ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

1. ข้อใดเรียงลำดับหลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง 1. วางแผนแก้ปัญหา-พิจารณาปัญหา-แก้ปัญหา-ตรวจสอบและปรับปรุง 2. พิจารณาปัญหา-วางแผนแก้ปัญหา-แก้ปัญหา-ตรวจสอบและปรับปรุง 3. ตรวจสอบและปรับปรุง-พิจารณาปัญหา-วางแผนแก้ปัญหา-แก้ปัญหา 4. วางแผนแก้ปัญหา-พิจารณาปัญหา-ตรวจสอบและปรับปรุง-แก้ปัญหา 2. ข้อใดกล่าวถึง การวิเคราะห์ปัญหา ได้ถูกต้อง 1. ลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ เพื่อนำมาปฏิบัติ 2. คาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา เริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาตามความเหมาะสม 3. ทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหา 4. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา 3. อุปกรณ์ชนิดใดที่สามารถ บันทึกข้อมูล ได้มากที่สุด 1. CD-ROM 2. DVD 3. Blu-ray Disc 4. VCD 4. Search Engine คืออะไร 1. เครื่องมือที่ใช้การค้นหาข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถใช้งานได้ 3. ฐานข้อมูลเพื่อการค้าที่ผู้ใช้จะต้องจ่ายเงินซื้อเพื่อเข้าถึงข้อมูลนั้นๆ 4. ฐานข้อมูลพื้นฐานที่ห้องสมุดจัดทำขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้ใช้ ในการใช้ ทรัพยากรสารนิเทศนั้นๆ 5. โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013 เหมาะสำหรับในการจัดทำเอกสาร ประเภทใด 1.   งานด้านกราฟิก 2.  การทำตารางคำนวณ 3.   การทำเอกสารใบความรู้และใบงาน 4.   งานนำเสนอข้อมูล

6. พื้นที่การทำงานของ Microsoft PowerPoint 2013 เรียกว่าอะไร

1. เดสก์ท็อป 2. หน้าจอ 3. การนำเสนองาน 4. พื้นที่สไลด์ 7.    
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
      จากภาพเป็นคำสั่งที่ใช้ทำสิ่งใด 1. ชมการนำเสนอ 2. การเชื่อมโยงหลายมิติ 3. แทรกสไลด์ 4. แสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ 8. โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013 มีนามสกุลไฟล์ตรงกับข้อใด 1. .ppt 2. .exe 3. .doc 4. .pptx 9. ถ้าต้องการจัดรูปแบบให้กับข้อความในสไลด์ จะต้องคลิกเลือกแท็บ Ribbon ใด 1. หน้าแรก 2. ออกแบบ 3. ภาพเคลื่อนไหว 4. การนำเสนอภาพนิ่ง 10. ถ้าต้องการให้แสดงไม้บรรทัด นักเรียนต้องทำตามขั้นตอนใดต่อไปนี้ 1. หน้าแรก > ไม้บรรทัด 2. แทรก > ไม้บรรทัด 3. มุมมอง > ไม้บรรทัด 4. ตรวจทาน > ไม้บรรทัด 11. ถ้าต้องการนำไฟล์ภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาแทรกใน slide จำนวน 1 รูป ต้องเลือกคำสั่งใด 1. 2. 3. 4. 12. ข้อใดคือคำสั่งที่ใช้ในการใส่ลูกเล่นและเอฟเฟ็กต์ให้กับสไลด์ 1. การเปลี่ยน 2. ออกแบบ 3. ภาพเคลื่อนไหว 4. การนำเสนอสไลด์ 13.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
จากภาพจัดได้ว่าอยู่ในกลุ่มคำสั่งใด 1. กลุ่มคำสั่ง การเปลี่ยน 2. กลุ่มคำสั่ง ภาพประกอบ 3. กลุ่มคำสั่ง ออกแบบ 4. กลุ่มคำสั่ง ชุดรูปแบบ 14.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
Hyperlink ทำหน้าที่อะไร 1. เป็นการกำหนดให้ส่วนหนึ่งของรูปภาพหรือข้อความ เป็นจุดเชื่อมโยงไปยังเอกสารอื่นๆ 2. ส่วนหนึ่งของต้นแบบภาพนิ่ง (Template) โดยมีหน้าที่เก็บข้อมูลมาตรฐานของโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013 3. เป็นคำสั่งใหม่ที่มีความสามารถในการสร้างงานที่มีลักษณะของผังองค์กร ไดอะแกรม วงกลม พีระมิด เป็นต้น 4. คือตัวกำหนดรูปแบบ Keyword เพื่อการค้นหาสไลด์ในไฟล์ Microsoft PowerPoint เป็นไปได้ โดยง่าย 15.แถบเครื่องมือในส่วนนี้ มีชื่อเรียกว่าอะไร 1. Quick Access 2. My templates 3. Ribbon 4. Tool bar 16.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
แถบเครื่องมือในส่วนนี้ อยู่ในกลุ่มคำสั่งใด 1. กลุ่มคำสั่ง มุมมองการนำเสนอ 2. กลุ่มคำสั่ง การเชื่อมโยง 3. กลุ่มคำสั่ง ข้อความ 4. กลุ่มคำสั่ง ภาพประกอบ 17. ข้อมูลที่นำเสนอด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013 ควรมีลักษณะอย่างไร 1. ไม่ควรเป็นข้อมูลภาพ 2. ละเอียดและมีปริมาณมาก 3. สั้น เข้าใจง่าย และน่าสนใจ 4. น่าเชื่อถือและเลือกใช้ศัพท์เทคนิคมากๆ 18. เครื่องมือใดที่มีความสามารถในการสร้างงานที่มีลักษณะของผังองค์กร 1.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
2.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
3.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
4.
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

