คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

෤�Ԥ��÷ӵ���ѡ����觴��¤���� Marquee

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

෤�Ԥ��÷ӵ���ѡ����觴��¤���� Marquee
�բ�鹵͹�ѧ���
1. ����ҹ���˹����ǹ��Ҫԡ ��ԡ���͡����������ͧ��÷ӵ���ѡ�����

2. ��ԡ���͡����� (Marquee) �л�ҡ�˹�ҵ�ҧ Marquee Editor Webpage Dialog ���ӡ�á�˹��ٻẺ��ҧ�ͧ����ѡ�� 㹤���� Marquee �ҡ��鹤�ԡ OK

Direction : ��˹���ȷҧ�������͹���ͧ��ǵ���ѡ��
                 - Direction Left : ����͹�ҡ��ҹ����仢��
                 - Direction Right : ����͹�ҡ��ҹ���仫���
Behavior : �ٻẺ����ʴ��Ţͧ����ѡ��
                 - Behavior Alternate :�ʴ�����ѡ��Ẻ����͹���仡�Ѻ㹺�÷Ѵ���ǡѹ
                 - Behavior Slide : �ʴ�����ѡ��Ẻ��Ŵ�
                 - Behavior Continuous : �ʴ�����ѡ��Ẻ������ͧ
Marquee : ������ͤ������͵���ѡ�÷���ͧ���
Bgcolor : ���͡�վ����ѧ�ͧ����ѡ��
Width : �ͺࢵ�������ҧ����ͧ���������ѡ������͹���ҡ��ҹ����仢�� ���ͨҡ��ҹ���仫��� ��˹����� Pixel
Height : �ͺࢵ�����٧����ͧ���������ѡ������͹���ҡ��ҹ��ŧ��ҧ ���ͨҡ��ҹ��ҧ��鹺� ��˹����� Pixel
Speed Control : ��������㹡����觢ͧ����ѡ��
               - Scroll Amount : ��˹���������㹡������͹���ͧ����ѡ��
               - Scroll Delay : ��˹�����������ͧ㹡������͹���ͧ����ѡ��
 

����ö����������´�����������
http://oxygen.readyplanet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5358516&Ntype=4



Text Editor





෤�Ԥ������ Marquee 㹵��ҧ

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

෤�Ԥ������ Marquee 㹵��ҧ
   ෤�Ԥ��������١������Ѻ˹�����䫵� �¡�÷�������ѡ������͹���㹪�ͧ���ҧ �բ�鹵͹�ѧ�����
   1. ����ҹ���˹����ǹ��Ҫԡ ��ԡ���͡ "����������ͧ����ʴ�" �ӡ�����ҧ���ҧ���� ���� ( Insert Table ) �����������㹵��ҧ ����鹪�ͧ��ҧ����ͧ������ҧ��ͤ�������͹��Ǥ��
   2. ��ѧ�ҡ���ҧ���������㹵��ҧ���º�������� ����ҹ��ԡ ���� ( Marquee ) ������ͤ�������ͧ����ʴ� ŧ㹪�ͧ Marquee
   3. ��ѧ�ҡ�ͺ��ŧ �л�ҡ� ��ͤ�������ҹ��������� �蹴ѧ������ҧ ����ҹ�ӡ������ "��ͤ��� Marquee "���ҧ���㹪�ͧ���ҧ��������ҧ����ҹ�����
   4. ��ѧ�ҡ��鹨л�ҡ� ��ͤ����ç��ͧ��ҧ㹵��ҧ �ҡ��ҹ��ͧ��ôټ��Ѿ���͹�ͺ��ŧ ����ҹ��ԡ ���� ( Preview ) ���ʹٵ�����ҧ���

    ����ö��ҹ��������´����������� http://oxygen.readyplanet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5354417&Ntype=4 [^] ���



Text Editor





คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลักษณะตัวอักษร  ขนาดตัวอักษร <font size>  รูปแบบตัวอักษร <face>    ตัวอักษรพิเศษ  
ตกแต่งสีสันเว็บเพจกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร  สีตัวอักษรเฉพาะส่วน  ตัวอักษรวิ่ง <marquee>  

1. การกำหนดหัวเรื่อง <hn>

             

การกำหนดรูปแบบหัวเรื่องเป็นการกำหนดขนาดตัวอักษรให้แตกต่างกันเพื่อแยกแต่ละหัวเรื่องอย่างชัดเจนสำหรับ
เอกสาร ที่มีหลาย ๆ หัวเรื่อง จากลำดับหัวเรื่องใหญ่ไปหัวเรื่อง ซึ่งสามารถกำหนดขนาดหัวเรื่องได้ 6 ระดับ ดังนี้

ชื่อแท็ก                                                    hn (n มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6)
รูปแบบในภาษา HTML                         <hn>หัวเรื่อง</hn>

