ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอน อะไรบ้าง

        ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
    1. การรวบรวมข้อมูล
    2. การแยกแยะ
    3. การตรวจสอบความถูกต้อง
    4. การคำนวณ
    5. การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
    6. การรายงานผล
    7. การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น

วิธีการประมวลผล  มี 2 ลักษณะ คือ
         (1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
          หมายถึงการทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อ
จากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการ ประมวลผล
          การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบินการซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงิน
เอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

         (2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
        หมายถึงการประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการ
ทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้ง สมาชิกสภา
ผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อ เก็บรวบรวม
ข้อมูลเมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วนำข้อมูลนั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงาน
หรือสรุปผลหาคำตอบกรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะ
เป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอน อะไรบ้าง
   

 3.1 ��÷Ӥ��������ѵ�ػ��ʧ����С�����Ǻ��������� (���������� 1 - 2)

          ��鹵͹�á ��� ��÷Ӥ������㨡Ѻ�ѵ�ػ��ʧ��ͧ��û����żŢ����� ���ͧ�ҡ�����������
�е�ͧ�Ӥ��������ѵ�ػ��ʧ�����ҧ��ͧ�� ���͹������õ�駻ѭ����С���� �ӵͺ�����ҧ
�١��ͧ ������� �ҡ��鹨֧�������鹵͹�ͧ������Ǻ��������� ����������ҫ�觢����� ����դ���
�ʹ���ͧ�Ѻ�ѵ�ػ��ʧ�����ҹ����������� �¢����ŷ����ҡ���觢����Ż��������� ���觢�����
�ص����������ö�����駢����ŷ�����ç���ҧ �����ŷ��������ç���ҧ ��Т����š���ç���ҧ

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอน อะไรบ้าง

     ���ѡ���¹��¹�ͺ�Ӷ�����仹��ŧ���ش

    ��û����żŢ����Ũ��繵�ͧ�����㴺�ҧ �������������ŷ��١��ͧ��еç��������ҡ����ش

     ��û����żŢ������繡�кǹ��÷���зӡѺ������ �����������Ѿ��������ö��������ª��
�� ����բ�鹵͹��û����ż� ���������ͧ�� 6 ��鹵͹ ���� " ��÷Ӥ��������ѵ�ػ��ʧ��ͧ���
�����żŢ����� ������Ǻ��������� �������������� ��û����żŢ����� ���������������ŷҧ
ʶԵ� ��С�÷Ӣ�����������Ҿ �

    ������Ǻ����������繡�кǹ��÷�����ҫ�觢��������͹���� 㹡�������������͡�û����ż�
��ҧ � ���ͧ�ҡ�������դ�����ҡ���������Ҩ��� ��ͤ��� ����Ţ ���§ �Ҿ��� �Ҿ����͹���
�繵� �ѧ�������������ҫ�觢����ŷ���ʹ���ͧ �Ѻ�ѵ�ػ��ʧ��֧������͡�ҡ���觢����ŷ�����Ͷ����
�������ö��ṡ�� 2 ������ ��� ���觢����Ż������ ������觢����ŷص������

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอน อะไรบ้าง

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอน อะไรบ้าง

      �����ŷ�������������Ѻ�������������л����żŨе�ͧ�� �س���ѵԢͧ�����ŷ��� ��� ������
�е�ͧ�դ����١��ͧ����� �դ����١��ͧ��зѹ���� �դ�������ó�ú��ǹ �դ�����ЪѺ �դ���
������ͧ��еç�Ѻ������ͧ��âͧ�����ҹ ����Ըա�����Ңͧ�����Ź�����Ըա�����Ǻ���������
��ҡ�����Ը� �� �Ըա�����Ǻ��� �ҡ���觢����Ż����������ö���Ǻ�����ҡ�Ըա��
�����ɳ� �Ըա���ѧࡵ��ó� ��� �Ըա�÷��ͧ �繵�

      �͡�ҡ������Ǻ��������Ż�����������ѧ�ա�����Ǻ��� �����ŷص������ ��觢����Ż��������
�ѡ��������ٻẺ�ͧ������ʶԵ� ��§ҹ �͡��� ������ ����˹ѧ��͵�ҧ � ��觼�����Ǻ���������
��þԨ�óҶ֧����������Ͷ�ͧ͢������ �¡�����º��º�����Ũҡ����� ���� �¾Ԩ�ó�
�ҡ�ѡɳТͧ�����ŷ���ͧ������Ǻ���

     ���ѡ���¹�֡����������´����ǡѺ�����Ż������ ��Т����ŷص������ ���׺��
��к� Internet ������¹������ҧ�����Ū�Դ�� 10 ������ҧŧ���ش

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
          การประมวลผลข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการเรียกว่าข้อสนเทศหรือสารสนเทศ (Information)

วิธีการประมวลผลข้อมูล      อาจจำแนกได้ 3 วิธีโดยจำแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผล ได้แก่


