เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง

ฉากวัดเป็นเครื่องมือวัดชิ้นหลักที่ใช้ ในงานช่าง ใช้วัดหาความยาว มุมฉาก หรือ ความลาดเอียง นอกจากนี้ ยังใช้วัดเส้น ผ่านศูนย์กลางของแท่งไม้กลมได้อีกด้วย การใช้เหล็กฉากให้มีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยทั้งความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ เช่น การหาปริมาตรไม้ หรือความลาดเอียง ของปากไม้ สําหรับมือใหม่อาจยังไม่จําเป็น ถึงขั้นนั้นเพราะสิ่งประดิษฐ์ในเล่มนี้ยังเป็น ระดับพื้นฐาน จึงใช้ไม้ฉากเพื่อหามุมฉาก หรือลากเส้นขนานเท่านั้น ถ้ามีก็จะช่วยให้ ทํางานสะดวกขึ้น ถ้าคุณอยากหาซื้อไว้ควรเลือกชนิด ที่มีตารางบอกระยะเป็นหน่วยเซนติเมตร ผู้เริ่มใช้งานจะใช้ได้ง่าย

เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง
ตลับเมตร

การใช้ ฉากวัด

  • ลากเส้นตรง หลักการใช้พื้นฐานโดยที่ คือใช้ลากเส้นตรง และเวลาลากมุมฉาก ให้ใช้ด้านยาวของฉาก (ใบฉาก) ทาบกับ ปลายไม้หรือมุมไม้แล้วจึงลากเส้น ก็จะได้ มุมฉากของชิ้นงานนั้น
  • ลากเส้นขนาน วางด้ามฉากทาบกับขอบ ไม้และลากเส้น ก่อนจะเลื่อนฉากไปยังอีก จุดที่ต้องการ ก็จะลากเส้นขนานได้
  • วัดมุมฉาก เพียงนําไม้ฉากวางทาบกับมุม ของไม้ที่จะวัดหาค่าฉากได้
  • วัดแบ่งความยาว ให้ทาบฉากที่มุมข้าง หนึ่งของแผ่นไม้ที่ต้องการแบ่งส่วน กําหนด จุดวัดตามช่องของหน่วยวัด จะทําให้วัด แบ่งส่วนได้ง่ายขึ้น โดยกําหนดช่วงให้เท่ากับ จํานวนที่ต้องการแบ่ง

เครื่องมือวัด เป็น เครื่องมือช่าง ชนิดหนึ่งเพื่อใช้ในการบันทึกค่า

เครื่องมือวัด อื่นๆ

  • ตลับเมตร ใช้วัดเมื่อต้องการจะตัดวัสดุ ประเภทไม้ที่มีขนาดยาว ตลับเมตรสําหรับ ใช้กับชิ้นงานในหนังสือเล่มนี้ควรมีความ ยาวประมาณ 3-5 เมตร จึงจะใช้งานง่าย และควรเลือกชนิดที่มีตัวล็อกความยาวด้วย
  • ฉากตาย ด้ามฉากหนา นํามาทาบวัด กับวัสดุได้ง่าย ใช้ตรวจหาค่าฉากและ ความเรียบได้อย่างเที่ยงตรง ถ้ามีเตรียมไว้ สําหรับประดิษฐ์ชิ้นงานในเล่มนี้ด้วยก็จะดี
  • ไม้บรรทัด ใช้ลากเส้นตรงยาว หรือใช้ทาบ เมื่อใช้คัตเตอร์ตัด มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร ควรเลือกชนิดที่ทําจากโลหะเช่น อะลูมิเนียม หรือสแตนเลส
  • เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ใช้วัดเส้นผ่านศูนย์กลาง เส้นรอบวงรัศมี ความลึกของรู หรือหา ขนาดแท่งไม้กลม ไม่ใช่เครื่องมือที่จําเป็น มากนัก แต่ถ้าจะหาใช้ให้เลือกชนิดที่ตั้งค่า หน่วยวัดได้
    เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง
    เวอร์เนียร์คาลิเปอร์

