นี้มีควำมเกย่ี วข้องโดยตรงกบั ผู้รบั สำร กำรแสวงหำควำมรู้ ของผูร้ ับสำร โดยอำศัยลักษณะของ
สำร ในกรณีนีม้ กั จะเปน็ สำรทมี่ ีเนอ้ื หำสำระเกย่ี วกบั วิชำควำมรู้ เป็นกำรหำควำมรเู้ พิ่มเตมิ และเปน็ กำรทำควำมเข้ำใจกบั เนอ้ื หำของ
สำรที่ผู้ทำกำรส่อื สำรถ่ำยทอดมำถึงตน
6. เพือ่ กระทำหรอื ตดั สนิ ใจ (DISPOSE OR DECIDE) ในกำรดำเนนิ ชีวติ ของคนเรำมี สิ่งหนง่ึ ทต่ี อ้ งกระทำ อยู่เสมอกค็ ือ กำร
ตัดสินใจกระทำกำรอยำ่ งใดอยำ่ งหน่ึง ซงึ่ กำรตดั สินใจ นัน้ อำจไดร้ ับกำรเสนอแนะ หรอื ชกั จงู ใจให้กระทำอย่ำงนั้นอยำ่ งนจี้ ำกบคุ คล
อ่นื อยเู่ สมอ ทำงเลือกในกำร ตดั สินใจของเรำจงึ ข้นึ อยู่กบั ข้อเสนอแนะนัน้

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ความหมายเครือข่ายสังคมออนไลน์

เครือข่ายสงั คมออนไลน์ มกั นำมำใช้ดำเนนิ งำนหรอื กิจกรรมตำ่ ง ๆ โดยมบี คุ คลหรอื หน่วยงำนตำ่ ง ๆ รว่ มกัน
เป็นเครือข่ำยเพือ่ ใช้ทรพั ยำกรร่วมกนั แลกเปลี่ยน แบง่ ปนั ทรพั ยำกร ขอ้ มูลขำ่ วสำร ฯลฯ ปัจจบุ นั คำวำ่
(SOCIAL NETWORK) หมำยถึงระบบเครือข่ำยบนโลกออนไลน์ หรอื กำรตดิ ต่อสอ่ื สำรผ่ำนอินเทอร์เนต็
สอ่ื สงั คมออนไลน์ หมำยถึง ส่ือดจิ ิทัลที่เปน็ เครื่องมอื ในกำรปฏิบตั กิ ำรทำงสงั คม (SOCIAL TOOL) เพอื่ ใชส้ ือ่ สำร
ระหวำ่ งกันในเครอื ข่ำยทำงสังคม (SOCIAL NETWORK) ผ่ำนทำงเวบ็ ไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ทมี่ ี
กำรเชอ่ื มต่อกับอินเทอรเ์ น็ต โดยเนน้ ให้ผู้ใช้ทงั้ ทเ่ี ปน็ ผสู้ ง่ สำรและผู้รบั สำรมสี ่วนร่วม (COLLABORATIVE) อย่ำง
สรำ้ งสรรค์ ในกำรผลติ เนือ้ หำขน้ึ เอง (USER-GENERATECONTENT: UGC) ในรูปของข้อมูล ภำพ และเสียง

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ประเภทของส่ือ

ประโยชน์ SOCIAL NETWORKS เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์

1. สามารถแลกเปลย่ี นข้อมลู ความรูใ้ นสง่ิ ทส่ี นใจร่วมกันได้
2. เปน็ คลงั ข้อมูลความรูข้ นาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลย่ี น
ความรู้ หรอื ตัง้ คาถามในเร่ืองต่างๆ เพอ่ื ใหบ้ ุคคลอืน่ ที่สนใจหรือมีคาตอบไดช้ ว่ ยกนั ตอบ
3. ประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการติดตอ่ สือ่ สารกับคนอืน่ สะดวกและรวดเรว็
4.เปน็ สอ่ื ในการนาเสนอผลงานของตวั เอง เช่น งานเขยี น รปู ภาพ วดี โิ อต่างๆ เพือ่ ใหผ้ ู้อื่นได้
เขา้ มารับชมและแสดงความคิดเห็น

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ประโยชน์ SOCIAL NETWORKS เครือข่ายสงั คมออนไลน์