1.การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เป็นวิธีการที่ใช้มาตั้งแต่อดีตโดยใช้อุปกรณ์ง่าย ๆ สามารถจำแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้เป็น 3 ประการ คือ
– อุปกรณ์ที่อำนวยความสะดวกในการเก็บรักษา และค้นหาข้อมูล ได้แก่ บัตรแข็ง แฟ้ม ตู้เก็บเอกสาร
– อุปกรณ์ที่ช่วยในการนับและคิดคำนวณเป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการใช้ ได้แก่ ลูกคิด เครื่องคิดเลข เป็นต้น
– อุปกรณ์ที่ใช้ในการคัดลอกข้อมูล ได้แก่ กระดาษ ปากกา ดินสอ เครื่องอัดสำเนา เป็นต้น
การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กที่มีข้อมูลปริมาณไม่มากนัก และการคำนวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน
2. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล (Mechanical Data Processing) เป็นวิวัฒนาการมาจากการประมวลผลด้วยมือ แต่ยังต้องอาศัยแรงคนบ้าง เพื่อทำงานร่วมกับเครื่องจักรกล ในการประมวลผลทางธุรกิจ เครื่องที่ใช้กันมากที่สุด คือ เครื่องทำบัญชี (Accounting Machine) และเครื่องที่ใช้ในการประมวลผลทั่วไปเป็นเครื่องกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า เครื่อง Unit Record
3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (EDP : Electronic Data Processing) หมายถึงการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ นั้นเอง  ลักษณะงานที่เหมาะสมต่อการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์  คือ
– งานที่มีปริมาณมาก ๆ
– ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว
– มีขั้นตอนในการทำงานซ้ำ ๆ กัน เช่น งานบัญชี งานการเงิน งานทะเบียนประวัติและงานสถิติ เป็นต้น
– มีการคำนวณที่ยุ่งยากและสลับซับซ้อน เช่น งานวิจัยและวางแผน งานด้านวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น

การประมวลผลข้อมูล สามารถแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นเตรียมข้อมูล (lnput) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลที่รวบรวมมาแล้วให้อยู่ในลักษณะที่สะดวกต่อการประมวลผล แบ่งเป็นขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้
ก. การลงรหัส(Coding) คือ การใช้รหัสแทนข้อมูลจริง ทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบที่สะดวกแก่การประมวลผล ทำให้ประหยัดเวลาและเนื้อที่ รหัสอาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเพศ ให้รหัส 1 แทนเพศชาย รหัส 2 แทนเพศหญิง เป็นต้น
ข. การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล (Editing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องและความเป็นไปได้ของข้อมูล และปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จะทำได้หรือคัดข้อมูลที่ไม่ต้องการออกไป เช่น คำตอบบางคำตอบขัดแย้งกันก็อาจดูคำตอบจากคำถามข้ออื่น ๆ ประกอบ แล้วแก้ไขตามความเหมาะสม
ค. การแยกประเภทข้อมูล (Classifying) คือการแยกประเภทข้อมูลออกตามลักษณะงานเพื่อสะดวกในการประมวลผลต่อไป เช่น แยกตามคณะวิชา แยกตามเพศ แยกตามอายุ เป็นต้น
ง. การบันทึกข้อมูลลงสื่อ (Media) ที่เหมาะสม หมายถึง การจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในสื่อ หรืออุปกรณ์ที่อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ และนำไปประมวลได้ เช่น บันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก หรือเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อไป

2. ขั้นตอนการประมวลผล (Processing) เป็นวิธีการจัดการกับข้อมูล โดยนำข้อมูลที่เตรียมไว้แล้วเข้าเครื่อง แต่ก่อนที่เครื่องจะทำงานต้องมีโปรแกรมสั่งงาน ซึ่งโปรแกรมเมอร์(Processing) เป็นผู้เขียน เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ออกมาและยังคงเก็บไว้ในเครื่องขั้นตอนต่าง ๆ อาจเป็นดังนี้
ก. การคำนวณ (Calculation) ได้แก่ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร และทางตรรกศาสตร์ เช่น การเปรียบเทียบค่าต่าง ๆ
ข. การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting) เช่น เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อยหรือเรียงตามตัวอักษร A ถึง Z เป็นต้น
ค. การดึงข้อมูลมาใช้(Retrieving) เป็นการค้นหาข้อมูลที่ต้องการเพื่อนำมาใช้งาน เช่น ต้องการทราบยอดหนี้ของลูกค้าคนหนึ่ง หรือต้องการทราบยอดขายของพนักงานคนหนึ่ง เป็นต้น
ง. การรวมข้อมูล (Merging) เป็นการนำข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุด ขึ้นไปมารวมเป็นชุดเดียวกัน เช่น การนำเอาเงินเดือนพนักงาน รวมกับเงินค่าล่วงเวลา จะได้เป็นเงินที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงาน
จ. การสรุป (Summarizing) เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดให้อยู่ในรูปแบบสั้น ๆ กะทัดรัดตามต้องการ เช่น การสรุปรายรับรายจ่าย หรือ กำไรขาดทุน
ฉ. การสร้างข้อมูลชุดใหม่ (Reproducing) เป็นการสร้างข้อมูลชุดใหม่ขึ้นมาจากข้อมูลเดิม
ช. การปรับปรุงข้อมูล (Updating) คือ การเพิ่มข้อมูล (Add) การลบข้อมูล (Delete)  และการเปลี่ยนค่า (change) ข้อมูลที่มีอยู่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

3. ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นงานที่ได้หลังจากผ่านการประมวลผลแล้วเป็นขั้นตอนในการแปลผลลัพธ์ที่เก็บอยู่ในเครื่อง ให้ออกมาอยู่ในรูปที่สามารถเข้าใจง่ายได้แก่ การนำเสนอในรูปแบบรายงาน เช่น แสดงผลสรุปตารางรายงานการบัญชี รายงานทางสถิติ รายงานการวิเคราะห์ต่าง ๆ หรืออาจแสดงด้วยกราฟ เช่น แผนภูมิ หรือรูปภาพสรุปขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลมีอะไรบ้าง

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ.
การรวบรวมข้อมูล.
การแยกแยะ.
การตรวจสอบความถูกต้อง.
การคำนวณ.
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ.
การรายงานผล.
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น.

การประมวลผลข้อมูลมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

การประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ 2 วิธี คือ การประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลผลแบบทันที ดังนี้

Output คือขั้นตอนใด

ขั้นตอนที่ 4 แสดงผลข้อมูล (output) เป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น