19.

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
จากภาพ เครื่องมือชนิดนี้มีชื่อเรียกว่าอะไร

1. แผนภูมิ (Chart) 2. แผนผังองค์กร (SmartArt) 3. การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) 4. แม่แบบตัวอย่าง (Sample templates)

20. ข้อใดไม่ใช่ความสามารถของโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013

1. นำเสนองานทีละตัวอักษร 2. ตกแต่งภาพให้ดูสมจริง 3. ข้ามไปนำเสนองานในจุดใดก่อนก็ได้ 4. นำเสนอข้อมูลตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง

การนำเสนองานนั้นมี 2 แบบด้วยกันคือ การนำเสนองานโดยเริ่มจากสไลด์แผ่นแรก และ การนำเสนองานโดยเริ่มจากสไลด์แผ่นแรกที่ถูกเลือก ซึ่งทั้ง 2 แบบสามารถทำได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้

การนำเสนองานโดยเริ่มจากสไลด์แผ่นแรก

•  คลิกเลือกเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง ชมการนำเสนอ

•  คลิกเลือกเมนู ภาพตัวอย่าง ? เลือกคำสั่ง การนำเสนอภาพนิ่ง

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

•  การใช้คำสั่งควบคุมการนำเสนอ

ในการนำเสนองานที่ดีนั้น ผู้นำเสนอต้องใช้เครื่องมือหรือคำสั่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมงานนำเสนอได้ จึงจะทำให้งานนำเสนอนั้นสามารถดำเนินไปได้อย่างราบรื่น และหากเกิดปัญหาขึ้นระหว่างการนำเสนอจะได้แก้ปัญหาได้ ซึ่งวิธีการควบคุมการนำเสนอสามารถทำได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้

วิธีที่ 1

•  คลิกขวา

•  เลือกคำสั่งที่ต้องการ

วิธีที่ 2

•  คลิกปุ่มเมนูคำสั่ง (มุมล่างด้านซ้าย)

