สัญญาแลกเปลี่ยนคืออะไรมีลักษณะอย่างไร

HE L L O

สัญญาแลกเปลี่ยน

นำเสนอโดย นำเสนอ
ภูวดล ทองเกตุ อาจารย์ วีณา สุวรรณโณ

คำนำ

หนั งสืออิเล็กทรอนิ กส์ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของ
รายวิชาเอกเทศ เป็ นการศึกษาเนื้ อหาในเรื่ องของ
สัญญาแลกเปลี่ยน โดยได้เน้ นในภาคทฤษฎีเพื่ อเสริม
สร้างทักษะและองค์ความรู้ให้กับนั กศึกษา เพื่ อเป็ น
แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ก ฎ ห ม า ย
เ อ ก เ ท ศ ใ น ร ะ ดั บ สู ง ต่ อ ไ ป

ภู ว ด ล ท อ ง เ ก ตุ
ร หั ส นิ สิ ต 6 3 1 0 8 1 2 3 1
ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ

สารบัญ 2-5
6-7
คำอธิบายสัญญาแลกเปลี่ยน 8 - 14
ข้อมูลเบื้องต้น 15 - 16
องค์ประกอบ 17 - 20
ข้อสังเกต 21
ประเภทของสัญญาแลกเปลี่ยน
บรรณานุกรม

ยินดีต้อนรับสู่
สัญญาแลกเปลี่ยน

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 518

อันว่าแลกเปลี่ยน คือ สัญญาซึ่งคู่กรณีต่าง
โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้กันและกัน
สัญญาแลกเปลี่ยนคล้ายกับสัญญาซื้ อขายอย่าง
ยิ่ง กล่าวคือ เป็ นเรื่ องของการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินแต่ไม่ต้องชําระราคาคู่กรณีต่างฝ่ ายต้อง
โอนกรรมสิทธิ์ในตัวทรัพย์ซึ่ งกันและกันแทน
และที่สังเกต สัญญาบางอย่าง

ตัวอย่าง

เช่น ก. ตกลงจะแหวนเพชรแก่ ข. วงหนึ่ง ส่วน ข. ตกลงจะให้
สร้อยคอแก่ ก. เจตนารมย์ คือ ต่างฝ่ายต่างให้ ไม่ใช่แลกเปลี่ยน
ก็ต้องบังคับกันด้วยสัญญาให้ ( คล้ายกับแลกเปลี่ยนมาก ) หรือ
กรณีครั้งแรกเป็ นสัญญาซื้ อขายแต่ต่อมาคู่สัญญาไม่มีเงินชําระ
จึงนําสิ่งของอื่นมาชําระหนี้แทน ก็ไม่ใช่ซื้อขายและไม่ใช่สัญญา
แลกเปลี่ยน แต่เป็นการชําระหนี้เป็นอย่างอื่น ตามมาตรา 321
ทำให้หนี้ระงับไปเช่นกัน

สัญญาแลกเปลี่ยน

สัญญาแลกเปลี่ยน คือ สัญญาระหว่างคู่สัญญา
2 ฝ่ าย ในการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดระหว่าง
กันเพื่ อให้เหมาะสมกับการดำเนิ นธุรกิจ โดยก่อให้
เ กิ ด ภ า ร ะ ผู ก พั น ที่ คู่ สั ญ ญ า จ ะ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ใ น ก า ร
ส่งมอบกระแสเงินสดระหว่างกัน ตามงวดที่
กำหนดตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนนี้
อาจเป็ นสินทรัพย์หรือหนี้ สินก็ได้ สัญญาแลก
เปลี่ยนเป็ นตราสารอนุพันธ์ที่เกิดขึ้ นหลังสุด
(ประมาณทศวรรษที่ 1970)

สัญญาแลกเปลี่ยน

เมื่ อเทียบกับตราสารสิทธิและสัญญาซื้อขายล่วง
หน้ าที่มีมานานแล้ว สัญญาแลกเปลี่ยนเกิดขึ้น
เนื่ องจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตรา
แลกเปลี่ยนมีความรุนแรงขึ้น อันเป็ นผลมาจากการ
เปิ ดเสรีทางการเงินที่ขยายวงกว้างออกไป เรื่ อยๆ
สัญญาแลกเปลี่ยนถือกำเนิดขึ้นเพื่ อช่วยจัดการความ
เสี่ยง ให้กระแสเงินสดจ่ายมีความเหมาะสมกับ
กระแสเงินสดรับ และสามารถลดความเสี่ยงลงได้