ตัวอย่างการใช้งาน แท็ก <hn>

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

              จากผลลัพท์ที่ได้ จะเห็นว่า ขนาด <h2> จะมีขนาดใหญ่สุด และเล็กสุดคือ <h6> คำสั่งนี้จะทำให้ข้อความใหญ่และหนาขึ้น
อัตโนมัติ แต่มีข้อเสียคือ ไม่สามารถใช้ร่วมกับคำสั่งอื่นได้

2. การกำหนดลักษณะตัวอักษร   

การกำหนดลักษณะตัวอักษรในเว็บเพจนั้น มีอยู่ 2 วิธี  ได้แก่

  • แบบ Physical  เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรอย่างเจาะจง
  • แบบ Logical  ที่ผู้ใช้บราวเซอร์สามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรได้ด้วยตัวเอง

การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Physical

                เราสามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรในข้อความได้หลายแบบ เช่น ตัวหนา ตัวเอน โดย รูปแบบที่กำหนดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ถึงแม้เบราเซอร์ที่ใช้เปิดจะเป็นคนละตัวกัน

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

หมายเหตุ

              แท็ก <sup>,<bub>,<big>,<small> สามารถนำมาซ้อนกันได้ เพื่อให้การกำหนดค่ามากขึ้นกว่าเดิมเช่น <big>BIG</big> กับ  <big><big>BIG</big></big> คำว่า BIG ตัวที่สองจะใหญ่กว่าตัวแรกเช่นกันถ้าเปลี่ยนแท็ก <sup> ตัวก็จะยกสูงขึ้น แท็ก <sub> ตัวก็จะห้อยต่ำลง

ตัวอย่างการใช้งานลักษณะตัวอักษรแบบ Physical

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Logical

               การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Logical นั้น เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรตามความหมายของข้อความนั้น

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

หมายเหตุ1

               แท็ก <bdo> จะมีแอททริบิวท์ชื่อ dir=”rtl” และค่าที่ใส่ก็จะมี “rtl” (right to left เขียนจากขวามาซ้าย) และ “ltr” (left to right เขียนจากซ้ายมาขวา) ปกติถ้าไม่กำหนดจะเป็น “ltr” อยู่แล้ว
ตัวอย่างเช่น <bdo dir=”rtl”>bi-directional algorithm</bdo>
ผลลัพธ์ จะเป็นคำว่า “mhtirogla lanoitcerid-ib

หมายเหตุ 2

               แท็ก abbr และ acronym จะมีการใช้เหมือนกัน คือ การกำหนดชื่อเต็มของคำย่อ เช่น <acronym title=“World Wide Web”>WWW</acronym> ผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเอาเมาส์ไปวางจะปรากฏชื่อเต็มขึ้นมา
ถึงแม้ทั้ง 2 แท็กจะใช้เหมือนกันแต่จะต้องเลือกใช้ตามกรณี คือ แท็ก abbr จะใช้สำหรับคำย่อของคำ หรือกลุ่มคำ เช่น กทม. คือ กรุงเทพมหานคร  ส่วน acronym จะเป็นคำย่อที่เกิดจากพยัญชนะของแต่ละคำมาต่อกัน เช่น WWW คือ World Wide Web, IOU คือ I love you เป็นการดีงอักษรของแต่ละคำมาสร้างคำย่อ
ที่จริงเราสามารถใช้แท็ก abbr และ acronym แทนกันได้ แต่ถ้าให้ควรเลือก acronym เพราะ abbr ไม่สามารถแสดงผลบราวเซอร์ IE

ตัวอย่างการใช้งานลักษณะตัวอักษรแบบ Logical

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

3. การปรับเปลี่ยนตัวอักษรด้วย <font size>  

               

การเปลี่ยนขนาดตัวอักษรเป็นการปรับเปลี่ยนหน้าเว็บเพจให้มีขนาดแตกต่างกัน โดยมีรูปแบบดังนี้

ชื่อแอตทริบิวต์                                size
รูปแบบในภาษา HTML                 <font size=“”>ข้อความ</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                          ขนาดตัวอักษร n ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 7

ตัวอย่างการใช้แท็ก <font size>

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร


ผลลัพธ์ที่ได

              จากผลลัพธ์จะเห็นว่า ตัวเลข 7 จะขนาดใหญ่สุด และตัวเลข 1 มีขนาดเล็กที่สุด และคำสั่ง font สามารถจะเพิ่มแอททริบิวท์
ต่างๆได้ เช่น face = รูปแบบตัวอักษร color=สีตัวอักษร

4. การกำหนดรูปแบบตัวอักษร <face>  

ชื่อแอตทริบิวต์                                face
รูปแบบในภาษา HTML                 <font face=“ชื่อฟอนต์”>ข้อความ</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                           ชื่อฟอนต์ที่ต้องการใช้งาน