•  เลือกคำสั่งที่ต้องการ

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

การนำเสนองาน 

คำสั่งในการควบคุมงานนำเสนอ

•  Next : การเลื่อนไปยังสไลด์แผ่นถัดไป

•  Previous : การเลื่อนกลับไปยังสไลด์แผ่นที่ผ่านมา

•  Last Viewed : การเลื่อนไปยังสไลด์แผ่นสุดท้ายที่เคยนำเสนอ

•  Go to Slide : การเลือกชื่อสไลด์แผ่นที่ต้องการนำเสนอ

•  Custom Show : เลือกชื่อสไลด์ตามที่ต้องการนำเสนอ

•  Screen

•  Black Screen : ใช้กำหนดให้สกรีนเป็นสีดำ

•  White Screen : ใช้กำหนดให้สกรีนเป็นสีขาว

•  Show/Hide Ink Markup : ใช้กำหนดให้แสดง/ซ่อนสิ่งที่กระทำลงบนสไลด์

•  Speaker Notes : ใช้แสดงข้อความใน Note Pane / เพิ่มข้อความลงใน Note Pane

•  Switch Program : ใช้แสดงการทำงานของโปรแกรมอื่น

•  Pointer Option

•  Arrow : กำหนดให้สัญลักษณ์ของตัวชี้เมาส์เป็นลูกศร

•  Ballpoint Pen : ปากกาหัวกลมสำหรับเขียนข้อความ

•  Felt Tip Pen : ปากกาหัวตัดสำหรับเขียนข้อความ

•  Highlighter : ปากกาสำหรับเน้นข้อความ

•  Ink Color : การกำหนดสีให้ตัวชี้เมาส์ที่เป็นรูปปากกา

•  Eraser : ใช้ลบเส้นที่ขีดเขียนระหว่างการแสดงสไลด์ทีละเส้น

•  Eraser All Ink on Slide : ใช้ลบเส้นที่ขีดเขียนระหว่างการแสดงสไลด์ทั้งหมดทุกเส้น

•  Arrow Option

Automatic: กำหนดสัญลักษณ์ของตัวชี้เมาส์ให้เป็นรูปแบบอัตโนมัติคือเป็นหัวลูกศร

Visible : กำหนดให้แสดงสัญลักษณ์ตัวชี้เมาส์

Hidden : ทำการซ่อน (ไม่แสดง) สัญลักษณ์ของตัวชี้เมาส์

•  Help : แสดงระบบช่วยเหลือของคำสั่งการควบคุมระหว่างการแสดงสไลด์

•  Pause : ให้หยุดการนำเสนอชั่วคราว

•  End Show : ให้หยุดการนำเสนอสไลด์

•  กำหนดการเปลี่ยนแผ่นสไลด์

เมื่อผู้ใช้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำสั่งในการควบคุมการนำเสนองานไป แล้ว หากสังเกตจะเห็นว่าลักษณะของการเปลี่ยนแผ่นสไลด์จะเป็นแบบหายไปเฉย ๆ ไม่มีลูกเล่นใด ๆ เลย ซึ่งการเปลี่ยนหน้าสไลด์แบบนี้ ผู้ฟังอาจไม่ทราบด้วยซ้ำว่าได้มีการเปลี่ยนหน้าใหม่แล้ว เพื่อดึงความสนใจของผู้ฟังให้กลับมา เราสามารถใส่ลูกเล่นหรือเอฟเฟ็กต์ในการเปลี่ยนหน้าสไลด์ได้ดังขั้นตอนต่อไป นี้

•  เลือกสไลด์ แล้วคลิกที่เมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง การเปลี่ยนภาพนิ่ง

•  เลือกเอฟเฟ็กต์

•  กำหนดความเร็วของเอฟเฟ็กต์

•  Slow : ช้า

•  Medium : ปานกลาง

•  Fast : เร็ว

•  กำหนดเสียง

•  กำหนดรูปแบบการเปลี่ยนหน้าสไลด์

•  On mouse click : เปลี่ยนหน้าสไลด์เมื่อคลิกเมาส์

•  Automatically after : เปลี่ยนหน้าสไลด์อัตโนมัติตามเวลาที่ตั้งไว้

•  คลิกปุ่ม เล่น เพื่อแสดงตัวอย่าง

•  คลิกปุ่ม การนำเสนอภาพนิ่ง เพื่อแสดงงานนำเสนอแบบเต็มจอ

•  คลิกปุ่ม การจัดลำดับใหม่ (เพื่อนำเอฟเฟ็กต์นี้ไปใช้กับทุกสไลด์)