ข้อความเบื้องต้น

การแลกเปลี่ยนเกิดขึ้ นมานานแล้วในสังคม
มนุษย์ และอาจกล่าวได้ว่าเกิดขึ้ นก่อนที่มนุษย์จะ
รู้จักกราซื้ อขายด้วยซ้ำ การแลกเปลี่ยนจะเป็ นไป
ในลักษณะที่เรียกกันว่า " ยื่ นหมูยื่ นแมว "
เนื่ องจากต่างฝ่ ายต่างให้และยอมรับในเวลา
เดียวกัน ก่อนที่จะมีการจัดทำประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ขึ้ นมา จะถือว่าสัญญาแลก
เปลี่ยนเป็ นทรัพยสัญญาอย่างหนึ่ งอันเป็ นสัญญา
ที่จะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่ อคู่กรณีฝ่ ายหนึ่ งได้ส่งมอบ
ทรัพย์สินให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ ง หากไม่มีการ
ส่งมอบทรัพย์สินคู่กรณีอีกฝ่ ายก็ไม่มีผลผูกพันกัน
ใ น สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด

ข้อความเบื้องต้น

สัญญาแลกเปลี่ยนตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มีที่มาจากประมวลกฎหมาย
แพ่งฝรั่งเศส มาตรา 1702-1707 และประมวล
แพ่งเยอรมัน มาตรา 515
ประมวลแพ่งสวิส มาตรา 272-273 และ
ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น มาตรา 586

องค์ประกอบของสัญญาแลกเปลี่ยน

คู่สัญญา วัตถุประสงค์ เจตนา แบบ

องค์ประกอบของสัญญาแลกเปลี่ยน

ตามบทบัญญัติในมาตรา 518 บัญญัติได้ว่า “อันว่าแลก
เปลี่ยนนั้น คือสัญญาซึ่งคู่กรณีต่างโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สิน
ให้แก่กันและกัน” ดังนั้น สัญญาแลกเปลี่ยนในฐานะที่เป็ น
“สัญญา” จึงต้องมีองค์ประกอบทำนองเดียวกับสัญญาทั่วๆไป
เพียงแต่ในรายละเอียดอาจมีความแตกต่างกันบ้าง ดังนี้

คู่สัญญา

สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย คู่ สั ญ ญ า ตั้ง แ ต่ ส อ ง ฝ่ า ย ขึ้ น ไ ป เ ช่ น กั น แ ต่
โ ด ย ป ก ติ มั ก ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย บุ ค ค ล ส อ ง ฝ่ า ย ม า ก ก ว่ า แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย อ า จ เ ป็ น บุ ค ค ล
ธ ร ร ม ด า ห รื อ นิ ติ บุ ค ค ล ก็ ไ ด้ ถ้ า เ ป็ น นิ ติ บุ ค ค ล จ ะ ม า ทำ สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ไ ด้ ก า ร แ ล ก
เ ป ลี่ ย น นั้น ต้ อ ง อ ยู่ ภ า ย ใ น ก ร อ บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห รื อ ต ร า ส า ร จั ด ตั้ง ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล นั้น
ส่ ว น บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด า จ ะ ส า ม า ร ถ ทำ สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ไ ด้ จ ะ ต้ อ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์
ทั่ว ไ ป ใ น เ รื่ อ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง บุ ค ค ล เ พ ร า ะ เ ร า ไ ด้ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว ว่ า สั ญ ญ า แ ล ก
เ ป ลี่ ย น นั้น เ ป็ น สั ญ ญ า ต่ า ง ต อ บ แ ท น จึ ง ไ ม่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ คู่ สั ญ ญ า ฝ่ า ย ใ ด ฝ่ า ย ห นึ่ ง ไ ด้ ท รั พ ย์ สิ น
ไ ป เ ป ล่ า ๆ ดั ง นั้น คู่ สั ญ ญ า ที่ จ ะ ม า ทำ สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ไ ด้ จึ ง ต้ อ ง เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม
ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ สิ ท ธิ ต า ม ก ฎ ห ม า ย เ ท่ า นั้น ก ล่ า ว คื อ ต้ อ ง ไ ม่ เ ป็ น ผู้ เ ย า ว์ ที่ ม า ทำ สั ญ ญ า
แ ล ก เ ป ลี่ ย น โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม ยิ น ย อ ม จ า ก ผู้ แ ท น โ ด ย ช อ บ ธ ร ร ม ต้ อ ง ไ ม่ ใ ช่ ค น ที่ ถู ก
ศ า ล สั่ง ใ ห้ เ ป็ น ค น ไ ร้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ต้ อ ง ไ ม่ ใ ช่ ค น ที่ ถู ก ศ า ล สั่ง ใ ห้ เ ป็ น ค น เ ส ท อ น ไ ร้ ค ว า ม
ส า ม า ร ถ ห รื อ ต้ อ ง ไ ม่ เ ป็ น ค น วิ ก ล จ ริ ต ที่ ทำ สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ใ น ข ณ ะ ที่ จ ริ ต วิ ก ล แ ล ะ คู่
ก ร ณี อี ก ฝ่ า ย ห นึ่ ง รู้

