Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Skip to Main Content

SEER Training Modules

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Pectoral girdles


Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Upper Extremity

  • Humerus (2)
  • Radius (2)
  • Ulna (2)
  • Carpals (16)
  • Metacarpals (10)
  • Phalanges (28)

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Pelvic Girdle

  • Coxal, innominate, or hip bones (2)

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Lower Extremity

  • Femur (2)
  • Tibia (2)
  • Fibula (2)
  • Patella (2)
  • Tarsals (14)
  • Metatarsals (10)
  • Phalanges (28)

ระบบโครงร่าง เป็นส่วนที่แข็งแรงที่สุดในร่างกายมนุษย์ ซึ่งมนุษย์ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ มีโครงร่างแข็งภายใน หรือที่เรียกว่า กระดูก

ระบบโครงร่าง ของมนุษย์ (Skeletal System) ประกอบด้วยกระดูก (Bone) กระดูกอ่อน (Cartilage) เอ็นยึดข้อต่อ (Ligament) และข้อต่อ (Joint) โดยมีกระดูกเป็นส่วนที่แข็งแรงและทนทานที่สุด

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง
Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

หน้าที่ของ ระบบโครงร่าง

● ค้ำจุนโครงสร้างของร่างกายและทำหน้าที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ให้คงอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
● ป้องกันอวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ เช่น สมอง หัวใจ และปอด รวมไปถึงหลอดเลือดและเส้นประสาทที่ทอดยาวอยู่ภายในแนวกระดูก จากอันตรายและการกระทบกระเทือนต่าง ๆ
● เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว
● ผลิตเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ และยังเป็นแหล่งสำรองของแคลเซียมที่สำคัญ

กระดูกของมนุษย์มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ

● สารอินทรีย์หรือส่วนที่มีชีวิตของกระดูก คือ เซลล์กระดูก เนื้อเยื่อประสาทและเส้นเลือดต่าง ๆ ซึ่งมีคุณสมบัติทำให้กระดูกมีความเหนียวและยืดหยุ่น ทำให้กระดูกไม่เปราะบางและแตกหักได้ง่าย

● สารอนินทรีย์หรือส่วนที่ไม่มีชีวิตของกระดูก คือ สารประกอบแคลเซียมและโซเดียมจากเกลือแร่ต่าง ๆ ที่ทำให้กระดูกแข็งแรงและทนทาน

ในร่างกายขอมนุษย์ ระบบโครงร่างผ่านการวิวัฒนาการมาอย่างสลับซับซ้อน จากในระยะตัวอ่อน (Embryo) หรือในร่างกายของทารกแรกเกิดที่มีจำนวนกระดูกอยู่มากถึง 350 ชิ้น ซึ่งในภายหลังกระดูกแต่ละชิ้นจะเชื่อมต่อกัน เพื่อรองรับร่างกายที่เจริญเติบโตขึ้น จนกระทั่งถึงวัยผู้ใหญ่ ร่างกายของเราจะเหลือจำนวนกระดูกรวมกันทั้งหมด 206 ชิ้นเท่านั้น ซึ่งสามารถจำแนกออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ

● กระดูกแกน (Axial Skeleton) หมายถึง กระดูกที่เป็นแกนกลางของลำตัวมีอยู่ทั้งหมด 80 ชิ้น ประกอบด้วย
− กระดูกกะโหลกศีรษะ (Skull) 29 ชิ้น ทำหน้าที่ห่อหุ้มและปกป้องสมอง
− กระดูกสันหลัง (Vertebral Column) 33 ชิ้น (ในวัยเด็ก) หรือ 26 ชิ้น (ในวัยผู้ใหญ่) ทำหน้าที่ค้ำจุนและรองรับน้ำหนักของร่างกาย
− กระดูกทรวงอก (Thorax) 1 ชิ้นบริเวณสันอก (Sternum) และกระดูกซี่โครง (Rips) อีก 12 คู่ ทำหน้าที่รวมกับกล้ามเนื้อเพื่อช่วยในการหายใจและปกป้องอวัยวะภายในที่สำคัญ เช่น ปอดและหัวใจ

● กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton) หมายถึง กระดูกนอกเหนือไปจากบริเวณลำตัวมีอยู่ทั้งหมด 126 ชิ้น ประกอบด้วย
− กระดูกไหล่ (Pectoral Girdle) ทั้งหมด 4 ชิ้น ซึ่งประกอบด้วยกระดูกไหปลาร้า (Clavicle) กระดูกสะบัก (Scapula) ชนิดละ 2 ชิ้น ทำหน้าที่รองรับแขนและช่วยในการเคลื่อนไหว
− กระดูกแขน (Upper Extremities) ข้างละ 30 ชิ้น รวมทั้งสิ้น 60 ชิ้น ทำหน้าที่เป็นฐานเชื่อมโยงกับกระดูกอื่น ๆ ในร่างกาย
− กระดูกขา (Lower Extremities) ข้างละ 30 ชิ้น รวมถึงกระดูกเชิงกราน (Pelvic Girdle) และกระดูกสะโพก (Hip Bones) อีก 2 ชิ้น รวมทั้งหมด 62 ชิ้น

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง
Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