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

•  การกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับข้อความหรือวัตถุ

เพื่อความน่าสนใจของงานนำเสนอ นอกจากการกำหนดการเปลี่ยนแผ่นสไลด์แล้ว ผู้ใช้สามารถกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับข้อความและวัตถุได้อีกด้วย

การกำหนดเอฟเฟ็กต์ด้วยตนเอง

•  คลิกเลือกวัตถุหรือกล่องข้อความ แล้วคลิกที่เมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง การเคลื่อนไหวแบบกำหนดเอง

•  คลิกปุ่ม เพิ่มลักษณะพิเศษ

•  เลือกรูปแบบของเอฟเฟ็กต์

•  Entrance : กำหนดเอฟเฟ็กต์การเข้ามาของข้อความและวัตถุในสไลด์

•  Emphasis : กำหนดเอฟเฟ็กต์การเน้นข้อความและวัตถุ

•  Exit : กำหนดเอฟเฟ็กต์การออกหรือหายไปจากสไลด์ของข้อความและวัตถุ

•  Motion Paths : กำหนดเอฟเฟ็กต์การเคลื่อนที่ของข้อความและวัตถุตามเส้น

•  กำหนดรูปแบบการเคลื่อนที่ของข้อความหรือวัตถุ

•  On Click : แสดงเอฟเฟ็กต์เมื่อคลิกเมาส์

•  With Previous : แสดงเอฟเฟ็กต์พร้อมกับข้อความหรือวัตถุก่อนหน้า

•  After Previous : แสดงเอฟเฟ็กต์เมื่อข้อความหรือวัตถุก่อนหน้าแสดงเสร็จ

•  กำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของข้อความหรือวัตถุ (มีเฉพาะบางเอฟเฟ็กต์เท่านั้น)

•  กำหนดความเร็วในการแสดงเอฟเฟ็กต์ของข้อความหรือวัตถุ

•  Very Slow : ช้ามาก

•  Slow : ช้า

•  Medium : ปานกลาง

•  Fast : เร็ว

•  Very Fast : เร็วมาก

•  กำหนดลำดับการเคลื่อนที่ของวัตถุ

•  เลือกข้อความหรือวัตถุ

•  เลือกคำสั่ง Re-Order

•  คลิกปุ่ม เล่น เพื่อดูตัวอย่าง

•  คลิกปุ่ม Removeเพื่อยกเลิกเอฟเฟ็กต์ที่ไม่ต้องการออก

•  คลิกปุ่ม การนำเสนอภาพนิ่ง เพื่อแสดงงานนำเสนอแบบเต็มจอ

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

การกำหนดเอฟเฟ็กต์จากคำสั่งสำเร็จรูป

•  คลิกเลือกวัตถุหรือกล่องข้อความ ? เลือกเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง โครงร่างการเคลื่อนไหว

•  เลือกเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการ

 

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

เพิ่ม

•  หากต้องการกำหนดให้แสดงตัวอย่างทุกครั้งเมื่อเลือกเอฟเฟ็กต์ให้คลิกที่

•  ข้อความหรือวัตถุ 1 ชิ้น สามารถกำหนดเอฟเฟ็กต์ได้มากกว่า 1 เอฟเฟ็กต์

•  ปุ่ม การเพิ่มลักษณะพิเศษ จะเปลี่ยนเป็น การเปลี่ยนลักษณะพิเศษ เมื่อนำเมาส์ไปคลิกวัตถุหรือข้อความที่กำหนดเอฟเฟ็กต์แล้ว

การกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับกราฟ

จากหัวข้อที่ผ่านมา จะเห็นว่าวัตถุและข้อความที่ถูกกำหนดเอฟเฟ็กต์เป็นวัตถุชิ้นเดียวทั้งหมด แต่ในหัวข้อนี้เป็นการกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับกราฟ ซึ่งเราสามารถกำหนดเอฟเฟ็กต์ได้เช่นเดียวกับวัตถุและข้อความ คือกำหนดแบบวัตถุชิ้นเดียว ซึ่งที่จริงแล้วการกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับกราฟนั้นสามารถใส่ลูกเล่นลงไปได้ หลากหลาย เช่น กำหนดให้กราฟแสดงครั้งละแท่ง แสดงครั้งละกลุ่มข้อมูลหรือแม้แต่แสดงข้อมูลแต่ละประเภทแบบหลาย ๆ กลุ่มข้อมูล ก็สามารถทำได้ดังนี้