5. ใช้เปน็ สอ่ื ในการโฆษณา ประชาสมั พันธ์ หรอื บรกิ ารลกู ค้าสาหรบั บรษิ ัทและองคก์ ร
ต่างๆ ช่วยสรา้ งความเช่อื ม่ันใหล้ กู ค้า
6. ชว่ ยสรา้ งผลงานและรายไดใ้ ห้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจา้ งงานแบบใหมๆ่ ขน้ึ
7.คลายเครียดได้สาหรับผ้ใู ชท้ ตี่ ้องการหาเพอ่ื นคยุ เล่นสนกุ ๆ
8. สร้างความสัมพันธ์ทีด่ ีจากเพือ่ นส่เู พ่อื นได้

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ขอ้ จากดั ของSocial networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน์

1. เว็บไซตใ์ ห้บรกิ ำรบำงแหง่ อำจจะเปดิ เผยข้อมลู สว่ นตัวมำกเกนิ ไป หำกผู้ใช้บรกิ ำรไม่ระมดั ระวังใน
กำรกรอกข้อมลู อำจถูกผไู้ มห่ วังดนี ำมำใช้ในทำงเสยี หำยหรือละเมิดสิทธิสว่ นบุคคลได้
2. Social Network เปน็ สังคมออนไลนท์ ่กี ว้ำง หำกผใู้ ชร้ เู้ ท่ำไมถ่ งึ กำรณ์หรอื ขำดวิจำรณญำณ อำจ
โดนหลอกลวงผ่ำนอนิ เทอร์เนต็ หรอื กำรนัดเจอกนั เพ่อื จดุ ประสงค์รำ้ ยตำมทเ่ี ปน็ ข่ำวตำมหน้ำ
หนังสอื พิมพ์
3. เปน็ ช่องทำงในกำรถูกละเมิดลิขสทิ ธ์ิ ขโมยผลงำน หรอื ถูกแอบอำ้ ง เพรำะ Social Network
Service เป็นสือ่ ในกำรเผยแพรผ่ ลงำน รูปภำพตำ่ งๆ ของเรำให้บุคคลอ่ืนไดด้ แู ละแสดงควำมคดิ เหน็

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ข้อจากดั ของSOCIAL NETWORKS เครอื ข่ายสังคมออนไลน์

4. ขอ้ มูลทต่ี อ้ งกรอกเพือ่ สมัครสมำชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรปู แบบ SOCIAL NETWORK ยำกแกก่ ำร
ตรวจสอบว่ำจรงิ หรือไม่ ดงั น้ันอำจเกิดปัญหำเก่ียวกบั เว็บไซต์ทีก่ ำหนดอำยุกำรสมคั รสมำชิก หรือกำรถกู หลอก
โดยบุคคลที่ไม่มตี วั ตนได้
5. ผใู้ ช้ทเ่ี ลน่ SOCIALNETWORK และอยู่กบั หนำ้ จอคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เวลำนำนอำจสำยตำเสียไดห้ รือบำงคนอำจ
ตำบอดได้
6. ถำ้ ผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กบั SOCIALNETWORK มำกเกินไปอำจทำใหเ้ สยี กำรเรยี นหรอื ผลกำรเรียนตกต่ำลงได้
7. จะทำให้เสยี เวลำถำ้ ผใู้ ช้ใช้อย่ำงไร้ประโยชน์

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

มารยาทในสังคมดิจิทลั (DIGITAL ETIQUETTE)

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

คุณธรรมจริยธรรม ในการใช้ส่ือสังคมออนไลน์

จริยธรรมและคณุ ธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ น็ต
จริยธรรม หมำยถงึ หลักศีลธรรมจรรยำทกี่ ำหนดขึน้ เพือ่ ใช้เปน็ แนวทำงปฏิบตั ิ หรือ

ควบคุมกำรใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์และสำรสนเทศ ซึ่งเม่อื พจิ ำรณำจรยิ ธรรมเกี่ยวกบั กำร
ใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและคอมพวิ เตอรแ์ ล้ว สำมำรถสรปุ ได้ 4 ประเด็น ไดแ้ ก่

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์และอนิ เตอร์เน็ต

1. ควำมเป็นสว่ นตัว (INFORMATION PRIVACY)
ควำมเปน็ สว่ นตวั ของข้อมูลและสำรสนเทศ โดยทัว่ ไปหมำยถึงสทิ ธิท่จี ะอยู่ตำมลำพงั และเป็นสทิ ธิทเ่ี จำ้ ของสำมำรถทจี่ ะ

