เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา ที่มาและเรื่องย่อ

Chisanucha

  • บทละครพูดคำฉันท์, มัทนะพาธา, วรรณคดีไทย

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

สารบัญ

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา เป็นวรรณคดีที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีและมีความแปลกใหม่อีกเรื่องหนึ่ง น้อง ๆ หลายคนอาจจะเคยคุ้นหูกันมาบ้างตามสื่อต่าง ๆ เพราะวรรณคดีเรื่องนี้เป็นหนึ่งในเรื่องที่โด่งดังจึงมักถูกหยิบไปทำเป็นละครทางโทรทัศน์บ่อย ๆ แต่จะมีความเป็นมาอย่างไรนั้น วันนี้เราจะไปศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ

 

ประวัติความเป็นมาของบทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา

 

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

 

มัทนะพาธาเป็นบทละครพูดคำฉันท์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จเพราะมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระราชกุศลเพื่อสร้าง ตำนานแห่งดอกกุหลาบ จึงทรงผูกเรื่องขึ้นมาใหม่หมด ทรงให้ความสำคัญเรื่องความถูกต้อง และความสมจริงในรายละเอียดของเรื่อง ทั้งชื่อเรื่อง ชื่อตัวเอก และรายละเอียดต่างๆ เช่น ชื่อเรื่อง มัทนา มาจากศัพท์ มทน แปลว่า ความลุ่มหลงหรือความรัก และชื่อนางเอกของเรื่องก็มีความหมายว่าความเจ็บปวดและความเดือดร้อนเพราะความรัก ซึ่งตรงกับแก่นของเรื่อง

 

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

 

ลักษณะการประพันธ์

 

แต่งด้วยคำฉันท์ ที่ประกอบไปด้วยฉันท์และกาพย์ โดยที่ในตอนดำเนินเรื่องยาว ๆ จะใช้กาพย์ แต่ถ้าเน้นอารมณ์ตัวละคร เช่น คร่ำครวญหรือไหว้ครูก็จะใช้ฉันท์ แต่ในตอนที่ดำเนินเรื่องรวดเร็วก็จะใช้ร้อยแก้ว

 

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

 

เรื่องย่อ มัทนะพาธา

 

เป็นเรื่องสมมติว่าเกิดในอินเดียโบราณ เนื้อเรื่องแบ่งออกเป็นภาคสวรรค์และภาคพื้นโลกมนุษย์ เริ่มจากภาคสวรรค์ เทพบุตรสุเทษณ์หลงรักเทพธิดามัทนา แต่นางไม่รับรัก สุเทษณ์จึงขอให้วิทยาธรมายาวินใช้เวทมนตร์สะกดเรียกนางมา แต่ผลคือนางมัทนาเหม่อลอยอยู่ในมนต์ สุเทษณ์จึงขอให้มายาวินคลายมนต์ เมื่อได้สติแล้วนางมัทนาจึงปฏิเสธรัก สุเทษณ์โกรธจึงสาปให้นางมัทนาลงไปเกิดเป็นมนุษย์

นางมัทนาขอให้ตัวเองได้ไปเกิดเป็นดอกไม้ที่มีกลิ่นหอม สุเทษณ์จึงให้นางไปเกิดเป็นดอกกุหลาบ เป็นดอกไม้ที่งามทั้งกลิ่นและรูป แต่มีเฉพาะแค่ในสวรรค์ยังไม่เคยมีบนโลกมาก่อน โดยที่ดอกกุหลาบนั้นจะกลายเป็นมนุษย์แค่ 1 วัน 1 คืน ในวันเพ็ญของแต่ละเดือนเท่านั้น และนางจะพ้นสภาพจากการเป็นกุหลาบก็ต่อเมื่อนางมีความรัก แต่นางจะได้รับความทนทุกข์จากความรัก เมื่อถึงเวลานั้น ให้นางมาอ้อนวอนขอความช่วยเหลือกับเทพบุตรสุเทษณ์