อุปกรณ์ที่ใช้วัดแทน เครื่องมือวัด

  • ขอขีด เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดลงบนไม้ ลาก ไปตามแนวขนานขอบไม้ เพื่อแบ่งไม้ให้ตรง ตามแนวขนานสําหรับเลื่อยหรือตัด มีใบมีด สําหรับขีดให้เป็นรอยที่ส่วนปลายในขณะที่ มาจากเครื่องมือเป็นเรื่อยๆ ใช้ขีดเส้นโค้งก็ได้
  • เชือกตีแนวผงชอล์กสี มักเห็นช่างไม้ใช้ กันทั่วไป มีผงชอล์กสีติดอยู่ที่ตัวเชือก เมื่อดีดเชือกลงบนเนื้อไม้ก็จะเกิดรอยเป็นแนว สําหรับเลื่อย อุปกรณ์นี้ไม่จําเป็นนัก
  • โปรแทรกเตอร์ ใช้วัดลากเส้นทํามุม สําหรับงานประดิษฐ์ในเล่มนี้ ถ้ามีเครื่องมือ ๆ ชนิดนี้ก็จะช่วยให้สะดวกมากขึ้น
  • ระดับน้ํา เป็นเครื่องมือสําหรับวัดระนาบทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง แท่นวัดจะมีส่วนที่ เป็นแก้วบรรจุของเหลวและมีฟองอากาศ อยู่ภายในใช้แสดงค่าวัด มีประโยชน์กับงานประกอบมาก เช่น งานประกอบโต๊ะ เป็นต้น ราคาไม่แพงนัก อาจเตรียมไว้เพื่ออํานวย ความสะดวกก็ได้

    โรงงานอุตสาหกรรมกับเครื่องมือวัด นับว่าเป็นของคู่กันเลยก็ว่าได้ เพราะขั้นตอนการผลิตชิ้นงานในอุตสาหกรรมต้องใช้ความละเอียด เพื่อให้ได้ค่าที่เป็นมาตรฐาน เครื่องมือวัดหลักๆ ใช้ในการวัดเพื่อให้ทราบระยะห่าง ความกว้าง ความยาว ความสูง และความลึก หรือขนาดในการกำหนดตำแหน่ง และเครื่องมือวัดพื้นฐานที่อุตสาหกรรมไหน ๆ ต้องมี คือ

    1. เวอร์เนีย คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper)
      เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง

      เวอร์เนียร์ เครื่องมือวัดพื้นฐานที่ใช้ในการวัดระยะห่างด้านที่อยู่ตรงข้ามกัน สามารถวัดได้ทั้งวัตถุที่เป็นทรงตรงและทรงกระบอก หาค่าได้ทั้งความหนาบาง ความลึก ความกว้างภายนอก อีกทั้งสามารถใช้วัดขนาดความกว้างภายในของวัตถุได้ด้วย
    2. ไมโครมิเตอร์ (Micrometer)
      เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง

      ไมโครมิเตอร์ หรือไมโครมิเตอร์สกรูเกจ เป็นเครื่องมือวัดละเอียดชนิดหนึ่งนิยมใช้ในการวัดความกว้างยาวหรือหนาของวัตถุที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียด ไมโครมิเตอร์มีหลายลักษณะตามแต่ความต้องการใช้วัดของผู้ใช้งาน โดยมากมักเป็นปากกา หนีบวัตถุ มีสกรูขันที่ปรับตั้งความกว้าง นอกจากนี้ยังมีไมโครมิเตอร์ภายใน และสามารถวัดความลึก
    3. ไฮเกจ (Height Gauge)
      เครื่องมือวัดมี 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง

      ไฮเกจ เป็นเครื่องมือวัดขนาดความสูงสำหรับงานโมเดลหรืองานร่างแบบ โดยที่ผู้ทำการวัดสามารถขีดรอยกำหนดระยะ ขนาด หรือความสูงบนผิวงาน ในปัจจุบันไดอัลเกจได้รับการจำแนกออกเป็น 2 ชนิด ตามหลักการทำงาน ได้แก่ ไดอัลเกจระบบสเกลอนาล็อก และไดอัลเกจระบบดิจิทัล (Digimatic Indicator)


    และนี่เป็นเพียงตัวอย่างเครื่องมือวัดละเอียดอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญกับโรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งด้วยกัน ทั้งเป็นกำลังสำคัญในการสร้างชิ้นงานให้ได้คุณภาพตรงตามมาตรฐาน