ควบคุมขอ้ มลู ของตนเองในกำรเปดิ เผยใหก้ บั ผ้อู น่ื ปจั จบุ นั มีประเดน็ เกย่ี วกบั กำรละเมดิ ควำมเป็นสว่ นตวั ทเี่ ปน็ ขอ้ หน้ำสังเกตดงั นี้
– กำรเขำ้ ไปดขู อ้ ควำมในจดหมำยอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละกำรบนั ทึกข้อมลู ในเครื่องคอมพวิ เตอร์ รวมท้ังกำรบันทึก-แลกเปลยี่ น

ข้อมูลที่บุคคลเขำ้ ไปใชบ้ รกิ ำรเว็บไซต์และกลมุ่ ข่ำวสำร
– กำรรวบรวมหมำยเลขโทรศัพท์ ท่ีอยูอ่ ีเมล์ หมำยเลขบตั รเครดติ และขอ้ มลู สว่ นตวั อื่นๆ เพื่อนำไปสร้ำงฐำนขอ้ มูลประวตั ิ

ลกู ค้ำใหมข่ ึน้ มำแล้วนำไปขำยให้กับบรษิ ัทอนื่

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์และอนิ เตอร์เน็ต

2. ความถูกต้อง (INFORMATION ACCURACY)

ในการใช้คอมพิวเตอรเ์ พอื่ การรวบรวม จัดเก็บ และเรยี กใช้ขอ้ มลู น้นั คณุ ลักษณะทส่ี าคญั ประการหนึง่ คือความน่าเชอ่ื ถือไดข้ องข้อมลู ทัง้ นี้
ขอ้ มูลจะมคี วามน่าเชอื่ ถอื มากนอ้ ยเพียงใดยอ่ มขนึ้ อยกู่ บั ความถกู ตอ้ งในการบนั ทึกขอ้ มูลด้วย ประเดน็ ดา้ นจรยิ ธรรมท่เี ก่ยี วกบั ความถกู ตอ้ งของ
ข้อมลู โดยทัว่ ไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผูร้ ับผดิ ชอบต่อความถกู ต้องของขอ้ มลู ท่ีจดั เก็บและเผยแพร่

3. ความเป็นเจ้าของ (INFORMATION PROPERTY)

ในสงั คมของเทคโนโลยสี ารสนเทศมกั จะกล่าวถงึ การละเมิดลขิ สิทธซิ์ อฟต์แวร์ เมอื่ ท่านซอ้ื โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ม่ี ีการจดลิขสิทธิ์ นน่ั
หมายความว่าท่านจ่ายค่าลขิ สิทธใ์ิ นการใชซ้ อฟต์แวรน์ ้ัน ซึ่งลขิ สทิ ธิ์ในการใชจ้ ะแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมอนุญาตให้
ตดิ ต้ังได้เพยี งเคร่ืองเดยี ว ในขณะทีบ่ างโปรแกรมอนุญาตให้ใช้ได้หลายเครอื่ ง ตราบใดทที่ ่านยังเปน็ บคุ คลท่ีมสี ิทธใิ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซอ้ื มา
การคดั ลอกโปรแกรมใหก้ บั บุคคลอ่นื เปน็ การกระทาท่ีต้องพิจารณาใหร้ อบคอบก่อนว่าทา่ นมสี ทิ ธใิ นโปรแกรมนั้นในระดบั ใด

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์และอนิ เตอร์เน็ต

4. กำรเข้ำถงึ ข้อมูล (DATA ACCESSIBILITY)
คือกำรปอ้ งกนั กำรเขำ้ ไปดำเนนิ กำรกบั ขอ้ มูลของผใู้ ช้ที่ไมม่ ีสว่ นเก่ียวขอ้ ง และเปน็ กำรรักษำควำมลบั ของ

ข้อมลู ตวั อยำ่ งสิทธใิ นกำรใช้งำนระบบเช่น กำรบันทึก กำรแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ และกำรลบ เปน็ ต้น ดงั นนั้ ในกำร
พฒั นำระบบคอมพวิ เตอรจ์ งึ ไดม้ กี ำรออกแบบระบบรกั ษำควำมปลอดภัยในกำรเข้ำถงึ ข้อมลู ของผ้ใู ช้ และกำร
เข้ำถึงขอ้ มลู ของผู้อนื่ โดยไมไ่ ดร้ บั ควำมยนิ ยอมน้ัน ถือวำ่ เป็นกำรผิดจรยิ ธรรมเชน่ เดยี วกบั กำรละเมดิ ข้อมลู
สว่ นตัว ในกำรใช้งำนคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ขำ่ ยร่วมกัน หำกผู้ใชร้ ่วมใจกนั ปฏิบตั ิตำมระเบียบและขอ้ บงั คับของ
แตล่ ะหนว่ ยงำนอย่ำงเครง่ ครดั แลว้ กำรผิดจรยิ ธรรมตำมประเด็นท่กี ล่ำวมำข้ำงตน้ กค็ งจะไมเ่ กดิ ข้นึ