นางมัทนาไปจุติเป็นกุหลาบในป่าหิมะวัน ฤษีกาละทรรศินจึงขุดไปปลูกในบริเวณอาศรมของตน ขณะทำการขุดก็ได้ยินเสียงผู้หญิงร้อง จึงรู้ว่าเป็นเทพธิดามาจุติ จึงเชิญนางมัทนาและสัญญาว่าจะปกป้องดูแล จึงทำการย้ายได้สำเร็จ หลังจากนั้นในคืนวันเพ็ญ ท้าวชัยเสนได้เสด็จออกล่าป่าและแวะมาพักที่อาศรมของฤษี เมื่อได้พบกับนางมัทนาที่แปลงร่างเป็นคนในคืนวันเพ้ญพอดีก็ตกหลุมรัก นางมัทนาก็มีใจเสน่หาต่อท้าวชัยเสนด้วยกัน ทั้งสองสาบานรักต่อกันทำให้นางมัทนาไม่ต้องกลับไปเป็นดอกไม้อีก

นางมัทนาตามท้าวชัยเสนกลับเมือง ทำให้นางจัณฑีผู้เป็นมเหสีโกรธมากจึงวางแผนใส่ร้ายว่านางเป็นชู้กับศุภางค์ผู้เป็นแม่ทัพ ท้าวชัยเสนเมื่อได้ยินข่าวก็เข้าใจผิด จึงสั่งประหารชีวิตทั้งคู่ แต่ทหารที่ได้รับคำสั่งมาประหารกลับรู้สึกสงสารนางจึงปล่อยไป นางมัทนากลับมายังป่าหิมะวันด้วยความโศกเศร้า จึงอ้อนวอนต่อเทพบุตรสุเทษณ์ให้มาช่วย เมื่อสุเทษณ์ลงมาก็ยื่นข้อเสนอให้นางมาเป็นคนรักเพื่อที่จะพากลับขึ้นไปบนสวรรค์ แต่นางมัทนายังคงปฏิเสธไม่รับรักอยู่ สุเทษณ์จึงโกรธและสาปให้นางมัทนากลายเป็นกุหลาบไปตลอดกาล ฝ่ายท้าวชัยเสนเมื่อเสร็จจากศึกสงครามก็เพิ่งรู้ความจริงว่านางมัทนาโดนใส่ร้ายจึงออกตามหา ก่อนจะพบว่านางได้กลายเป็นกุหลาบไปแล้ว จึงสั่งให้คนนำมาปลูกไว้ที่เมืองและดูแลไม่ให้ดอกไม้นี้สูญพันธุ์มาจนถึงทุกวันนี้

 

สรุปเนื้อเรื่อง

 

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

 

วรรณคดีอันทรงคุณค่าเรื่องนี้ได้สะท้อนเรื่องราวความรักในหลาย ๆ แง่มุม ทำให้เราได้เห็นโทษของการรักมากเกินไปมากขึ้นทำให้เกิดความทุกข์ เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น น้อง ๆ จะได้เรียนรู้ตัวบทและคุณค่าของเรื่องนี้ในบทต่อไปค่ะ สำหรับบทเรียนในวันนี้น้อง ๆ สามารถตามดูการสอนของครูอุ้มได้ รับรองว่าจะสามารถจดจำเนื้อเรื่องของวรรณคดีได้อย่างครบถ้วน ไม่พลาดในการทำข้อสอบแน่นอนค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ศึกษาตัวบทและคุณค่า

หลังได้เรียนรู้ความเป็นมาและเรื่องย่อของบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก กันไปแล้ว ในบทนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจในเรื่อง พร้อมทั้งจะได้ตามไปดูคุณค่าของเรื่องว่ามีอะไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้ว ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ศึกษาตัวบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก     เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์       พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน กันนะคะ ซึ่งเราจะเจอประโยคเหล่านี้ตั้งแต่ตื่นนอน ทานข้าว เดินไปโรงเรียน ไปดูหนัง ข้ามถนน ข้ามสะพาน ขึ้นแท็กซี่ และในกิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย หากว่าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence     คือประโยคที่เจอบ่อยเมื่อต้องพูด ให้คำคำปรึกษา

โจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม

จากบทความที่แล้วเราได้วิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวกและการลบทศนิยมไปแล้ว บทความนี้จึงจะเป็นการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวกับการคูณ รวมไปถึงการแสดงวิธีทำที่จะทำให้น้อง ๆ เข้าใจ และสามารถนำไปใช้ได้จริง

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ และเลขยกกำลัง

จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ หรือราก เขียนแทนด้วย อ่านว่า รากที่ n ของ x หรือ กรณฑ์ที่ n ของ x เราจะบอกว่า จำนวนจริง a เป็นรากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ เช่น 2 เป็นรากที่

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

สัญลักษณ์แทนการบวก

สัญลักษณ์แทนการบวก สัญลักษณ์แทนการบวก หรือ   เรียกว่า ซิกมา ( Sigma ) เราใช้เพื่อลดรูปการบวกกันของตัวเลข เนื่องจากว่าบางทีเป็นการบวกของจำนวนตัวเลข 100 พจน์ ถ้ามานั่งเขียนทีละตัวก็คงจะเยอะไป เราจึงจะใช้เครื่องหมายซิกมามาใช้เพื่อประหยัดเวลาในการเขียนนั่นเอง เช่น 1 + 2 + 3 + 4 +5  สามารถเขียนแทนด้วย

เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา
เรื่องย่อ บทละครพูด คํา ฉันท์เรื่อง มัทนะ พาธา

Phrasal Verbs: กริยาวลีในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับ two-word verbs และ three-word verb ในภาษาอังกฤษกันครับ จะเป็นอย่างไรเราไปดูกันเลย

บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด

มัทนะพาธาเป็นเรื่องที่สมมุติว่าเป็นกำเนิดของต้นกุหลาบ มีการผูกเรื่องให้เกิดความ ขัดแย้งซึ่งเป็นปมปัญหาของเรื่อง กล่าวคือ สุเทษณ์หลงรักมัทนา แต่มัทนาไม่รับรัก สุเทษณ์จึงกริ้ว มัทนาต้องลงมาเกิดในโลกมนุษย์เป็นการชดใช้โทษ เมื่อพบรักกับชัยเสน ความรักก็ไม่ราบรื่น

แนวคิดสำคัญของบทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา คือข้อใด

ท้าวชัยเสนเสด็จมาถึงอาศรมของฤๅษี ทอดพระเนตรเห็นนางมัทนากลายเป็นต้นกุหลาบ จึงได้แต่เพียงให้ทหารขุดต้นกุหลาบนั้น และทรงนำไปปลูกที่กรุงหัสตินาปุระ เพื่อจะได้ทรงอยู่ใกล้ชิดนางมัทนาตลอดไป แนวคิดสำคัญของเรื่องมัทนะพาธา ตรงกับแนวคิดในพุทธภาษิตที่ว่า ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์

บทละครพูดเรื่องมัทนะพาธามีตัวละครสําคัญใดบ้าง

การศึกษาคนควาบทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธานี้จะนําหลักอริยสัจสี่มาวิเคราะห ตัวละคร จํานวน 9 ตัว คือ 1. มัทนา 2. ทาวชัยเสน 3. สุเทษณะเทพบุตร 4. พระนางจัณฑี 5. พระกาละทรรศิน 6. ทาวมคธ 7. ศุภางค 8. อราลี 9. ปริยัมวะทา

ละครพูดคำฉันท์มีเพียงเรื่องเดียวคือเรื่องอะไรบ้าง

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดละครพูดตามแบบตะวันตกมาก ได้ทรง พระราชนิพนธ์บทละครพูดไว้หลายเรื่อง แต่ส่วนใหญ่เป็นร้อยแก้ว ที่เป็นร้อยกรองก็เป็น บทละครพูดคำกลอน มีเพียงเรื่องเดียวที่ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เป็นบทละครพูดคำฉันท์ คือเรื่อง มัทนะพาธา หรือตำนานแห่งดอกกุหลาบ