•  คลิกที่รูปกราฟ แล้วเลือกเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง การเคลื่อนไหวแบบกำหนดเอง

•  คลิกปุ่ม เพิ่มลักษณะพิเศษ เลือกเอฟเฟ็กต์

•  คลิกที่ชื่อเอฟเฟ็กต์

•  เลือกคำสั่ง ตัวเลือกอักษระพิเศษ

•  คลิกแท็บ Chart Animation สามารถเลือกลูกเล่นที่ต้องการ

• จากนั้นคลิกปุ่ม

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

เพิ่ม 

การกำหนดเอฟเฟ็กต์ให้กับไดอะแกรมก็ทำเช่นเดียวกับกราฟ เพียงแต่แท็บ Chart Animation จะเปลี่ยนเป็นแท็บ Diagram Animation 

•  การจับเวลานำเสนอ

ในการนำเสนองานนั้น บางครั้งได้มีการกำหนดช่วงเวลาในการนำเสนอเอาไว้ ซึ่งผู้บรรยายต้องทำการบรรยายให้พอดีกับเวลาที่ได้กำหนดไว้ แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่างานนำเสนอที่สร้างขึ้นต้องใช้เวลาในการนำเสนอ เท่าไหร่จึงจะเหมาะสมกับเวลาที่กำหนดไว้ ซึ่งการจับเวลาในการนำเสนอนั้นสามารถทำได้ดังนี้

1. เลือกเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง ทดสอบการกำหนดเวลา

2. เริ่มการบรรยาย

•  คลิกปุ่ม Nextเพื่อไปบรรยายหน้าต่อไป

•  คลิกปุ่ม Pauseเพื่อหยุดบรรยายชั่วคราว หรือคลิกเพื่อเริ่มบรรยายต่อ

•  คลิกปุ่ม Repeatเพื่อเริ่มจับเวลาใหม่

•  ดูเวลาที่ใช้ในการบรรยายของแต่ละหน้า

•  ดูเวลารวมของการบรรยายทั้งหมด

                 

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

•  การอัดเสียงพูดประกอบคำบรรยาย

งานนำเสนอบางงานไม่จำเป็นต้องมีผู้บรรยาย หรือผู้บรรยายไม่สามารถบรรยายในขณะที่นำเสนองานนั้นได้ เช่น การนำเสนองานในอินเทอร์เน็ต หรือการนำเสนองานแบบอัตโนมัติที่มีคอมพิวเตอร์ตั้งไว้หน้างาน สำหรับงานนำเสนอลักษณะดังกล่าวข้างต้นนั้น สามารถอัดเสียงแทนการบรรยายจริงได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้

•  เลือกเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง Record Narration

•  ตรวจสอบรายละเอียด

•  บันทึกได้กี่นาที

•  เนื้อที่ในดิสก์พอหรือไม่

•  คลิกปุ่ม Set Microphone Level

•  ทดลองพูด ถ้าสัญญาณวิ่งไปมาแสดงว่าไมค์ใช้ได้

• คลิกปุ่ม

•  คลิกปุ่ม Change Quality เพื่อเปลี่ยนคุณภาพของเสียง

• เลือกคุณภาพของเสียงที่ต้องการ แล้วจึงคลิกปุ่ม

•  CD Quality : คุณภาพเสียงระดับเดียวกับเสียงในแผ่น CD

•  Radio Quality : คุณภาพเสียงระดับเดียวกับวิทยุ

•  Telephone Quality : คุณภาพเสียงระดับเดียวกับโทรศัพท์

•  คลิกปุ่ม

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

p แสดงการอัดเสียงพูดประกอบคำบรรยาย

•  บรรยาย (คลิกเมาส์เมื่อต้องการไปบรรยายหน้าต่อไป)

•  คลิกเมาส์เมื่อบรรยายจบ จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ขึ้นมาถามว่า ต้องการบันทึก (Save) เสียงที่พูดหรือไม่

