ดนตรีไทยในปัจจุบันและในอดีต

๑๕

สถานภาพของดนตรีไทยการนิยมเพลงไทยในสมัยอดีต
กบั ปัจจุบนั แตกต่างกนั ในสมยั อดีตมกั จะนิยมเพลงไทยมากผทู้ ีฟังดนตรีไทย
ใน สมัยนันถึงแม้จะเล่ นดนตรี ไม่เป็ นแต่ชํานาญใน การฟั งเพลง
ทราบถึงคุณภาพของผรู้ ้องวา่ บุคคลใดร้องเพลงไดม้ ีคุณภาพหรือไม่มีคุณภาพ
แต่ในปัจจุบนั บางครังอาจไม่ทราบว่าใชใ้ นงานอะไร เป็ นยุคทีดนตรีไทย
ออกจากวังเข้าสู่ วัดอยู่ตามบ้าน เป็ นยุคทีนักดนตรี และครู ดนตรี
ตอ้ งช่วยเหลือตนเองเพือหารายไดเ้ ลียงปากเลียงทอ้ งการทีตอ้ งดาํ รงฐานะ
ยศถาบรรดาศกั ดิรวมถึงเกียรติยศของตนเองใหด้ าํ รงอยู่

ณ ปั จ จุ บั น นี ด น ต รี ไ ท ย เ ริ ม ส ด ใ ส ขึ น เ นื อ ง จ า ก
สถาบนั การศึกษาต่างๆทงั ในระดบั โรงเรียนมธั ยมและในระดับอุดมศึกษา
เริ มตืนตัวให้ความสนใจร่ วมกลุ่มกันจัดตังชุ มนุมดนตรี ไทยและ
ชมรมดนตรี ไทยในระดับโรงเรี ยนมัธยมศึกษามีการจัดการเรี ยน
การสอนดนตรีไทย ทําให้วงการดนตรีไทยในยุคนีมีความเข็มแข็งขึน
เริมเป็ นทีรู้จกั แพร่หลายออกไปสู่ประชาชน นักศึกษาทีเรียนจบออกไป
ประกอบอาชีพอย่างอืนและเล่นดนตรี ไทยเป็ นงานอดิเรกในยุคนีเอง
ทีดนตรีไทยเริมเป็นทีรู้จกั ขึนในต่างประเทศบา้ งแลว้

๑๖

พีจะพาน้องๆไปดูกิจกรรมจดั งานชุมนุมสังสรรค์ดนตรีไทย
ทีเรียกว่างานดนตรีไทยอุดมศึกษาเป็ นการจดั กิจกรรมเพือส่งเสริม
กระ ตุ้น ใ ห้เยา วช น เ กิ ด ค วา ม ส น ใ จศิลป วัฒ น ธ รรม ข อง ชา ติ
ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าและการเรียนรู้กบั ดนตรีพธิ ีกรรมของไทยและ
กลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ เนืองจากดนตรีไทยไม่ไดเ้ ป็ นเรืองของคนรุ่นเก่า
สังคมไทยได้ฝากความหวังในการทาํ นุบาํ รุงศิลปวฒั นธรรมของชาติ
เอาไวก้ ับเยาวชนรุ่นหลังในการสืบทอดให้ดนตรีไทยดํารงอยู่คู่กบั
สงั คมไทยตลอดไป

๑๗

ปัจจุบันนีทุกชีวิตในโลกสามารถถ่ายทอดวฒั นธรรมและ
การสือสารซึงกนั และกนั ได้เพียงปลายนิวกระดิก ( คลิก ) อาจเรียกได้ว่า
ยุ ค นี เ ป็ น ยุ ค ที สั ง ค ม โ ล ก ใ ก ล้ กั น เ พี ย ง ลั ด นิ ว มื อ โ ด ย ผ่ า น ท า ง
เครืองคอมพิวเตอร์ทีสามารถส่งภาพ เสียงและข้อมูลต่างๆถึงกันไดท้ ันที
ทีกระดิกนิวเท่านัน ทําให้การดนตรีไทยได้เดินทางเข้าสู่ยุคอินเตอร์เน็ต
โด ยมี เวปไ ซด์ที เ กี ยวข้องกับด นต รี ไทยจริ งๆขึ นม าเ ป็ น ครั งแ รก
คื อ http://www.dontrithai.com ขึนเมือ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๒ นับเป็ น
การปรับตัวตนของดนตรี ไทยให้เป็ นดนตรี ทีสามารถเข้าใจในสังคม
ได้มากยิงขึน การทาํ ดนตรีไทยเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตนัน ทาํ ให้วิชาการ
ดา้ นดนตรีไทยเผยแพร่ไปไดท้ วั โลกโดยผา่ นการสือสารทีเป็นสากลนี