    เครื่องมือวัด (Measuring Tool) คือ เครื่องมือสำหรับใช้ในการวัดเพื่อบ่งชี้บอกระยะหรือขนาดในการกำหนดตำแหน่ง ตรวจสอบระยะหรือขนาดความกว้าง ความยาว ความสูงหรือความหนาของวัสดุชิ้นงาน ฯลฯ เครื่องมือวัดมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่างที่แตกต่างกันตามประโยชน์ใช้งาน

    1. ฟุตเหล็ก หรือบรรทัดเหล็ก (Stainless Steel Ruler) ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม ทนต่อการสึกหรอ และคราบน้ำมัน ใช้วัดขนาดที่ไม่ต้องการความละเอียดมากนัก

    2. เวอร์เนียคาลิเปอร์( Vernier Caliper) ใช้วัดงานละเอียดได้ถึง 0.01 ม.ม. หรือ 0.001 นิ้ว วัดได้ทั้ง วัดนอก วัดใน และวัดความลึก ระยะกว้างสุดวัดได้ถึง 6 นิ้ว หรือ 120 ม.ม.

    3. ไมโครมิเตอร์คาลิเปอร์ (Micrometer Caliper) วัดได้ละเอียดกว่าเวอร์เนีย ฯ ใช้หลักการเคลื่อนที่ของเกลียวในการวัดระยะ เมื่อหมุนไมโคร ฯ 1 รอบ จะได้ระยะเคลื่อนที่เท่ากับระยะ พิช (Pitch) ของเกลียว

    4.ฟีลเลอร์เกจ (Feeler gauge) ใช้สำหรับการตั้งระยะห่างของวาล์วไอดี และวาล์วไอเสียเพื่อการปรับแต่งเครื่องยนต์

    5. บรรทัดฉาก (เหล็ก) ใช้สำหรับวัดมุมของชิ้นส่วนเพื่อให้ได้ฉาก 90 องศา จะไม่ค่อยนำมาใช้ในงานช่างยนต์มากนัก

    6. มิเตอร์วัดไฟ (Meter) เป็นทั้งมิเตอร์วัดแรงเคลื่อน และกระแสไฟ และความต้านทาน สามารถปรับค่าการวัดได้ตามต้องการ ใช้ตรวจเช็คอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ

    7. ไขควงวัดไฟ ใช้กับการวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าในอุปกรณ์ไฟฟ้าในรถยนต์ จักรยานยนต์โดยเฉพาะ โดยมีหลอดไฟเป็นสัญาณบอกสถานะด้านใน

    8. ตลับเมตร (Measurement tape) ใช้สำหรับวัดขนาดหรือกำหนดขนาดอย่างคร่าว ๆ เช่น การวัดขนาดความยาว ความกว้างของเครื่องยนต์ วัดฐานของเครื่องยนต์ เป็นต้น

    9. ไดอัลเกจ ( Dial Gauge) ใช้วัดระยะห่างการเคลื่อนที่ โดยยึดฐานของเกจ ไว้กับแท่นที่มั่นคง ปลายไดอัลเกจจะวัดระยะรุน (End Play) หรือระยะหลวมคลอนต่าง ๆ ของชิ้นส่วนเครื่องยนต์

    10. เครื่องทดสอบหัวฉีด ( Injection nozzle tester ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการทำงานของหัวฉีดน้ำมัน

    11. เกจความลึก ( Depth gage ) เป็นเครื่องวัดที่ใช้สำหรับวัดค่าความลึกของชิ้นส่วน เช่น กระบอกสูบ เป็นต้น

    12. ไฮโดรมิเตอร์ (Hydrometer ) เป็นเครื่องมือวัดความถ่วงจำเพาะของของเหลว เช่น ความถ่วงจำเพาะ ( ถ.พ. ) ของสารละลายในแบตเตอรี่

    13. เกจวัดความดัน (Pressure plate ) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของก๊าซหรือของเหลว เช่น ความดันลมหรือความดันน้ำมันหล่อลื่น

    14. เครื่องทดสอบหม้อน้ำและฝาหม้อน้ำ ( Rediator and Cap tester ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อทดสอบหม้อน้ำและฝาหม้อน้ำว่ามีการรั่วไหลหรือไม่ และการเปิดปิดของวาล์วบนฝาหม้อน้ำทำงานถูกต้องหรือไม่