ตัวอย่างการใช้แท็ก <font face>

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร


ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

หมายเหตุ

          หากเครื่องใดไม่มีฟอนต์ดังกล่าวจะทำให้การแสดงผลผิดพลาด ดังนั้นเราควรใช้ฟอนต์ที่มีในทุกเครื่อง หรือฟอนต์มาตรฐาน
ในกรณีที่เราไม่แน่ใจว่าเครื่องของผู้ใช้ที่เปิดดูเว็บเพจนั้น มีฟอนต์ที่เรากำหนดหรือไม่ เราสามารถระบุฟอนต์ไว้หลายชุดเพื่อใช้แทนกันได้ โดยใช้แท็กที่มีรูปแบบดังนี้

     รูปแบบแท็ก กรณีใส่ชื่อฟอนต์มากว่า 1 ฟอนต์       

                                                    <font face=”ชื่อฟอนต์1,ชื่อฟอนต์2,…..”>

เมื่อเบราเซอร์ที่เปิดหน้าเว็บนี้ไม่มีฟอนต์ตัวที่1 ก็จะไปใช้ฟอนต์ตัวที่2 และตัวต่อไปตามที่เรากำหนดไว้

5. คำสั่งเว้นวรรคข้อความ   

                 

แท็กคำสั่ง &nbsp; (Non Breaking Space) เป็นคำสั่งช่วยให้เว้นวรรคระหว่างข้อความ เพราะปกติบราวเซอร์
จะแสดงช่องว่างจากการเคาะ Space Bar เพียงช่องเดียว แม้นว่าผู้สร้างจะเคาะไปหลายครั้งก็ตาม &nbsp; นี้เป็นหนึ่งใน
จำนวนรหัส ใช้แทนอักษรพิเศษ ในภาษา HTML ซึ่งใช้ประโยชน์สำหรับแทนตัวอักษรที่มีความหมาย

ชื่อตัวอักษรพิเศษ            
รูปแบบการใช้               ในตำแหน่งที่ต้องการจะเว้นช่องว่าง

ตัวอย่างการใช้  

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

6. ตัวอักษรพิเศษ   

                   ตัวอักษรพิเศษ คือ ตัวอักษรที่ไม่มีบนแป้นพิมพ์จึงต้องใช้วิธีการเรียกใช้ โดยการใช้รหัสหรือโดยการเรียกโดยใช้ชื่อ

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

7. การตกแต่งสีสันเว็บเพจ

                

สีในคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการผสมค่าสีโหมด RGB ซึ่งประกอบด้วย สี 3 สี คือ Red(แดง) Green(เขียว)และ Blue(น้ำเงิน)   เราสามารถกำหนดค่าสีได้ 2 แบบ คือ

              1. ชื่อสี=color ระบุสีลงไปเลย เช่น AQUA, BULE, GRAY, LIME, NAVY, PURPLE, SILVER,WHITE (สีขาว), BLACK,
FUCHSIA, GREEN, MAROON, OLTVE, RED, TEAL, YELLOW

               2.ค่าสี=”#xxxxxx” ระบุเป็นเลขฐาน 16 (0-9 หรือ A-F โดย 0 มีค่าสีน้อยที่สุด และ F มีค่าสีมากที่สุด) ทั้งหมด 3 ชุด
1 ชุดแทนด้วยตัวอักษร 2 ตัว แสดงค่าของแม่สี แดง เขียว นํ้าเงิน (RGB) โดยการใส่ค่าสีในเว็บเพจจะต้องเขียนค่าสีตามหลัง
เครื่องหมาย # เช่น”#FFFFFF” จะให้ สีขาว ,”#000000 จะให้ สีดำ

                ในการระบุชื่อสีหรือค่าสีอาจจะเป็นเรื่องยากซักหน่อยสำหรับใครที่ยังไม่รู้จะใช้สีอะไร ดังนั้นเราอาจจะใช้วิธีหาชื่อสี
หรือรหัสบนหน้าเว็บไซต์ต่างๆ หรือทำการผสม สีผ่านโปรแกรมตกแต่งภาพอย่าง โปรแกรม Photoshop ได้ ดังนี้

                  1. ค้นหาชื่้อสีหรือรหัสสีบนหน้าเว็บไซต์ อาจใช้คำสืบค้น ว่า "ตารางสี html" คลิกดูตัวอย่างตารางสี
                   2. ทำการผสมสีผ่านโปรแกรม ตกแต่งภาพ เช่น โปรแกรม Adobe Photoshiop ดังภาพ

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

8. การกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร

                  เราสามารถกำหนดสีพื้นหลังของหน้าเว็บเพจ และสีตัวอักษรได้ด้วยการกำหนดค่าสีให้กับแอททริบิวท์ bgcolor
(สีพื้นหลังเว็บเพจ) และ text (สีตัวอักษร) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้