ข้อต่อ (Joints) คือ ส่วนของรอยต่อกระดูกที่เกิดจากการเชื่อมกันของกระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป โดยมีเอ็นและกล้ามเนื้อช่วยยึดเสริมความแข็งแรง ทำให้โครงกระดูกมีความยืดหยุ่นและสามารถเคลื่อนไหวไปมาได้อย่างอิสระ

ในข้อต่อบางส่วนจะมีน้ำหล่อเลี้ยงข้อต่อ (Synovial Fluid) ทำหน้าที่หล่อลื่น เพื่อไม่ให้เกิดการเสียดสีที่รุนแรงและทำให้ง่ายต่อการเคลื่อนไหว ในร่างกายของมนุษย์ ข้อต่อแต่ละข้อมีโครงสร้างลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสม เช่น การงอ (Flexion) ของไหล่หรือข้อขา การเหยียด (Extension) ของข้อเขาและกระดูกสันหลังหรือการหมุน (Rotation) ของคอและข้อสะโพก เป็นต้น

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

Appendicular Skeleton มีอะไรบ้าง

การเจริญเติบโตและอายุของกระดูก

กระดูกในร่างกายของมนุษย์เริ่มเจริญเป็นกระดูกอ่อนตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา และจะพัฒนาเป็นกระดูกที่แข็งแรงขึ้นจากการดูดซับธาตุอาหารและแร่ธาตุต่าง ๆ เมื่อร่างกายเจริญเติบโต โดยมีจุดศูนย์กลางของการพัฒนาอยู่ที่บริเวณแกนกระดูก ก่อนจะขยายไปในส่วนของกระดูกรยางค์ทั้ง 2 ข้างลำตัว การเจริญเติบโตของกระดูกมนุษย์จะแตกต่างกันออกไปตามช่วงอายุและเพศ โดยมีฮอร์โมนเป็นตัวกระตุ้น

● เพศชาย : กระดูกจะมีการเติบโตอย่างมากในช่วงอายุระหว่าง 18 ถึง 21 ปี
● เพศหญิง : กระดูกจะมีการเติบโตอย่างมากในช่วงอายุระหว่าง 16 ถึง 18 ปี

กระดูกจะเจริญไปจนถึงอายุประมาณ 25 ปี ก่อนจะหยุดการเจริญเติบโต ซึ่งกระดูกนับเป็นส่วนของเนื้อเยื่อที่มีชีวิตและมีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งในทุก ๆ วันกระดูกมีการสลายตัวและสร้างขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลาหรือที่เรียกว่า “วงจรกระดูก” ซึ่งจะเข้าสู่ภาวะสมดุล เมื่อถึงช่วงวัยประมาณ 25 ถึง 30 ปี และเมื่อเลยจากช่วงอายุดังกล่าวไป อัตราการสลายตัวของกระดูกจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งไม่สามารถรักษาสมดุลระหว่างการสลายตัวและการสร้างใหม่ ส่งผลให้มนุษย์เราเมื่ออายุมากขึ้น กระดูกจะมีมวลลดลงและทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุนนั่นเอง

ข้อใดจัดเป็น Appendicular Skeleton

ม กราน รวมทั้งสิ้น 126 ชน 2. กระดูกระยางค์(APPENDICULAR SKELETON) เป็นกระดูกที่เจริญออกมาจากกระดูกโครง ร่างหลัก ประกอบด้วย กระดูก แขน ขา สะบักไหปลาร้า ข้อมือ ฝ่ามือ นิ้วมือ นิ้วเท้า กระดูกเชิง

Skeletal System มีอะไรบ้าง

ระบบโครงร่าง ของมนุษย์ (Skeletal System) ประกอบด้วยกระดูก (Bone) กระดูกอ่อน (Cartilage) เอ็นยึดข้อต่อ (Ligament) และข้อต่อ (Joint) โดยมีกระดูกเป็นส่วนที่แข็งแรงและทนทานที่สุด

Flat bone มีอะไรบ้าง

3. กระดูกแบน ( Flat bones ) มีลักษณะเป็นแผ่นแบนกว้างออกไป ประกอบด้วยกระดูกเนื้อแน่นสอง แผ่นเชื่อมติดกัน ภายในเป็นกระดูกพรุน กระดูกชนิดนี้จะช่วยป้องกันอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับอันตรายง่าย ได้แก่ กระดูกกะโหลกศรีษะ กระดูกซี่โครง กระดูกสะบัก กระดูกหน้าอก และกระดูกเชิงกราน กระดูกแบนมีทั้งหมด 40 ชิ้น Page 3 4. กระดูกรูปร่างไม่ ...

กระดูกชิ้นใดเป็น axial skeleton

โครงกระดูกแกน (อังกฤษ: axial skeleton) เป็นชุดของกระดูกที่ประกอบด้วยกระดูกในร่างกายมนุษย์จำนวน 80 ชิ้นในศีรษะและลำตัวของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ กะโหลกศีรษะมนุษย์ (human skull) , กระดูกหูในหูชั้นกลาง (ossicles) , กระดูกไฮออยด์ (hyoid bone) ในลำคอ, หน้าอก และกระดูกสันหลัง โครงกระดูกแกนและโครงกระดูกรยางค์รวมกัน ...