•  คลิกปุ่ม Save ถ้าต้องการบันทึก

•  คลิกปุ่ม Don't Save ถ้าไม่ต้องการบันทึก

•  การดึงสไลด์จากไฟล์อื่น

สำหรับผู้ใช้ท่านใดที่มีงานนำเสนอเก่าเก็บไว้ และได้มีการสร้างงานนำเสนอใหม่ที่มีเนื้อหาตรงกับงานนำเสนอเก่า ก็สามารถดึงมารวมกับงานนำเสนอใหม่ได้เลย โดยที่อาจจะเลือกมาบางส่วนหรือนำมาทั้งหมดเลย แต่ก่อนอื่นต้องสร้างงานนำเสนอใหม่ขึ้นมาก่อน หรือเปิดงานนำเสนอเก่าขึ้นมาก็ได้ แล้วต่อด้วยขั้นตอนต่อไปนี้

•  เลือกเมนู แทรก ? เลือกคำสั่ง ภาพจากแฟ้ม

•  คลิกปุ่ม เรียกดู เพื่อเปิดไฟล์ที่ต้องการดึงสไลด์

•  คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการ

•  คลิกปุ่ม แทรก

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด

•  การสร้างสไลด์แบบ Custom Shows (สำหรับกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน)

สำหรับผู้ฟังที่เป็นนักบรรยายมืออาชีพที่ต้องไปทำการบรรยายหลากหลา สถานที่ หลากหลายกลุ่มผู้ฟัง และในบางครั้งในสถานที่ที่แตกต่าง กลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน ช่วงเวลาที่แตกต่างกัน แต่ต้องบรรยายเรื่องเดียวกันนั้น แสดงว่าผู้บรรยายต้องสร้างงานนำเสนอมากกว่า 1 ชุดแน่นอน เพื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟังและเวลาที่ถูกกำหนดไว้ แต่ความจริงแล้วเราสามารถใช้สไลด์ชุดเดียวกันได้ โดยทำการสร้างสไลด์ชุดพิเศษขึ้นมาจากสไลด์เดิมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งสไลด์ชุดพิเศษนี้จะถูกสร้างในลักษณะของการดึงสไลด์บางสไลด์มา โดยที่ผู้บรรยายไม่ต้องสร้างงานนำเสนอขึ้นมาใหม่ และสไลด์ชุดพิเศษนั้นสามารถสร้างได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้

•  เลือกเมนู การสร้างภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง การกำหนดเอง

•  คลิกปุ่ม ใหม่

•  ตั้งชื่อสไลด์

•  เลือกสไลด์หน้าที่ต้องการ

•  คลิกปุ่ม เพิ่ม

•  คลิกปุ่ม

•  วิธีการนำเสนอสไลด์แบบ กำหนดเอง

จากหัวข้อก่อนหน้านี้เราได้ทำการสร้างสไลด์แบบกำหนดเองไว้แล้วในหัวข้อนี้เราจะศึกษาถึงวิธีการนำสไลด์แบบ กำหนดเองออกมานำเสนอ

•  เลือกเมนู การสร้างภาพนิ่ง ? เลือกคำสั่ง การกำหนดเอง

•  คลิกเลือกชื่องานนำเสนอที่ต้องการ

•  คลิกปุ่ม แสดง

ถ้าต้องการนำเสนอสไลด์ให้เลือกที่แท็บใด
 

10.  การสร้างปุ่มปฏิบัติการ

นอกจากการเชื่อมโยงงานนำเสนอโดยใช้คำสั่งควบคุมงานนำเสนอแล้ว เรายังสามารถเชื่อมโยงงานนำเสนอระหว่างสไลด์ต่าง ๆ ได้ด้วยการใช้ปุ่มปฏิบัติการ (Action Button) โดยเราสามารถสั่งให้เชื่อมโยงไปยังสไลด์ใดก็ได้ นอกจากจะสามารถเชื่อมโยงไปยังสไลด์อื่นได้แล้วปุ่มปฏิบัติการจะมีสัญลักษณ์ ที่แตกต่างกันออกไป และเราสามารถนำมาใช้งานได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้