พโี ดเรมอนครับเอกลกั ษณ์ของดนตรีไทยในวฒั นธรรมไทย
คืออะไรครับช่วยอธิบายใหผ้ มฟังหน่อยไดไ้ หมครับ

ประเทศ ไทยไดร้ ับอิทธิพลทางด้านการร้องการดนตรีมาจาก
หลายประเทศเช่น อินโดนีเซีย จีน อินเดีย และอีกหลายๆประเทศ
เครืองดนตรีไทยแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทดีด เช่น จะเข,้
กระจบั ปี , ประเภทสี เช่น ซอดว้ ง, ซออู,้ ซอสามสาย, พิณนาํ เตา้ ประเภท
ตี เช่นกรับ, ระนาด, ฆอ้ ง, ฉาบ, กลอง, ฉิง และประเภทเป่ า เช่นปี ชวา,
ขลุ่ยเพียงออ,ขลุ่ยหลีบเป็ นตน้

๑๘

หากพิจารณาเอกลกั ษณ์ความโดดเด่นหรือลีลาเฉพาะของดนตรีไทย
มีลกั ษณะต่างๆ ดงั นี

- ลีลาทีเป็นเอกลกั ษณ์ของเครืองดนตรีไทย
- ลลี าทีเป็นเอกลกั ษณ์ของวงดนตรีไทย
- ลลี าทีเป็นเอกลกั ษณข์ องเพลงไทย
- ลีลาทีเป็นเอกลกั ษณ์ของผปู้ ระพนั ธ์เพลงไทย
- ลีลาทีเป็นเอกลกั ษณ์ของการขบั ร้องเพลงไทย

ลลี าทเี ป็ นเอกลกั ษณ์ของเครืองดนตรีไทย
เครื องดนตรี ไ ทย แต่ ละชนิ ดแต่ ละเ ครื องต่ างก็มี ลีลาการ บรร เลง
ทีแตกต่างกนั ปัจจยั ทีก่อให้เกิดลีลาของการบรรเลงทีต่างกนั พิจารณาลีลา
ของเครืองดนตรีมี ๒ ลกั ษณะ
๑. ลีลาทีเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะเครืองดนตรีรูปร่างลกั ษณะวสั ดุทีใช้
ทําเครื องดนตรีตลอดจนวิธีทีทําให้เกิดเสี ยงในการกําหนดลีลาและ
การดําเนินทํานองเช่นเครืองดนตรี ทีมีขนาดใหญ่จะมีเสียงทุ้มตําลีลา
การสร้างทํานองจึงตอ้ งดาํ เนินไปอย่างห่างๆในขณะทีเครืองดนตรีขนาดเลก็
จะมีเสี ยงสู งศักยภาพในกาผลิตทํานองอย่างละเอียดววววววววววว