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

บัญญตั ิ 10 ประการในการใช้คอมพวิ เตอร์

1. ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรท์ ำร้ำยหรอื ละเมดิ ผอู้ ่ืน
2. ตอ้ งไมร่ บกวนกำรทำงำนของผู้อ่ืน
3. ตอ้ งไมส่ อดแนม แกไ้ ข หรือเปดิ ดแู ฟม้ ขอ้ มลู ของผ้อู น่ื
4. ต้องไมใ่ ช้คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื กำรโจรกรรมข้อมูลข่ำวสำร
5. ตอ้ งไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรส์ รำ้ งหลักฐำนท่ีเป็นเทจ็

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

บัญญตั ิ 10 ประการในการใช้คอมพวิ เตอร์

6. ต้องมจี รรยำบรรณกำรใช้เครอื ข่ำยสงั คมออนไลน์
7. ให้ระมดั ระวังในกำรละเมิดหรอื สร้ำงควำมเสยี หำยใหผ้ อู้ ่นื
8. ใหแ้ หลง่ ที่มำของขอ้ ควำม ควรอำ้ งอิงแหล่งขำ่ วได้
9. ไม่กระทำกำรรบกวนผอู้ ื่นดว้ ยกำรโฆษณำเกนิ ควำมจำเปน็
10. ดแู ลและแก้ไขหำกตกเปน็ เหย่ือจำกโปรแกรมอันไมพ่ งึ ประสงค์ เพื่อป้องกันมใิ หค้ นอื่นเป็นเหย่อื

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

จรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

1. ใหร้ ะมัดระวังกำรละเมิดหรอื สร้ำงควำมเสยี หำยให้ผอู้ ่ืน
2. ให้แหล่งทม่ี ำของขอ้ ควำม ควรอ้ำงอิงแหล่งข่ำวได้
3. ไมก่ ระทำกำรรบกวนผู้อน่ื ด้วยกำรโฆษณำเกนิ ควำมจำเปน็
4. ดูแลและแกไ้ ขหำกตกเปน็ เหย่อื จำกโปรแกรมอันไม่พงึ ประสงค์ เพื่อปอ้ งกนั มิให้
คนอนื่ เป็นเหย่ือ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

จรรยำบรรณ
จรรยำบรรณ คอื ประมวลควำมประพฤติทีผ่ ู้ประกอบอำชีพกำรงำน

แตล่ ะอย่ำงกำหนดขึ้น เพือ่ รักษำและส่งเสรมิ เกียรตคิ ณุ ช่อื เสียงและฐำนะของ
สมำชิก อำจเขียนเปน็ ลำยลักษณ์อกั ษรหรือไมก่ ไ็ ด้
จรรยำบรรณกำรใชง้ ำน อนิ เทอรเ์ น็ต

จรรยำบรรณกำรใชง้ ำน อินเทอรเ์ นต็ คอื ข้อกำหนดท่ผี ู้ใชง้ ำน
อนิ เทอร์เน็ต พงึ่ กระทำ เพอ่ื ดำรงไว้ซ่ึงควำมสงบ ไมข่ ดั ตอ่ กฎหมำย

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ความสาคญั จรรยาบรรณในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์

