เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
เส้นเมริเดียน (อังกฤษ: meridian, line of longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ สร้างขึ้นจากการสมมติเส้นเมริเดียนปฐม มีค่ามุม 0 องศา ลากผ่านตำบลกรีนิซ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ด้านละ 180 องศา โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและ 180 องศาตะวันตก จะทับกันเป็นเส้นเดียวนี้ให้เป็นเส้นวันที่หรือเส้นแบ่งเขตวันระหว่างชาติ หรือเส้นแบ่งเขตวันสากล เส้นเมริเดียนแรก หรือ เส้นเมริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือเส้นเมริเดียนที่ลากผ่านหอดูดาวแห่งหนึ่ง ตำบล กรีนิช ใกล้กรุงลอนดอนในประเทศอังกฤษทั้งนี้เพื่อใช้เป็นหลักอ้างอิงในการนับเส้นเม ริเดียนอื่น ๆ ต่อไป เส้นเมริเดียนรอบโลก มี 360 เส้น แบ่งเป็นเส้นองศา ตะวันออก 180 เส้น และเส้นองศาตะวันตก 180 เส้น ความสำคัญของเส้นเมริเดียน คือ บอกพิกัดของตำแหน่งที่ตั้งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกโดยใช้ร่วมกันเส้นขนาน (เส้นละติจูด) และใช้เป็นแนวแบ่งเขตเวลาของโลก

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
เส้นเมอริเดียน (Meridian Line) หมายถึง เส้นสมมติที่ลากเชื่อมระหว่างขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้
- เส้นเมอริเดียนอยู่ในแนวเหนือใต้
- ปลายเส้นเมอริเดียนจะบรรจบกันที่ขั้วโลกทั้งสอง และห่างกันมากที่สุด   ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร
- เส้นเมอริเดียนแต่ละเส้นจะมีความยาวเป็นครึ่งหนึ่งของวงกลมใหญ่
- บนพื้นโลกจะลากเส้นเมอริเดียนได้ไม่จำกัดจำนวน แต่ที่ปรากฏบนลูกโลกหรือแผนที่จะลากเส้นให้ห่างกันแต่พองามค่ะ

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
http://th.wikipedia.org/wiki/เส้นเมอริเดียน
เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/questiondetail/726

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก
 

อยากทราบการเเบ่งซีกโลกตะวันตก กับ ตะวันออกใช้อะไรเป็นกฎเกณฑ์

สืบเนื่องมาจาก คำถามจากลูกชายถึงเรื่อง แวมไพร์ มีจริงไหม ก็เลยอธิบายไปว่า
มันเป็นเรื่องผีดูดเลือดของชาวตะวันตก ที่เป็นเรื่องเล่ากันมานานแสนนาน แต่จะมีจริงไหมนั้น
ไม่สามารถรู้ได้ เหมือนกับผีทางโลกตะวันออก ที่มีผีกระสือ ผีปอบ ฯลฯ
ทีนี้เจ้าลูกชายก็ถามต่อว่าโลกตะวันตกคืออะไร โลกตะวันออกคืออะไร ทีนี้ตอบไม่ถูกเลย
แค่ตอบไปว่าโลกตะวันตกก็คือ พวกฝรั่ง เหมือน Teacher ส่วนโลกตะวันออกก็คือ เมืองไทยที่เราอยู่
เเละลาว เขมร เวียดนาม ประเทศอาเซียนที่ลูกเรียนมา เกาหลีที่ลูกเคยไป อะไรทำนองนี้
ก็เลยสงสัยว่าวิธีการแบ่งโลกตะวันตก กับตะวันออก เค้าใข้วิธีอะไรในการแบ่ง
*** ขอบคุณล่วงหน้าสำหรับคำตอบครับ ***

  • หน้าแรก

  • ข่าวสารความรู้

  • ละติจูด, ลองจิจูด กับการบอกพิกัดทางภูมิศาสตร์

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

ละติจูดและลองจิจูดนั้นคือค่าที่ใช้บอกพิกัดทางภูมิศาสตร์

                ทุกพื้นที่บนโลกนั้นมีพิกัดทางภูมิศาสตร์กำหนดไว้ พิกัดทางภูมิศาสตร์จะระบุเป็นในรูปของตัวเลข ที่ทุกคนสามารถที่จะเข้าใจถึงตำแหน่งนั้นๆได้จากค่าตัวเลขของพิกัดทางภูมิศาสตร์ ซึ่งการระบุพิกัดทางภูมิศาสตร์จะมีตัวเลข 2 ชุด เรียกว่า เลขละติจูด (Latitude) และเลขลองจิจูด (Longitude) (Lat/Long)