คู่สัญญา

สาระสำคัญ

เ นื่ อ ง จ า ก สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี
ก า ร โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธิ์ใ น ท รั พ ย์ สิ น ที่ ม า แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั น
คู่ สั ญ ญ า ที่ จ ะ ม า ทำ สั ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ไ ด้ จึ ง ต้ อ ง เ ป็ น
“ เ จ้ า ข อ ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์” ใ น ท รั พ ย์ สิ น ที่ จ ะ นำ ม า แ ล ก
เ ป ลี่ ย น เ พ ร า ะ ห า ก มิ ใ ช่ เ จ้ า ข อ ง ก า ร โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธิ์
ใ น ท รั พ ย์ สิ น ย่ อ ม ไ ม่ อ า จ ก ร ะ ทำ ไ ด้

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายของสัญญาแลก
เปลี่ยนนั้นอาจพิจารณาได้ทั้งในทางอัตวิสัย
และในทางภาวะวิสัยในทางอัตวิสัยนั้น
วัตถุประสงค์ของสัญญาแลกเปลี่ยนอาจจะเป็ น
อะไรก็ได้ที่สำคัญต้องเป็ นวัตถุประสงค์ที่มีร่วม
กันของคู่สัญญาในทางภาวะวิสัยนั้น
วัตถุประสงค์ ของสัญญาย่อมคงที่ไม่
เปลี่ยนแปลงนั่นก็คือการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินสิ่งหนึ่ งแลกกับการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินอีกสิ่งหนึ่งเป็ นการตอบแทน

เจตนา

ในการก่อให้เกิดสัญญาแลกเปลี่ยนนั้นจะต้องเกิดจาก
กระบวนการในการก่อเจตนาที่ครบถ้วน ตั้งแต่การมีสิ่งที่มา
กระตุ้นให้คิดที่จะทำสัญญาแลกเปลี่ยน การคิดว่าจะทำ
สัญญาแลกเปลี่ยนดีหรือไม่ กับใคร อย่างไร การตัดสินใจ
หรือการก่อเจตนาภายในที่จะทำสัญญาแลกเปลี่ยนและต้อง
เป็ นเจตนาที่ไม่วิปริตอีกด้วย และท้ายที่สุดการแสดงเจตนา
ออกมาตรงกับเจตนาภายในของทั้งสองฝ่ ายอันมีลักษณะ
ของคำเสนอสนองต้องตรงกัน จึงจะเกิดเป็ นสัญญาขึ้น

เเบบ

เนื่ องจากสัญญาแลกเปลี่ยนเป็ นสัญญาที่ก่อให้
เกิดผลเป็ นการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แม้โดย
หลักกฎหมายในเรื่ องแลกเปลี่ยนจะมิได้กำหนดแบบ
บังคับไว้โดยเฉพาะก็ตามคงเป็ นไปตามหลักทั่วไป
กล่าวคือโดยหลักเป็ นเรื่องเสรีภาพในเรื่องแบบที่คู่
สัญญาสามารถที่จะทำสัญญาแลกเปลี่ยนด้วยวิธีการ
อย่างใดๆก็ได้ แต่หากทรัพย์สินที่นำมาแลกเปลี่ยน
นั้นเป็ นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิด
พิเศษแล้ว การแลกเปลี่ยนนั้นก็จะต้องทำเป็ น
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้ าที่ด้วย
ตามบทบัญญัติในมาตรา 456

ข้อสังเกต

สำหรับ " แบบ " ของสัญญาแลกเปลี่ยนนั้น หากเป็ นการแลกเปลี่ยน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ได้บัญญัติ สังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่
เอาไว้โดยตรงจึงต้องนำเอาบทบัญญัติในเรื่ องแบบ 20,000 บาทจะต้องมีหลัก
ของสัญญาซื้อขายมาใช้บังคับโดยอนุโลม ดังนั้น ฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่ ง
หากเป็ นการทำสัญญาแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์ อย่างใดลงในลายมือชื่ อฝ่ ายที่
หรือ สังหาริมทรัพย์พิเศษอันต้องทำตามแบบ ต้องรับผิดเป็ นสำคัญหรือได้
มาตรา 456 แล้วนั้นก็จะต้องมีการจัดทำเป็ น วางประจำ หรือ ได้มีการ
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้ าที่ ชำระหนี้บางส่วนแล้ว จึง
กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีได้
พิเศษที่แลกเปลี่ยนกันนั้นจึงจะโอนไป หากทรัพย์สินแลกเปลี่ยนเป็ น
เพียงสังหาริมทรัพย์ธรรมดา
กรรมสิทธิ์ย่อมโอนไปยังอีก
ฝ่ ายทันทีที่ทำสัญญา