ชื่อแอตทริบิวต์                                bgcolor (สีพื้นหลัง) และ Text (สีตัวอักษรทั้งเว็บเพจ)
รูปแบบในภาษา HTML                 <body bgcolor=“รหัสสี/ชื่อสี” Text=“รหัสสี/ชื่อสี”>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                           รหัสสีเลขฐาน 16 เช่น “#FFFFFF” หรือชื่อสีมาตรฐาน เช่น blue

 ตัวอย่างการการกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

9. การกำหนดสีตัวอักษรเฉพาะส่วน   

            นอกเหนือจากการกำหนดสีของตัวอักษรทั้งหน้าโดยการใช้แอททริบิวท์ text แล้ว ถ้าเราต้องการให้ข้อความภายในหน้าเว็บ
มีสีที่แตกต่างกันไป ให้เราใช้คำสั่งที่มีรูปแบบ ดังนี้

รูปแบบในภาษา HTML            <font color=“รหัสสี/ชื่อสี”>…</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                     รหัสสีเลขฐาน 16 เช่น “#FFFFFFหรือชื่อสีมาตรฐาน เช่น blue

ตัวอย่างการการกำหนดสีตัวอักษรเฉพาะส่วน

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

10. การกำหนดตัวอักษรวิ่ง <marquee>   

            เราสามารถกำหนดให้ข้อความเคลื่อนไหวบนหน้าเว็บเพจได้ โดยการใช้คำสั่ง marquee

ชื่อแท็ก                                        marquee
รูปแบบของแท็ก                       <marquee>ข้อความ</marquee>

  การกำหนดแอตทริบิวต์เพิ่มเติมให้กับแท็ก marquee

Behavior = กำหนดรูปแบบการวิ่ง มี 3 รูปแบบ ดังนี้

 
    scroll  คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้าย ก็ให้ข้อความวิ่งออกมาจากขวาใหม่                  (เป็นค่าปกติถ้าไม่มีการกำหนดอะไรจะได้แบบนี้)การกำหนดรูปแบบการวิ่งของข้อความ มี 3 รูปแบบ ดังนี้
    slide   คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้ายแล้วจะหยุดนิ่งไม่วิ่งไปไหนอีก
    alternate  คือ ให้ข้อความวิ่งจากขอบซ้ายมาขอบขวา เมื่อถึงขอบขวาก็ให้วิ่งกลับไปทางซ้าย วิ่งกลับไปกลับมา

direction = กำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ ดังนี้

 
    Left     ด้านซ้าย
    Right    ด้านขวา
    Up       ด้านบน
    Down   ด้านล่าง

width

กำหนดความกว้างของกรอบ marquee  กำหนดค่าแบบเจาะจง (pixel) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบจากบราวเซอร์

height

กำหนดความสูงของกรอบ marquee  กำหนดค่าแบบเจาะจง (pixel) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบจากบราวเซอร์

hspace

กำหนดระยะห่างของข้อความที่เคลื่อนไหวและกรอบทางด้านซ้ายและด้านขวา

vspace

 กำหนดระยะห่างของข้อความที่เคลื่อนไหวและกรอบทางด้านบนและด้านล่างloopกำหนดจำนวน
รอบการวิ่ง

scrollamount=n

กำหนดระยะเวลาในการขยับข้อความ (ยิ่งมาก ข้อความจะขยับไปไกลในแต่ละครั้ง)

scrolldelay=n

กำหนดเวลารอเป็นหน่วย Milliseconds (ยิ่งมาก ข้อความจะรอนานกว่าจะขยับแต่ละครั้ง)

bgcolor=”รหัสสี/ชื่อสี”

กำหนดสีพื้นหลังของกรอบอักษรวิ่ง กำหนดเป็นรหัสสีหรือชื่อสี เช่น bgcolor=“#FFCCCC”, bgcolor=“green”

onmouseOver=”this.stop()”

กำหนดให้เมื่อนำเมาส์มาชี้ให้หยุดวิ่ง

onmouseOut=”this.start()”

กำหนดให้เมื่อเอาเมาส์ออกจากกรอบอักษรวิ่งให้วิ่งต่อ หากต้องการให้เมื่อเอาเมาส์มาชี้แล้วให้วิ่ง เมื่อเอาเมาส์ออกให้หยุด ก็สามารถทำได้โดยสลับค่าระหว่าง “this.stop()” กับ “this.start()”

 ตัวอย่างการทำตัวอักษรวิ่ง

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร


 
 ผลลัพธ์ที่ได

คำสั่ง< marquee >ใช้เมื่อต้องการสร้างตัวอักษรในเอกสารเว็บให้เป็นอย่างไร

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ
 
 .