1. ผ้ทู ีใ่ ชง้ ำนอินเทอร์เน็ตต้องซอ่ื สัตย์ และมคี ณุ ธรรม ตัง้ หมั่นอยู่บน กฎหมำยบ้ำนเมือง
2. ไมน่ ำผลงำนของผู้อนื่ มำเปน็ ของตน ในกรณที ต่ี อ้ งนำมำใช้งำนต้องอ้ำงถึงบุคคล
หรือแหลง่ ที่มำของขอ้ มลู ทนี่ ำมำใช้
3. พง่ึ ระลกึ เสมอว่ำส่ิงท่ีนำเสนอบนอินเทอร์เน็ต อำจจะมเี ดก็ หรอื ผทู้ ี่ขำดประสบกำรณเ์ ข้ำมำดไู ดต้ ลอดเวลำ
ดังนั้นกำรนำเสนอขอ้ มลู ควรทจ่ี ะเปน็ ไปในทำงท่ดี ี มีคณุ ธรรม
4. ไม่ควรใสร่ ้ำยปำ้ ยสี หรือสง่ิ อนื่ ส่ิงใดอนั จะทำให้บุคคลที่สำมเกิดควำมเสยี หำยได้
5. กำรใช้คำพูดควรคำนึงถงึ บคุ คลอน่ื ๆ ที่อำจจะเขำ้ มำสบื คน้ ขอ้ มูลทม่ี ีหลำกหลำย จงึ ควรใชค้ ำทีส่ ุภำพ
6. ไมใ่ ช้สอื่ อินเทอร์เน็ตเปน็ เคร่ืองมือในกำรหลอกลวงผู้อนื่ ให้หลงผดิ หลงเช่อื ในทำงทผ่ี ิด

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ความสาคญั จรรยาบรรณในการใช้ส่ือ สังคมออนไลน์

7. พงึ ระลึกเสมอวำ่ กำรกระทำผิดทำงอนิ เทอร์เน็ตสำมำรถท่ีจะติดตำมหำบุคคลทก่ี ระทำได้
โดยง่ำย
8. กำรกระทำควำมผิดทำงอนิ เทอรเ์ น็ต บำงกรณีเปน็ อำชญำกรรม ท่มี ีควำมผดิ ทำงกฎหมำย
9. ตอ้ งไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์ทำรำ้ ย หรือละเมิดผอู้ ่ืน
10. ต้องไม่รบกวน สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟม้ ข้อมูลของผู้อน่ื
11. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพ่อื กำรโจรกรรมข้อมลู ขำ่ วสำร

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ความสาคญั จรรยาบรรณในการใช้ส่ือ สังคมออนไลน์

12. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรส์ ร้ำงหลกั ฐำนที่เปน็ เท็จ
13. ตอ้ งไมค่ ดั ลอกโปรแกรมของผ้อู น่ื ท่มี ลี ขิ สิทธ์ิ
14. ต้องไมล่ ะเมดิ กำรใช้ทรพั ยำกรคอมพิวเตอร์โดยทต่ี นเองไมม่ สี ทิ ธ์ิ
15. ต้องคำนงึ ถึงส่งิ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ กับสังคมทเี่ กดิ จำกกำรกระทำของท่ำน
16. ตอ้ งใชค้ อมพิวเตอรโ์ ดยเคำรพกฎระเบยี บ กติกำ และมมี ำรยำท

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

การรู้เท่าทนั สื่อ

ร้เู ท่าทนั สอื่ คืออะไร
กำรรูเ้ ทำ่ ทนั ส่อื คือ กำรท่เี รำไมห่ ลงเชอ่ื เน้ือหำทไี่ ดอ้ ่ำน ได้ยิน ไดฟ้ งั แต่
สำมำรถคิด วเิ ครำะห์ สงสยั และรจู้ กั ตั้งคำถำมว่ำ สิง่ นนั้ จริงหรอื ไมจ่ รงิ ใคร
เปน็ คนให้ข้อมลู เขำตอ้ งกำรส่อื อะไร หรอื มจี ุดมุ่งหมำยแอบแฝงหรือไม่