การระบุตำแหน่งในรูปแบบตาราง

                การใช้พิกัดทางภูมิศาสตร์แบบละติจูดและลองจิจูด (Lat/Long) นั้นแตกต่างจากการใช้การระบุตำแหน่งที่อยู่ตามถนนหรือตามเขตพื้นที่ต่างๆ ซึ่งละติจูดและลองจิจูดนั้นสามารถระบุได้ด้วยตัวเลขในระบบตารางเหมือนที่เรามักเห็นกันเมื่อเราดูในกราฟต่างๆ แผนที่ในรูปแบบตารางนี้จะมีเส้นที่วางในแนวนอนและตัดกันกับเส้นที่วางในแนวตั้ง ซึ่งการระบุตำแหน่งที่จะทำได้ในแบบตารางนี้ วิธีอย่างง่ายคือกำหนดเลข 2 ชุดขึ้นมา ซึ่งตัวเลขชุดแรกเป็นตัวที่ใช้ระบุตำแหน่งในแนวนอน และตัวเลขอีกชุดเป็นเป็นตัวเลขที่ระบบตำแหน่งในแนวตั้งซึ่งจะเป็นเส้นที่มีจุดตัดกัน หรือพูดอีกนัยหนึ่งก็คือจุดที่เกิดการตัดกันจะเป็นจุดที่เราใช้ในการระบุพิกัดตำแหน่ง

แนวคิดจากระบบตารางต่อการระบุพิกัดบนโลก

                ละติจูดและลองจิจูดนั้นก็เป็นเส้นสมมติที่กำหนดขึ้นมาเพื่อระบุพิกัดบนโลกเช่นเดียวกับเส้นในแนวนอนและตั้งที่ใช้ระบุพิกัดในกราฟที่เป็นรูปแบบตาราง แต่แทนที่จะเป็นเส้นที่ตรงบนแผ่นราบ ละติจูดและลองจิจูดนั้นจะกำหนดให้เป็นเส้นที่วงรอบโลก ทั้งเส้นที่วงรอบโลกในแนวนอนและเส้นที่วงเป็นครึ่งวงกลมในแนวตั้ง

ละติจูด (Latitude)

                เส้นละติจูด เป็นเส้นสมมติที่วางตามแนวนอนของโลก และยังมีเส้นที่วางตัวตามแนวนอนของโลกตามระดับความสูงกว่าหรือต่ำกว่า ซึ่งเรียกว่า เส้นขนานเส้นละติจูด (Parallels of Latitude) ซึ่งเส้นขนานของเส้นละติจูดเหล่านี้จะเป็นเส้นที่วางขนานกับเส้นละติจูดที่อยู่บริเวณตรงกลางหรือเรียกว่าเส้น อิเควเตอร์ (Equator) ทางที่ง่ายที่สุดที่จะมองภาพของเส้นละติจูดเหล่านี้คือให้คิดว่ามีเส้นสมมติที่วางตามแนวนอนของโลกเหมือนกับว่ามีวงฮูล่าฮุปวางอยู่รอบโลก และมีฮูล่าฮุปวงที่ใหญ่ที่สุดวางอยู่ตรงกลางของโลกพอดี ซึ่งนั่นก็คือเส้นอิเควเตอร์ จากนั้นให้คิดว่ามีเส้นที่ขนาดเล็กลงตามลำดับเรียงตัวทั้งขึ้นไปทั้งบนและล่าง ไปเรื่อยๆจนเข้าถึงขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

เส้นละติจูดนั้นเป็นเส้นที่ใช้วัดพิกัดในเชิงตัวเลขว่าทิศเหนือและทิศใต้นั้นห่างจากเส้นอิเควเตอร์ซึ่งเป็นเส้นที่แบ่ง ณ จุดกึ่งกลางโลก โดยส่วนที่อยู่เหนือกว่าเส้นอิเควเตอร์นั้นคือซีกโลกเหนือ และส่วนที่อยู่ใต้เส้นอิเควเตอร์คือซีกโลกใต้ ที่เส้นอิเควเตอร์นี้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่วัดละติจูดในตำแหน่งต่างๆ ซึ่งพิกัดที่วางตัวอยู่บนเส้นอิเควเตอร์นี้จะมีตัวเลขที่บอกค่าทางละติจูดเป็น 0 องศาละติจูด ตัวเลขของค่าละติจูดนี้จะมีค่ามากขึ้นตามระยะท่างจากเส้นอิเควเตอร์ โดยจะมีค่าสูงสุดที่ 90 องศาละติจูด ที่บริเวณขั้วโลก สำหรับการอ่านค่าละติจูดนั้นจะอ่านค่าเป็น _xx_ องศาเหนือ หรือ _xx_ องศาใต้ ขึ้นอยู่กับว่าพิกัดของเส้นละติจูดนั้นเป็นพิกัดของละติจูดที่อยู่เหนือหรือใต้เส้นอิเควเตอร์

ลองจิจูด (Longitude)

                เส้นลองจิจูด เป็นเส้นสมมติที่วางตามแนวตั้งของโลก หรือที่เรียกว่าเส้นเมอร์ริเดียน (Meridian) วิธีที่ง่ายที่สุดในการจินตนาการภาพสำหรับเส้นลองจิจูด ให้ลองนึกถึงวงฮูล่าฮุปที่ตัดแบ่งครึ่งวางตัวตามแนวตั้งของโลก โดยปลายด้านหนึ่งของฮูล่าฮุปนั้นวางที่ตำแหน่งขั้วโลกเหนือ และปลายอีกด้านหนึ่งวางที่ขั้วโลกใต้

เส้นลองจิจูดนั้นเป็นเส้นที่ใช้วัดพิกัดทางตัวเลขว่าเส้นลองจิจูดนั้นห่างจากเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญ (Prime Meridian) เท่าไหร่  ซึ่งเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญนี้เองจะเป็นเส้นที่แบ่งซีกโลกตะวันตกและตะวันออก เส้นเมอร์ริเดียนสำคัญนั้นจะเป็นเส้นที่ลากในแนวตั้งของโลกผ่านเมืองกรีนวิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ จากขั้วโลกเหนือสู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญเป็นเส้นเริ่มต้นที่จะบอกพิกัดลองจิจูดในตำแหน่งต่างๆ พิกัดที่วางตัวอยู่บนเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญนี้จะบอกค่าลองจิจูดเป็น 0 องศาลองจิจูด

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตก

สำหรับการวัดลองจิจูดตะวันตกและตะวันออกนั้นจะอ้างอิงจากเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญ ซึ่งจะมีเส้นลองจิจูดที่อยู่ฝั่งตะวันตกและตะวันออกของเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญด้านละ 180 เส้น การอ่านพิกัดตำแหน่งของละจิจูดจะอ่านเป็น _xx_ องศาตะวันตก หรือ _xx_ องศาตะวันออก และจะมีเส้นลองจิจูดพิเศษอีกเส้นหนึ่ง เป็นเส้นลองจิจูดที่อยู่ที่ตำแหน่ง 180 องศาลองจิจูดพอดี เป็นเส้นลองจิจูดที่มีชื่อเรียกพิเศษอีกชื่อหนึ่งว่า เส้นแบ่งเขตวันสากล (International Date line) ซึ่งเส้นนี้จะเป็นลองจิจูดที่อยู่อีกฝั่งของโลก ตรงกันข้ามกับเส้นเมอร์ริเดียนสำคัญพอดี

ข้อมูล: http://www.learner.org/

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกและซีกโลกตะวันตกเรียกว่าอะไร

เส้นเมริเดียน (อังกฤษ: meridian, line of longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ สร้างขึ้นจากการสมมติเส้นเมริเดียนปฐม มีค่ามุม 100 องศา ลากผ่านไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ด้านละ 180 องศา โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและ 180 องศาตะวันตก จะทับกันเป็นเส้นเดียวนี้ให้เป็นเส้นวันที่หรือเส้นแบ่ง ...

เส้นสมมติในแผนที่ที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันออกกับซีกโลกตะวันตกหมายถึงตัวเลือกใด

เส้นวันที่ คือ เส้นสมมุติที่ลากแบ่งโลกเป็นซีกโลกตะวันออกและซีกโลกตะวันตก โดยใช้ เส้นเมริเดียนของลองจิจูดที่180 องศา เป็นแนวแบ่ง มีเวลาแตกต่างกัน 1 วัน เวลามาตรฐาน คือ เวลาที่กำาหนดขึ้นตามเขตภาคเวลา เพื่อใช้เป็นเวลามาตรฐานสากล ของประเทศนั้น ๆ

เส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้เรียกว่าอะไร

น. เส้นวงกลมสมมุติที่ลากรอบโลก และแบ่งโลกออกเป็นส่วนซีกโลกเหนือกับ ส่วนซีกโลกใต้.

ตําแหน่ง ทางภูมิศาสตร์คืออะไร

พิกัดภูมิศาสตร์ (อังกฤษ: geographic coordinate system) คือสิ่งที่บอกให้เราทราบถึงตำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ บนผิวโลก โดยยึดตามระบบพิกัดทรงกลม (spherical coordinate system) ชาวบาบิโลเนียเป็นผู้คิดแนวคิดพิกัดภูมิศาสตร์ขึ้น ต่อมาโตเลมี นักปราชญ์ชาวกรีกเป็นผู้ปรับปรุงแนวคิดนี้อีกครั้ง โดยให้หนึ่งวงกลมมีมุม 360 องศา