มาตรา 520 ถ้าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่ งในสัญญาแลกเปลี่ยนตกลงจะ
โอนเงินเพิ่มเข้ากับทรัพย์สินสิ่งอื่นให้แก่อีกฝ่ ายหนึ่ งไซร้ บททั้ง
หลายอันว่าด้วยราคาในลักษณะซื้อขายนั้น ให้ใช้ถึงเงินเช่นว่านั้น
ด้วย

ประเภทของสัญญาแลกเปลี่ยน
สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้

1. สัญญาสัญญาแลกเปลี่ยนที่ไม่มีการโอนเงินเพิ่ม
เข้ากับทรัพย์สินอื่นให้แก่อีกฝ่ าย

2. สัญญาสัญญาแลกเปลี่ยนที่มีการโอนเงินเพิ่มเข้า
กับทรัพย์สินอื่นให้แก่อีกฝ่ าย

สัญญาสัญญา เป็ นกรณีที่ทรัพย์สินที่มีการแลกเปลี่ยนกัน
แลกเปลี่ยนที่ นั้น อาจจะมีมูลค่าหรือความพอใจในคู่สัญญาที่
ไม่มีการโอน เท่าเทียมกัน จึงไม่จำเป็ นต้องมีการโอนเงิน
เงินเพิ่มเข้ากับ เพิ่มเข้ากับทรัพย์สินอื่ นให้แก่อีกฝ่ ายหนึ่ งแต่
ทรัพย์สินอื่นให้ อย่างใด
แก่อีกฝ่าย
0 1 234 567 8 9

สั ญ ญ า เป็ นกรณีที่ทรัพย์สินที่มีการแลกเปลี่ยน
สั ญ ญ า แ ล ก กันนั้น อาจจะมีมูลค่าหรือความพอใจในคู่
เ ป ลี่ ย น ที่ มี สัญญาที่แตกต่างกัน เพื่ อความจูงใจใน
ก า ร โ อ น เ งิ น การแลกเปลี่ยนจึงต้องมีการ โอนเงินเพิ่ม
เ พิ่ ม เ ข้ า กั บ เข้ากับทรัพย์สินอื่ นให้แก่อีกฝ่ ายหนึ่ งแต่
ท รั พ ย์ สิ น อื่ น อย่างใด
ใ ห้ แ ก่ อี ก ฝ่ า ย

บรรณานุกรม

https://www.stou.ac.th/Schools/Sec/Services/e-Learning3/03-02-05.html
คำ อ ธิ บ า ย ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ซื้ อ ข า ย แ ล ก เ ป ลี่ ย น ใ ห้ เ ช่ า ท รั พ ย์ เ ช่ า ซื้ อ
ผู้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ธี ร ยุ ท ธ ปั ก ษ า


สัญญาแลกเปลี่ยนมีกี่ลักษณะ

สัญญาแลกเปลี่ยนมี 2 ประเภท ได้แก่ 1. สัญญาแลกเปลี่ยนทรัพย์สินกับทรัพย์สินโดยไม่มีการเพิ่มเงินให้แก่อีกฝ่ายหนึ่ง โดยทรัพย์สินที่แลกเปลี่ยนกันนั้นจะเป็นชิ้นเดียวหรือหลายชิ้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น แลกรถยนต์กับเรือ

ลักษณะของสัญญาสวอป คืออะไร

สัญญาสวอป (Swap) เป็นข้อตกลงระหว่าง 2 ฝ่ายในการแลกเปลี่ยนกระแส เงินสดที่จะได้รับในอนาคต ที่มีการอ้างอิงจากปัจจัยอื่น เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาหุ้นสามัญ หรือราคาสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นต้น โดยการชำระเงินของสวอปที่อ้างอิง จากอัตราดอกเบี้ยนั้นจะเป็นการสัญญาที่จะแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดกัน โดยฝ่ายหนึ่ง

สัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาซื้อขายเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

เปรียบเทียบสัญญาซื้อขายกับสัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาซึ่งผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อ โดยผู้ซื้อ ตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย (มาตรา 453) ส่วนสัญญาแลกเปลี่ยนคือ สัญญาซึ่ง คู่กรณีต่างโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์ให้กันและกัน (มาตรา 518) ส่วนที่ 4 เปรียบเทียบสัญญาซื้อขายกับสัญญาอื่น ๆ

ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ คืออะไร

1. เป็นสัญญาต่างตอบแทนที่ต้องมีคู่สัญญาสองฝ่าย คือ ผู้ซื้อกับผู้ขาย ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ตอบแทนจากกันและกัน โดยผู้ขายได้รับชำระราคา และผู้ซื้อได้รับสินทรัพย์ไป