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

แนวคดิ การรู้เท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั

การรู้เทา่ ทันสอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั (MEDIA INFORMATION AND DIGITAL LITERACY: MIDL) เป็นแนวคดิ ท่ีมี ผูใ้ ห้คำ นิยำมไว้อย่ำง
หลำกหลำย โดยมักจะกล่ำวถงึ สมรรถนะกำรสือ่ สำรด้วยควำมสำมำรถในกำรเข้ำถงึ (ACCESS) กำรวเิ ครำะห์ (ANALYZE) กำรประเมนิ
(EVALUATE) และกำรสอื่ สำร (COMMUNICATE) ขอ้ มลู ตำ่ ง ๆ ทีม่ ำใน รปู แบบทห่ี ลำกหลำย กำรมคี วำมเข้ำใจผลกระทบของขอ้ มลู ข่ำวสำรท่มี ี
ตอ่ สังคม รวมไปถึงตระหนักในควำมสำคัญ และรบั ผดิ ชอบต่อขอ้ มูลข่ำวสำร
การรเู้ ท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดจิ ิทัลจึงเปน็ กระบวนกำรสรำ้ งสรรคส์ ังคมเพื่อใหพ้ ลเมอื งมที ักษะในกำรต้งั คำถำม วพิ ำกษ์วจิ ำรณ์ ส่ือสำร
อย่ำงสรำ้ งสรรค์ พลเมอื งจะสำมำรถเปลยี่ นรปู แบบควำมสมั พันธ์จำกผถู้ ูกกระทำ (PASSIVE) ในฐำนะผรู้ บั สอื่ มำเป็นผกู้ ระทำ (ACTIVE) ที่
สำมำรถเขำ้ ถงึ เข้ำใจและเท่ำทันกำรใช้สอ่ื สำรสนเทศ และดจิ ทิ ัล โดยสมรรถนะกำรรเู้ ทำ่ ทนั สื่อ สำรสนเทศ และดิจทิ ัล แบ่งประเภทไดด้ งั นี้

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

การรู้เทา่ ทนั ส่อื สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล แบง่ ประเภทได้ดงั น้ี

5 องค์ประกอบของการรู้เท่าทนั ส่ือทเ่ี ราต้องมี ได้แก่

1.การเปดิ รับสอ่ื กำรเปดิ รบั กำรเขำ้ ใจกำรวิเครำะห์สื่อสอ่ื สื่อคือ กำรรูเ้ ท่ำทนั กำรเปดิ รบั ส่อื ของประสำทสัมผสั หู ตำ จมกู
ลิ้น สมั ผัสของเรำ ซ่ึงเมือ่ เปดิ รบั แล้วสมองจะสง่ั กำรให้คิดและปรงุ แตง่ ใหเ้ กิดอำรมณ์ต่ำงๆตำมมำ กำรรู้เท่ำทนั สือ่ ในขั้น
ของกำรรบั รอู้ ำรมณต์ นเองจงึ เปน็ สง่ิ สำคญั ทีต่ ้องแยกควำมคดิ และอำรมณ์ออกจำกกนั และควำมคิดจะทำใหเ้ รำรับรคู้ วำม
จรงิ ว่ำ“อะไรเปน็ สิง่ ท่สี อ่ื สร้ำงข้ึน”เปน็ ตน้

2.การวิเคราะหส์ อื่ คอื กำรแยกแยะองค์ประกอบในกำรนำเสนอของส่อื วำ่ มวี ัตถปุ ระสงค์อะไร

3.การเข้าใจสอื่ คือ กำรตีควำมส่อื หลงั จำกเปิดรับสือ่ ไปแลว้ เพือ่ ทำควำมเข้ำใจในส่ิงท่ีสื่อนำเสนอ ซงึ่ ผู้รบั สำรแต่ละคนกจ็ ะ
มคี วำมเข้ำใจสือ่ ไดไ้ ม่เหมือนกันตคี วำมไปคนละแบบ ขึน้ อยู่กับประสบกำรณ์ พื้นฐำนกำรศกึ ษำคุณสมบัติในกำรเรยี นรู้
ตลอดจนกำรรบั ร้ขู ้อมลู ของแตล่ ะบคุ คลท่ไี ม่เทำ่ กันมำก่อน

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

5 องค์ประกอบของการรู้เท่าทนั ส่ือทเี่ ราต้องมี ได้แก่

4.การประเมินคา่ หลงั กำรวเิ ครำะหแ์ ละทำควำมเขำ้ ใจสอ่ื แล้ว เรำควรประเมินค่ำสิ่งทีส่ ่ือนำสนอว่ำมี
คุณภำพและคณุ ค่ำมำกนอ้ ยเพยี งใด ไมว่ ำ่ จะเปน็ ดำ้ นเนื้อหำ วธิ นี ำเสนอเทคนิคทใ่ี ช้ เปน็ ต้น
5.การใชส้ อ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ แม้เรำจะสำมำรถวเิ ครำะห์ เขำ้ ใจ และประเมินค่ำสือ่ ได้ แต่เรำไมส่ ำมำรถ
ออกไปจำกโลกของส่อื ได้ ดงั นั้นเรำจึงจำเปน็ ตอ้ งปฏิบัติดังน้ี คอื