๑๙

๒. ลลี าทเี ป็ นเอกลักษณ์ตามบทบาทและหน้าที ลีลาการดาํ เนินทาํ นอง
ของเครืองดนตรีไทยมีบทบาทและหน้าทีอยู่ในกรอบของลีลาเพลง เช่น
เพลงประเภททางพนื และเพลงประเภทลูกลอ้ – ลูกขดั ในกรณีของการบรรเลง
เครืองดนตรีไทยถูกกาํ หนดให้มีบทบาทและหน้าทีเป็ น ๒ กลุ่ม กลุ่มนํา
ประกอบดว้ ยเครืองดนตรีทีมีเสียงสูงทงั หมด อนั ไดแ้ ก่ ระนาดเอก ฆอ้ งวงเลก็
ซ อ ด้ ว ง ข ลุ่ ย ห ลี บ ฯ ล ฯ มี ห น้ า ที ใ น ก า ร บ ร ร เ ล ง นํ า ทํา น อ ง
กลุ่มตาม ประกอบดว้ ยเครืองดนตรีทีมีเสียงทุม้ ตาํ เช่น ระนาดทุม้ ฆอ้ งวงใหญ่
มีหนา้ ทีบรรเลงตามทาํ นอง

ลลี าทเี ป็ นเอกลกั ษณ์ของวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยแต่ละวงมีเครืองดนตรีทีเป็นกาํ ลงั อนั สาํ คญั อยา่ งยิง
ในการกาํ หนดลีลาของวงดนตรีไทยโดยวงดนตรีไทยในแต่ละประเภท
ต่างกม็ ีลลี าและสีสันเฉพาะตวั ดงั นี
๑. ลีลาทีเป็ นเอกลักษณ์ของเครืองสายโดยเฉพาะเครืองสายประเภทซอ
จดั ไดว้ ่าเป็ นเอกลกั ษณ์อนั โดดเด่นในการเคลือนทีของทาํ นองจากตําไปสู่
สูงและลงมาตํามีลลี าการสร้างทํานองทีต่างจากเครืองดนตรีอืนๆ เนืองจาก
ซอเป็ นเครืองดนตรีทีมีความกว้างของช่วงเสียงทีแคบการเคลือนที
ของทํานองจึงหมุนเวียนอยู่ในกรอบของระดับเสียงทีจํากัดซึงเป็ น
เสน่ห์ฉพาะตวั ของวงเครืองสายไดอ้ ยา่ งดียงิ

๒๐

๒. ลีลาทีเป็ นเอกลกั ษณ์ของวงปี พาทย์ เครืองดนตรีทีสังกัด
ในวงปี พาทยเ์ ป็นเครืองดนตรีประเภทเครืองตีเป็นส่วนใหญ่จะมีกแ็ ต่เพียงปี
ทีเป็ นเครืองดนตรีประเภทเป่ าร่วมอยู่ดว้ ย เครืองดนตรีทีในวงปี พาทย์
เป็นเครืองดนตรีทีมีเสียงดงั เครืองดนตรีประเภทเครืองตีทุกเครืองจะใชไ้ มต้ ี
ชนิดแข็งทงั สิน วงปี พาทยเ์ ป็ นวงดนตรีทีมีลีลาของการบรรเลงแบบเก็บ
ในเพลงประเภททางพืนได้อย่างโดดเด่น ในส่วนของการดาํ เนินทาํ นอง
เครืองดนตรี ในวงปี พาทย์ทุกเครืองสามารถเคลือนระดับเสี ยงในการ
สร้างทาํ นองจากสูงไปตาํ ไดใ้ นช่วงกว้าง จึงมีความใกลเ้ คียงกบั ทํานองหลกั
หรือลูกฆ้องทีผปู้ ระพนั ธไ์ ดป้ ระพนั ธ์ไวม้ ากทีสุด

๓. ลีลาทีเป็ นเอกลักษณ์ของวงมโหรี วงมโหรีเป็ นวงดนตรี
ทีประกอบไปด้วยเครื องดนตรี ในวงเครื องสายและวงปี พาทย์
ปรับเปลยี นเครืองดนตรีเครืองเป่ าทีซาํ กนั คือ ขลุ่ยและปี โดยเลือกเอา
ขลุ่ยซึงมีกระแสเสียงกลมกลืนไปกบั เครืองดนตรีประเภทเครืองสาย
ได้เป็ นอย่างดี สําหรับไม้ตีระนาดเอกและฆ้องวงนันเปลียนมาใช้
ไม้ น ว ม เ พือ ใ ห้เ สี ยง มี ค ว า ม นุ่ ม น ว ลแ ล ะ ป ระ ส า น ก ลม กลื น
กับเครืองสาย วงมโหรีจัดเป็ นวงดนตรี ทีมีความหลากหลายและ
สมบูรณ์ในดา้ นเสียงมากทีสุดกล่าวคือมีเครืองดนตรีประเภทดีด สี ตี
เป่ าครบทุกตระกูลอยูร่ ่วมกนั จากการทีเครืองดนตรีมีความหลากหลาย
จึงทาํ ให้เครืองดนตรีประเภทเครืองตีโดยเฉพาะระนาดเอกทีมีช่วงเสียง
ของการบรรเลงทีกว้างต้องปรับเปลียนลีลาการดาํ เนินทํานองให้
ใ ก ล้ เ คี ย ง กับ เ ค รื อ ง ส า ย ปร ะเ ภ ท ซ อ จึ ง จ ะ มี ก ระ แส เสี ย ง ที ป ร ะ ส า น
กลมกลืนกัน ลักษณะต่างๆเหล่านีนับเป็ นลีลาทีมีความเฉพาะตัว
อนั โดดเด่นของวงมโหรี

๒๑

ลลี าทเี ป็ นเอกลกั ษณ์ของเพลงไทย
ในขณะทีนักดนตรีกําลังบรรเลงอยู่นัน นักดนตรี จะประดิษฐ์
ตกแต่งทาํ นองให้เกิดความไพเราะมากน้อยเพียงใดนันนักดนตรีจะพิจารณา
จากลีลาของเพลงเป็ นเกณฑ์สําคัญ จะไม่มีนักดนตรี ท่านใดทีนําเพลง
รัวคุกพาทยม์ าบรรเลงเพือให้เกิดอรรถรสเหมือนกบั การฟังเพลงเขมรไทรโยค
หรื อลาวดวงเดือน ดังนันกรอบลีลาของเพลงจึงเป็ นสิงทีสําคัญต่อการ
สร้างอารมณ์ของเพลงไทย ลีลาของเพลงเรียกกันในหมู่นักดนตรีไทยว่า
ทางของเพลง

ลลี าทเี ป็ นเอกลกั ษณ์ของผู้ประพนั ธ์เพลงไทย
ลลี าของผปู้ ระพนั ธเ์ พลงรู้จกั กนั ในหมู่นกั ดนตรีไทยวา่ “ทางครู” หรือ
ลีลาการประพนั ธท์ ีมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของครูผูป้ ระพนั ธ์เพลงคนใดคนหนึง
ลีลาของผูป้ ระพนั ธ์เป็นปรากฏการณ์ทีสามารถสะทอ้ นให้เห็นถึงภูมิปัญญา
ในเชิงดนตรีของคนไทยในอดีตไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ลลี าทเี ป็ นเอกลกั ษณ์ของการขบั ร้องเพลงไทย
ลีลาทีสร้างความงามอันเป็ นเอกลักษณ์ทีโดดเด่นให้แก่ดนตรีไทย
ในสังคมของดนตรีโลกมีอยดู่ ว้ ยกนั ๔ แบบคือ
๑. ร้องส่งหรือร้องรับ นกั ร้องและนกั ดนตรีปฏิบตั ิในต่างช่วงเวลากนั
กล่าวคือผูข้ บั ร้องจะเป็ นผูเ้ ริมขึนก่อนหลงั จากนนั จะเป็ นหนา้ ทีของนกั ดนตรี
ทีตอ้ งบรรเลง การร้องชนิดนีผูข้ บั ร้องและผูบ้ รรเลงจะใชท้ าํ นองเพลงเดียวกนั
โดยผูข้ บั ร้องจะนาํ “ลูกฆอ้ ง” หรือทํานองหลักมาเปลียนแปลงให้เป็ นลีลา
ของการขับร้องทีเรียกว่า “เอือน” ในขณะทีนักดนตรีปรับปรุงให้เป็ น
ทางบรรเลงของเครืองดนตรี

๒๒

๒.ร้องคลอการขบั ร้องแบบนีทงั ผูข้ บั ร้องและผูบ้ รรเลงดนตรีจะร่วมกนั
ขบั ร้องและบรรเลงไปพร้อมๆกนั เป็ นเพลงเดียวกนั ผูบ้ รรเลงดนตรีจาํ เป็ น
อย่างยิงทีต้องปรับเปลียนลีลาการบรรเลงทีมีความเป็ นอิสระให้นําเสียง
ของเครื องด นตรี มี ค วาม กลมกลืนกับเสี ยงข องคนร้องให้มากทีสุ ด
ดงั นนั ความงดงามและความไพเราะทีเกิดจากการขบั ร้องแบบนี จึงขึนอยู่กบั
ความสามารถในการสร้างความประสานกลมกลืนระหว่างแนวการขบั ร้องและ
แนวการบรรเลงเป็นสาํ คญั

๓. ร้องเคลา้ การร้องชนิดนีผขู้ บั ร้องและบรรเลงกระทาํ ไปพร้อมๆกนั
และเป็นทาํ นองเพลงเพลงเดียวกนั ต่างกนั ตรงทีผูบ้ รรเลงดนตรีสามารถ
บรรเลงไดอ้ ยา่ งอสิ ระไม่จาํ เป็นตอ้ งปรบั ทางบรรเลงใหเ้ หมือนกบั ทางร้อง

4.ร้องลาํ ลอง การขบั รอ้ งชนิดนีผขู้ บั ร้องและผบู้ รรเลงจะกระทาํ ไปพร้อมๆกนั

เอกลักษณ์ในเรื องต่างๆทางดนตรี ไทยแสดงให้เห็นว่า
ดนตรีไทยไม่เป็ นรองชาติใดในโลกสามารถขบั ขาน บรรเลงเสียง
ทีชา วไท ยแ ละชา วต่ า งป ระ เทศต้องม น ต์ส ะก ดขอ งเสี ยงเ พลงไท ย
เสน่ห์ของดนตรีไทยยังสามารถนํามาผสานร่ วมกับดนตรีสากล
เพมิ ความไพเราะไปอีกในรูปแบบหนึงอยา่ งดีเยยี มเลยทีเดียว

๒๓

พระราชกระแสดาํ รัส
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี

ตอนหนึงว่า
"ดน ต รี ไ ทยเ ป็ น ม รด กอัน ลําค่ าข อง ช า วไท ย
ความลาํ ค่าของดนตรีไทยนนั อยทู่ ีดนตรีไทย และเพลงไทย
ทีไดส้ ะทอ้ นความเป็ นไทยในส่วนทีเป็นความละเอียดอ่อน
ล ะ เ มี ย ด ล ะ ไ ม อ่ อ น โ ย น ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ พื อ น ม นุ ษ ย์
ไ ด้ อ ย่ า ง ห ม ด จ ด ยิ ง ก ว่ า วั ฒ น ธ ร ร ม ด้ า น อื น ๆ
การรู้จักดนตรีไทยย่อมเป็ นการรู้จกั ความละเมียดละไม
ของบรรพชนไทยได้เป็ นอย่างดี และจะช่วยให้ตระหนัก
ถึงความสาํ คญั ของความเป็นไทยอยา่ งชืนชมตลอดไปดว้ ย"

๒๔

ด น ต รี ไม่ว่าจะเป็ นของชาติใดภาษาใดก็ลว้ นแล้ว
แต่มีคุณค่าในอันทีจะกล่อมเกลาให้จิ ตใจมนุ ษย์ให้มี
ความละเอียดอ่อนเป็ นการปลูกฝังความดีมิตรภาพและ
ความเท่าเทียมกนั ความแตกต่างในรายละเอียดของแต่ละส่วน
แต่ละ วัฒน ธ รรม นันเป็ น สิ งที เกิดขึ นจริ ง แต่ การที มี
ความแตกต่างกันอย่างไรนันกรอบวัฒนธรรมแต่ละสังคม
เป็ นปัจจัยทีกาํ หนดให้ตรงกับรสนิยมของวฒั นธรรมต่างๆ
จนเป็ นผลให้สามารถแยกแยะดนตรีของชนชาติหนึงให้มี
ความแตกต่างจากดนตรีของอีกชนชาติหนึงได้อย่างง่ายดาย
แต่ดนตรี ไทยและเพลงไทยมีคุณค่าของความเป็ นไทย
ประสมอยู่ด้วยจึงเป็ นสิ งทีคนไทยทุกคนควรรักษาและ
พฒั นาสืบไป

เป็ นยงั ไงบ้างจุกและน้องๆได้ศึกษาความรู้เกียวกับดนตรีไทย
หลังการเปลียนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕และสภาพปั จจุบัน
ของดนตรีไทยจุกไดร้ ับความรู้อะไรบา้ ง

๒๕

ยุ ค ท อ ง ข อ ง ด น ต รี ไ ท ย ห ม ด ไ ป พ ร้ อ ม กั บ ยุ ค ข อ ง
ท่านหลวงประดิ ษฐ์ไพเราะคํากล่าวนี เห็นจะไม่ไกลเกินจริ ง
เ พ ร า ะ ใ น ยุ ค ห ลัง ก า ร เ ป ลี ย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ช่ ว ง ส ง ค ร า ม โ ล ก
ครังที ๒ รัฐบาลไทยในยุคท่านจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดม้ ีนโยบาย
สร้างชาติให้เป็นอารยะโดยตอ้ งการส่งเสริมให้ดนตรีไทยมีแบบแผน
เป็นอนั หนึงอนั เดียวกนั และดูทดั เทียมชาติตะวนั ตกจึงมีการควบคุมให้
นกั ดนตรีและศิลปะพืนบา้ นอืนๆตอ้ งมีการสอบใบอนุญาตเล่นดนตรี
เพือประกันมาตรฐานให้เป็ นระบบเดียวกนั ประกอบกบั แนวคิด
ของคนรุ่นใหม่ ทีสนใจในวฒั นธรรมต่างชาติมากกว่า โดยมองว่า
การเล่นดนตรีไทยเป็นสิงลา้ สมยั และตอ้ งห้ามทาํ ใหด้ นตรีไทยกลบั ถึง
จุดตกตาํ แม้จะมีการพยายามให้ประชาชนเข้าถึงดนตรีไทยแลว้ แต่
ดนตรีไทยยงั กลบั เป็ นเพียงดนตรีทีใช้ในพิธีเป็ นเรืองของแบบแผน
ของเฉพาะกลุ่มไม่สามารถเขา้ ใจไดแ้ ละไม่สามารถเขา้ ถงึ ได้

แต่สถานการณ์ ณ ปัจจุบนั นีดนตรีไทยเริมสดใสขึนเนืองจาก
สถาบนั การศึกษาต่างๆทงั ระดับโรงเรียนมธั ยมและระดบั อุดมศึกษา
เริ มตืนตัวให้ความสนใจร่ วมกลุ่มจัดตังชุมนุมดนตรี ไทยและ
ชมรมดนตรีไทย ทาํ ใหว้ งการดนตรีไทยมีความเขม็ แขง็ ขึนเป็ นอนั มาก
เริมเป็ นทีรู้จักแพร่หลายออกไปสู่ประชาชนทัวไป การดนตรีไทย
ไดเ้ ดินทางเขา้ สู่ยคุ อนิ เตอร์เน็ตมีเวปไซดท์ ีเกียวขอ้ งกบั ดนตรีไทยขึนมา
เป็ นครังแรกเมือปี พุทธศักราช๒๕๔๒นับเป็ นการปรับตัวตน
ของดนตรี ไทยให้เป็ นดนตรีทีสามารถเข้าใจในสังคมได้มากขึน
อินเตอร์เนต็ ทาํ ใหว้ ชิ าการดา้ นดนตรีไทยเผยแพร่ไปไดท้ วั โลก

๒๖
นาๆสาระเกยี วกบั ดนตรีไทย

ดนตรีไทยแบบฉบับดังเดิมของไทยนัน ในอดีตมีการเรี ยน
การสอนกนั อย่างไรเป็ นเรืองทีน่าสนใจอยู่ทีเดียวเนืองจากมีความแตกต่าง
กบั การเรียนดนตรีไทยในสมัยปัจจุบันอยู่มากปัจจุบนั การเรียนดนตรีไทย
เป็ นวิชาหนึงทีมีการเปิ ดเป็ นหลักสู ตรตามสถาบันต่าง ๆอย่างชัดเจน
เมือเรียนจบแลว้ ก็มีวุฒ มีปริญญาบตั รซึงต่างจากการเรียนดนตรีไทยในอดีต
ทีไม่มีหลกั สูตรทีชดั เจน แนวทางในการเรียนการสอนขึนอยกู่ บั ครูผูส้ อนเองว่า
จะสอนอย่างไรและเมือเรียนจบจากครูแลว้ ก็ไม่มีใบประกาศนียบตั รมอบให้
แต่อย่างใดมีแต่ความรู้ทีได้สังสมมาเท่านันทีเป็ นเสมือนใบเบิกทางในการ
ทาํ มาหากินต่อไป

วฒั นธรรมมุขปาฐะ
วัฒนธรรมแบบมุขปาฐะ คือถ่ายทอดกันแบบปากต่อปาก
ไม่มีการบันทึกโน้ตอย่างปัจจุบนั ผูเ้ รียนต้องจดจาํ ทางเพลงจากครูผูส้ อน
ซึ งลักษณะแบบมุขปาฐะนี เองพบอยู่ม ากในประเทศไทยสมัยก่อน
วิชาความรู้บางอย่างก็มีการปกปิ ดเป็ นความลบั จะสืบทอดให้เฉพาะแต่คน
ในสายเลือดเดียวกันเท่านัน ดนตรีไทยเป็ นการถ่ายทอดแบบปากต่อปาก
บางครังครูผปู้ ระพนั ธ์เพลงเองไม่ไดส้ อนใหล้ ูกศิษยท์ งั หมด หรืออาจเป็นเพราะ
ลูกศิษย์ไม่สามารถต่อเพลงได้ เมือครูท่านนันเสียชีวิตไปบทเพลงก็พลอย
สูญหายไปดว้ ย การเรียนรู้ดนตรีไทยแบบปากต่อปากมือต่อมือกบั ครูดนตรีนนั
ทาํ ให้ครูกบั ศิษยม์ ีความผกู พนั ต่อกนั อีกทงั ในทางดนตรีการจดจาํ ทาํ นองเพลง
ให้ไดน้ นั กเ็ ป็ นเรืองทีสําคญั คือเมือผูเ้ รียนจดจาํ ทาํ นองเพลงไดอ้ ยา่ งแม่นยาํ ดี
การจะบรรเลงหรือการจะหา ทางใหม่ ๆกด็ ูจะง่ายขึน

๒๗

ครูพกั ลกั จาํ
“ครูพกั ลักจาํ ” กล่าวคือไม่ได้เป็ นการเรียนกับครูโดยตรง
อาจจะไปได้ยินได้ฟังมาก็จดจําเอามาเล่น การเรียนรู้แบบครูพักลักจาํ
ในทางดนตรีนันผูล้ กั จาํ จะตอ้ งมีความจาํ เป็นเลิศเพราะดนตรีเป็นเรืองของ
เสียงเกิดขึนในช่วงเวลาหนึงดงั นันการจดจาํ ทาํ นองเพลงแลว้ นาํ มาเล่น
ให้ได้เหมือนทีได้ยินมานันถือเป็ นเรื องทียากพอสมควร การทีลักจํา
แลว้ นาํ มาเล่นแบบผิด ๆหรือจาํ ไม่ไดท้ งั หมดอาจจะทาํ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์
ทางใหม่ ๆขึนมากเ็ ป็นได้

บ้านครูดนตรี
การเรียนดนตรีทีบ้านกับครู ดนตรี ทีมีชือเสียงนันนับว่า
เป็ นความใฝ่ ฝันของนกั ดนตรีไทยหลายคน ขนั ตอนในการเรียนดนตรีไทย
ตามประเพณีของโบราณคือการเลือกเรียนวันพฤหัสเป็ นวันเริ มแรก
ผูท้ ีสมคั รเรียนตอ้ งเตรียมอุปกรณ์ คือขนั ขาว ๑ ใบ,ผา้ เช็ดหนา้ ,ธูป,เทียน
ดอกไมแ้ ละเงิน ๖ บาทเพือมอบแก่ครู ต่อจากนันครูจะสอนเพลงสาธุการ
และฝึ กเพลงโหมโรงเช้า,โหมโรงเย็น,เพลงตับ,เพลงพระฉันท์เช้า,
เพลงพระฉนั ท์เพลและเพลงอาบนาํ นาค เป็นตน้ ครูจะใหศ้ ิษยฝ์ ึ กเพลงเรือง
มากๆเพือเป็ นการฝึ กมือให้เกิดความชํานาญจะแยกเครื องมือและ
ดูความเหมาะสม เกียวกบั ผสู้ มคั รเรียนหรือศิษย์

จดจําทํานองเพลง
ทาํ นองเพลงไทยในอดีตนนั ไม่ไดม้ ีการกาํ หนดเป็ นโนต้ สากล
การจดจาํ ทาํ นองเพลงเป็นไปตามครูผูส้ อนจะคิดค้นขึนเพือให้ลูกศิษยจ์ ดจาํ
ทางเพลงได้ง่ายขึนเช่นการร้องทํานองเป็ นนอย น้อย ตามเสี ยงของ
ทาํ นองเพลง อาจจะมีการร้องออกเสียงแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะเสียง
ของเครืองดนตรีนนั ๆ เช่น การจดจาํ หนา้ ทบั อาจจะรอ้ งเป็น ติง ทงั ติง โจ๊ะ จ๊ะ
ระนาดอาจจะรอ้ งเป็น เตรง เตร๊ง เตรง

ดนตรีไทยในปัจจุบันแตกต่างจากอดีตอย่างไร

๑. นำเครื่องดนตรีไทยมาเล่นกับดนตรีสากลเลยโดยไม่ปรับเสียง ๒. นำเครื่องดนตรีไทยมาเล่นกับดนตรีสากลโดยปรับเสียงเป็นบันไดเสียงหนึ่งถ้าต้องเล่นโน้ตที่ดนตรีไทยไม่มีก็ให้เครื่องดนตรีอื่นเล่นแทน ๓. การประยุกต์ส่วนใหญ่ประยุกต์กันที่บทเพลงหรือวิธีการเล่น ไม่เคยเห็นใคร ประยุกต์ที่ตัวเครื่องดนตรี

ดนตรีไทยประกอบไปด้วยยุคสมัยอะไรบ้าง

ประวัติดนตรีไทยศึกษาประกอบด้วย 5 ยุค ได้แก่ 1. ยุคเริ่มต้น (สมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ. 1800 - 1981) 2. ยุคพัฒนา (สมัยกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรีพ.ศ.1893 - 2325) 3. ยุคฟื้นฟู(รัชกาลที่1 - 3 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325 - 2394) 4. ยุครุ่งเรือง (รัชกาลที่4 - 6 สมัย กรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2394 - 2468) และ 5. ยุคผสมผสาน (รัชกาล ...

ดนตรีไทยได้รับการฟื้นฟูในยุคสมัยใด

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ หลังจากบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น เกิดความ สงบร่มเย็น โดยทั่วไปแล้ว ศิลป วัฒนธรรม ของชาติ ก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบำรุง และส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยเฉพาะ ทางด้าน ดนตรีไทย ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลำดับ

วงดนตรีไทยเกิดขึ้นในสมัยใด

จากสมัยสุโขทัยสืบต่อมาสมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ดนตรีไทยจัดเป็นดนตรีที่มีแบบแผนหรือดนตรีคลาสสิก (Classic Music) เครื่องดนตรีไทยนั้นกรมศิลปากร จำแนกไว้รวมทั้งสิ้น 56 ชนิด ประกอบด้วยเครื่องตี เครื่องเป่า เครื่องดีด และเครื่องสี เครื่องดนตรีไทยที่นิยมใช้กันมาก ดังนี้