- นำส่งิ ทีเ่ รำวิเครำะห์ไปใชป้ ระโยชน์ – เลอื กรับสื่อเปน็ – สำมำรถสง่ สำรตอ่ ได้
- มีปฏกิ ริ ิยำตอบกลับสือ่ ได้

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

แนวทางการปฏบิ ตั ใิ ห้ 10 วิธี รูใ้ ห้ทันสือ่

1. ต้องไมเ่ ช่ือส่อื ในทันที สงสัยตั้งคำถำม เชน่ ใชแ้ ล้วจะขำวจรงิ ไหม? มีผลขำ้ งเคียงไหม?
2. สอ่ื ถูกประกอบสร้ำงขนึ้ สื่อตำ่ ง ๆ นัน้ ไม่ใช่เร่ืองจริงทัง้ หมด บำงเร่อื งอำจมกี ำรตัดต่อ หรือใช้เทคนิค
สร้ำงขน้ึ
3. อำ่ นส่ือใหอ้ อก วำ่ สือ่ มุ่งหวงั อะไร ตอ้ งกำรให้เรำซอื้ สินค้ำใชไ่ หม?
4. เปรยี บเทียบขอ้ มลู จากส่ือหลายแหลง่ ไม่ปักใจเช่ือส่อื แหลง่ เดยี ว
5. พิจารณาใหถ้ ่ีถว้ น อา่ นเง่ือนไขใหด้ กี ่อนซอื้ เช่น รายละเอียดตา่ ง ๆ ขอ้ พงึ ระวงั

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

แนวทางการปฏบิ ัติให้ 10 วธิ ี รใู้ หท้ นั ส่อื

6. เลือกสง่ิ ท่มี คี ณุ ค่ำกับตัวเรำ อย่ำตำมแฟชน่ั ควรดทู ค่ี วำมเหมำะสมคุ้มค่ำในกำรใช้งำน
7. เลอื กและแบง่ ปันสื่อดกี ับเพอ่ื น เสริมสร้ำงจนิ ตนำกำร ส่งเสรมิ ค่ำนิยม และพฤติกรรมท่ีดี
8. หลกี หนีสอ่ื รำ้ ย สื่อไหนท่ใี ห้ขอ้ มูลเท็จ ขำดจรรยำบรรณในกำรนำเสนอ อย่ำไปสนับสนุน
9. แลกเปล่ียนควำมคิดเห็น เพ่อื เทำ่ ทนั สื่อมำกยิง่ ข้นึ ฝึกตง้ั คำถำม คิดวิเครำะห์ แลกเปล่ียน
10. รู้เทำ่ ทันตัวเอง ฝึกควบคมุ ควำมต้องกำรชีวิต ตำมแนวทำงพอเหมำะและพอเพยี ง
ท่มี ำ : ศนู ยข์ ้อมลู สือ่ สรำ้ งสรรค์เพ่ือสุขภำวะ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองใหญ่

ความรับผดิ ชอบในการใช้ ส่ือสังคมออนไลน์

ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง
- ใชง้ ำนบญั ชีผใู้ ชเ้ ฉพำะของตนเองเทำ่ น้นั
- ไม่ติดตัง้ หรือใชซ้ อฟต์แวร์ท่ผี ดิ กฎหมำย
- ไมแ่ จกจำ่ ยขอ้ มลู ส่วนตัวใหบ้ คุ คลอน่ื ทรำบ
- ไมแ่ สดงหรือไมเ่ ขำ้ เวบ็ ไซตท์ ีม่ เี นอ้ื หำไมเ่ หมำะสม
- หม่ันตรวจสอบ ดแู ลระบบคอมพิวเตอรอ์ ย่ำงสมำ่ เสมอ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ความรับผดิ ชอบในการใช้ สื่อสงั คมออนไลน์

ความรับผดิ ชอบตอ่ บคุ คลอน่ื
- ไมพ่ ยำยำมใชง้ ำนบญั ชีของบุคคลอน่ื
- ไม่คัดลอก หรือนำเสนอผลงำนของผอู้ ่ืนที่ไม่ใช่ของตนเอง
- ไม่เปล่ยี นแปลงแกไ้ ข ยำ้ ย หรอื ลบไฟลข์ องผู้อ่ืน
- ไม่ขม่ ขู่ คกุ คำม หรือหลอกลวงผู้อื่น
- ไม่ส่งอเี มลท่ไี มเ่ หมำะสม หรอื ส่ิงที่อำจเกิดอันตรำยตอ่ คอมพวิ เตอร์ใหบ้ คุ คลอ่นื

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

ความรับผดิ ชอบในการใช้ ส่ือสังคมออนไลน์

ความรับผิดชอบตอ่ สังคม
- ไม่พยำยำมเข้ำถงึ เครือข่ำยใดๆ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนุญำต
- ปฏิบตั ติ ำมกฎระเบียบ หรือขอ้ บงั คับขององค์กร
- ไม่เปดิ อเี มล ไฟล์ หรอื โปรแกรมท่ีได้รบั มำจำกแหลง่ ท่ีไมร่ ู้จัก
- ไม่นำข้อมูลสำรสนเทศขององคก์ รไปเผยแพร่
- ไมเ่ จำะระบบ เขำ้ สรู่ ะบบงำน ขโมย คดั ลอก โอนยำ้ ย หรอื แกไ้ ขปลอมแปลงขอ้ มลู โดย
ไมไ่ ดร้ บั อนุญำต

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่

พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ คืออะไร

พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ คือพระรำชบัญญัติทวี่ ่ำด้วยกำรกระทำผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์
ซง่ึ คอมพวิ เตอร์ที่ว่ำนก้ี ็เป็นได้ท้งั คอมพวิ เตอรต์ งั้ โต๊ะ คอมพวิ เตอร์โนต้ บคุ๊ สมำรต์
โฟน รวมถึงระบบตำ่ งๆ ท่ีถูกควบคมุ ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ด้วย ซง่ึ เปน็ พ.ร.บ.ทต่ี งั้
ขน้ึ มำเพื่อป้องกนั ควบคุมกำรกระทำผดิ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ได้จำกกำรใช้คอมพวิ เตอร์ หำก
ใครกระทำควำมผิดตำมพ.ร.บ.คอมพวิ เตอรน์ ้ี ก็จะต้องได้รบั กำรลงโทษตำมทพี่ .ร.บ.
กำหนดไว้

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มีกฉี่ บับ

ประเทศไทย มี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มำแลว้ 2 ฉบบั คือ ฉบบั แรก ปี 2550 และ
ฉบบั สอง ปี 2560 โดยฉบับทีใ่ ชง้ ำนปจั จบุ ัน คอื ฉบับปี 2560
ความแตกตา่ งสาคัญระหวา่ งฉบบั ปี 2560 กับ 2550 คอื แก้ไขมใิ ห้ “ควำมผดิ
หมิ่นประมำท” เป็นควำมผดิ ตำม พ.ร.บ คอมพวิ เตอร์ อีกตอ่ ไป

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอคลองใหญ่

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ 2560 มีกห่ี มวด

พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ 2560 มีอยู่ 2 แบง่ เปน็ 2 หมวดดว้ ยกนั คือ
หมวด 1 “ควำมผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์”
หมดวที่ 2 “พนกั งำนเจำ้ หนำ้ ท”ี่

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองใหญ่


จริยธรรมและคุณธรรมบนโลกออนไลน์คืออะไร

1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น เช่น ไม่ควรโพสต์ข้อความกล่าวหาบุคคลอื่นให้ได้รับความเสียหาย ไม่ควรโพสต์รูปภาพอนาจาร 2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น เช่น เปิดฟังเพลงด้วยคอมพิวเตอร์ หรือเล่นเกมรบกวนผู้อื่นที่อยู่บริเวณใกล้เคียง

คุณธรรม9ประการมีอะไรบ้าง

๙ คุณธรรมพื้นฐาน.
๑. ขยัน มีความตั้งใจเพียรพยายาม ทำหน้าที่การงานอย่างจริงจังและต่อเนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควรสู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทำ ตั้งใจทำหน้าที่อย่างจริงจัง.
๒. ประหยัด ... .
๓. ซื่อสัตย์ ... .
๔. มีวินัย ... .
๕. สุภาพ ... .
๖. สะอาด ... .
๗. สามัคคี ... .
๘. มีน้ำใจ.

การใช้สื่อออนไลน์ในสังคมมีผลกระทบในด้านบวกอะไรบ้าง

ผลกระทบเชิงบวก.
เป็นสื่อในการนำเสนอผลงานของตัวเอง.
เป็นสื่อที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูล รูปภาพ ความรู้ให้กับผู้อื่น.
เป็นเวทีแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ.
เป็นเครือข่ายกระชับมิตร สร้างความสัมพันธ์ที่ดี.
เป็นเครื่องมือในการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ.
เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาชุมชน.