เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้ สรุป

ห น้ า | 1

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 2

รายวิชาดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหสั วิชา ว33265 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ใช้ประกอบการเรียนรู้หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 16 เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้

สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ 13 – 14 (Space Technology and Application)

ใบความรทู้ ี่ 16
เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศและการประยกุ ตใ์ ช้

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายการทางานของกล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นตา่ ง ๆ
2. อธิบายการทางานและการใชป้ ระโยชน์ของดาวเทียม ยานอวกาศ และสถานีอวกาศ
3. นาเสนอการประยุกต์เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ในด้านต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั และสงั คม

ภาพที่ 1 เทคโนโลยีอวกาศต่าง ๆ
ทม่ี า : http://rittee1834.blogspot.com/2018/12/vs.html

เทคโนโลยีอวกาศ (Space Technology) คือ เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นการสารวจอวกาศ หรอื
ใชศ้ กึ ษาโลกของเราจากอวกาศ ท้ังด้านดาราศาสตร์ อวกาศ และปรากฏการณต์ ่าง ๆ ในเอกภพ
หรอื นามาประยุกต์ใชใ้ ห้สอดคล้องกบั ทรพั ยากรธรรมชาตบิ นโลกและเกิดประโยชน์ต่อการดารง
ชีวติ ของมนษุ ย์ เชน่ การสารวจทรัพยากรและสภาพอากาศของโลก การสอ่ื สารทางไกลผา่ น
ดาวเทียม การทาแผนที่

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 3

การพัฒนาของเทคโนโลยีอวกาศเป็นการชี้ให้เห็นถึงความสามารถของมนุษย์ที่พยายาม
ทาความเข้าใจธรรมชาติและความเป็นมาของเอกภพ ซึ่งสิ่งที่จัดเป็นเทคโนโลยีอวกาศ ได้แก่
กล้องโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์วิทยุ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ดาวเทียม จรวด ยานอวกาศ
กระสวยอากาศ สถานีอวกาศ สถานีควบคุมดาวเทียม รวมไปถึงการพัฒนาด้านอาหาร
และอุปกรณ์เพือ่ การดารงชีวติ ของนกั บินอวกาศ

16.1 เทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจอวกาศ

ในการสารวจอวกาศมีการใช้เทคโนโลยีอวกาศรว่ มกนั หลายอย่าง
เชน่ กล้องโทรทรรศน์ ดาวเทียม สถานีอวกาศ จรวด ระบบขนส่งอวกาศ โดยกล้อง
โทรทรรศน์เปน็ เทคโนโลยีอวกาศยุคแรกที่เปิดมุมมองบนท้องฟ้าได้มากกว่าการสังเกต
ด้วยตาเปล่าต่อมามีการพัฒนากล้องโทรทรรศน์ (Telescope) ให้มีประสทิ ธิภาพมากขึ้น

16.1.1 กล้องโทรทรรศนท์ ี่ใช้ศึกษาวตั ถทุ ้องฟ้าในชว่ งความยาวคลื่นตา่ ง ๆ
กล้องโทรทรรศน์ยุคแรกใช้สงั เกตการณ์ในชว่ งคลื่นแสงทม่ี องเห็น (Visible

light) เป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนง่ึ ต่อมานักดาราศาสตร์ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ที่
สามารถสงั เกตวัตถทุ ้องฟ้าในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้

กล้องโทรทรรศน์ (Telescope) เปน็ อปุ กรณ์ที่ใชส้ ่องขยายวัตถทุ ้องฟ้าให้
มองเหน็ ได้ชัดและมีขนาดใหญ่ขนึ้ โดยอาศัยหลกั การสะท้อนแสงของกระจกและการหกั เหแสง
ผา่ นเลนส์ ในปัจจบุ นั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทาให้มนุษย์สามารถสร้างกล้องโทรทรรศน์ทีม่ ี
ประสิทธิภาพสูงเพือ่ สารวจอวกาศได้กว้างไกลขึน้ หลักการของกล้องโทรทรรศนไ์ ม่ใช้การขยาย
ภาพ แตเ่ ป็นการรวมแสงให้มากขึ้นเพือ่ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

กล้องโทรทรรศน์ตวั แรกประดิษฐ์ข้นึ เม่อื พ.ศ.2151
โดย ฮานส์ ลปิ เพอร์เชย์ (Hans Lippershey) ช่างทาแว่นตา
ชาวเนเธอร์แลนด์ ฮานส์ได้นาเลนส์นูน 2 ชนิ้ มาวางเรียงกัน
ให้ได้ระยะที่เหมาะสม แล้วจะสามารถขยายภาพทีอ่ ยู่ไกล ๆ ได้

ภาพท่ี 2 ฮานส์ ลิปเพอร์เชย์ (Hans Lippershey)
ท่มี า : http://old.narit.or.th/index.php/astronomy-article/94-2012-11-22-02-29-30

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 4

หลงั จากน้ัน 1 ปีต่อมา กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ (Galileo Galilei) ได้ประดษิ ฐ์กล้องโทรทรรศน์
ของตนเองข้ึนเพื่อสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ซึ่งเป็นจดุ เริม่ ต้นในการสารวจท้องฟ้าโดยใช้
กล้องโทรทรรศน์ กาลิเลโอได้พฒั นากล้องโทรทรรศนจ์ นมกี าลงั ขยายถึง 30 เท่า ซึ่งมปี ระสิทธิ-
ภาพมากกว่ากล้องของฮานส์เปน็ อย่างมาก ตวั กล้องประกอบด้วยเลนส์ 2 ชิน้ โดยใช้เลนส์นนู เป็น
เลนส์ใกล้วัตถแุ ละเลนส์เว้าเปน็ เลนส์ใกล้ตา ทาให้ได้ภาพหวั ต้ัง แตก่ ล้องโทรทรรศน์ทีก่ าลเิ ลโอ
สร้างข้ึนมีข้อเสีย คือ ภาพเกิดความคลาดสีมาก โดยจะเกิดสีรงุ้ บริเวณขอบภาพจึงทาให้
ภาพไมช่ ัดเจน และการใช้เลนส์เวา้ ทาใหไ้ ดก้ าลงั ขยายนอ้ ยกว่าท่ีควร

ภาพที่ 3 กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) (ซ้ายมือ) และกล้องโทรทรรศน์
ทก่ี าลิเลโอสรา้ งขึ้นเพือ่ ใช้สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ (ขวามือ)

ทม่ี า : http://old.narit.or.th/index.php/astronomy-article/94-2012-11-22-02-29-30

หลังจากน้ัน โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler)
ได้พัฒนากล้องต่อจากกาลิเลโอโดยใช้เลนส์นูนเปน็ เลนส์ใกล้ตา
ซึง่ ทาให้ภาพทีไ่ ด้เปน็ ภาพหัวกลับขนาดใหญ่ข้ึนและมีมุมมอง
ภาพกว้างข้ึน กล้องโทรทรรศน์ที่มรี ะบบเลนส์เช่นนจี้ งึ ถูกพฒั นา
อย่างตอ่ เนือ่ งและใช้งานมาจนถึงปัจจุบนั

ภาพท่ี 4 โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler)
ท่มี า : https://th.wikipedia.org/wiki.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 5

การสงั เกตวัตถุท้องฟ้าสามารถสงั เกตได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่ตง้ั อยู่บนพื้นโลกและ
กล้องโทรทรรศน์ที่โคจรอยู่เหนอื ชั้นบรรยากาศของโลก กล้องโทรทรรศน์ที่สงั เกตการณ์จากบน
พืน้ โลกน้ันเป็นกล้องโทรทรรศน์ทีใ่ ชศ้ กึ ษาวัตถุท้องฟ้าในช่วงความยาวคลื่นที่สามารถเคลื่อนที่
ผา่ นช้ันบรรยากาศลงมาถึงพืน้ โลกได้ ส่วนกล้องโทรทรรศน์ที่ตง้ั อยู่บนอวกาศนนั้ สามารถใช้
ศกึ ษาวัตถทุ ้องฟ้าได้ทุกช่วงความยาวคลื่น ดังภาพท่ี 5

ภาพที่ 5 การดูดกลืนคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ ในชั้นบรรยากาศโลกท่รี ะดับความสูงต่าง ๆ
ท่มี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

กล้องโทรทรรศน์ทีส่ งั เกตการณ์จากบนพืน้ โลก เปน็ กล้องโทรทรรศน์ที่ใชศ้ กึ ษาวตั ถุ
ท้องฟ้าในช่วงความยาวคลื่นแสงที่มองเหน็ และช่วงคลื่นวิทยุ ซึง่ เป็นช่วงความยาวคลืน่ ทีท่ ะลุผ่าน
ช้ันบรรยากาศลงมาถึงพื้นโลกได้ จาแนกเป็น กล้องโทรทรรศน์ช่วงคลื่นแสงท่ีมองเห็น
(Visible light Telescope) และกล้องโทรทรรศนว์ ิทยุ (Radio Telescope) ดังน้ี

. กลอ้ งโทรทรรศนช์ ว่ งคลื่นแสงทม่ี องเห็น (Visible light Telescope)
เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ใชส้ าหรับตรวจจับและรวบรวมปริมาณของคล่นื แมเ่ หล็ก-

ไฟฟ้าของแสงท่ีมองเห็น (Visible light) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร
ซึ่งในช่วงแสงที่มองเห็นนี้ ตาของมนุษย์สามารถสังเกตเห็นเป็นแสงสีต่าง ๆ ได้ สามารถใช้ใน
การถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ เช่น ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ เนบิวลา กาแล็กซี
โดยกล้องโทรทรรศน์ช่วงคลน่ื แสงที่มองเห็นแบ่งได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ ตามหลกั การรวมแสง คือ

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 6

กล้องโทรทรรศนแ์ บบหกั เหแสง (Refracting Telescope) และกลอ้ งโทรทรรศน์แบบ
สะท้อนแสง (Reflecting Telescope) มีรายละเอียดดังน้ี

1.1. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง (Refracting Telescope) เปน็ กล้อง
โทรทรรศน์ทีใ่ ชเ้ ลนส์นนู เป็นเลนสใ์ กล้วตั ถุ (Objective lens) และเลนสใ์ กลต้ า (Eyepiece)
(ดังภาพท่ี 6) ภาพที่เห็นเปน็ ภาพเสมอื นหัวกลบั กบั วัตถุ เหมาะสาหรับใช้สังเกตและถ่ายภาพผวิ
ของดวงจันทร์ วตั ถทุ ี่มคี วามสว่างปรากฏมาก ๆ และดาวเคราะหต์ ่าง ๆ

ภาพที่ 6 กล้องโทรทรรศนแ์ บบหกั เหแสงและหลักการทางาน
ทม่ี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

- เลนส์ใกล้วตั ถอุ ยู่หน้ากล้อง ทาหนา้ ที่หักเหแสงมารวมกนั ที่จดุ โฟกสั
- เลนส์ใกล้ตาอยู่หลงั จดุ โฟกสั ของเลนส์ใกล้วัตถเุ ล็กน้อย ทาหนา้ ที่ขยายภาพ

กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจะมีลากล้องค่อนข้างยาว โดยความยาวของ
กล้องมีคา่ เท่ากบั ผลรวมของความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วตั ถุและเลนส์ใกล้ตา

- ขอ้ ดี คือ มีสว่ นประกอบที่ไม่ซับซ้อน จงึ สรา้ งได้ง่ายและใช้งานง่าย มีเลนส์ปิด
ลากล้องทั้งด้านหนา้ และท้ายลากล้องจึงป้องกนั ฝุ่นได้และดูแลรักษาได้ง่าย

- ข้อเสีย คือ เลนส์ที่ใช้กับกล้องชนิดนี้จะต้องแก้ไขเร่ืองความคลาดสี โดยใช้
เลนส์ประกอบซึ่งมีราคาแพงมาก และโดยท่วั ไปเลนส์มีน้าหนกั มาก ทาให้ไม่สามารถสร้างกล้องที่
มีหน้าเลนส์ขนาดใหญ่ ๆ ได้ กาลังขยายของกล้องหาไดจ้ ากสมการ

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 7

1.2 กล้องโทรทรรศนแ์ บบสะทอ้ นแสง (Reflecting Telescope) สร้างข้นึ ครง้ั แรก
โดยเซอร์ไอแซก นิวตัน เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้กระจกเว้าเป็นกระจกปฐมภูมิ (Primary
Mirror) ทาหน้าที่รับแสง และกระจกเงาราบเป็นกระจกทุติยภูมิ (Secondary Mirror) (ดัง
ภาพท่ี 7) ทาหน้าที่เป็นเลนส์ใกล้วัตถุ และมีเลนส์ใกล้ตา ภาพที่เห็นเป็นภาพเสมือนหัวกลับกับ
วัตถุ เหมาะสาหรับใช้สงั เกตวตั ถุท้องฟ้าทีม่ คี วามสว่างไม่มาก เชน่ เนบิวลา กาแลก็ ซี

ภาพที่ 7 กลอ้ งโทรทรรศน์แบบสะทอ้ นแสงและหลักการทางาน
ท่มี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

- ประกอบด้วยกระจกเว้ารปู พาราโบลาเปน็ กระจกหลัก ทาหน้าที่รับแสงจากวัตถุ
แล้วสะท้อนไปยงั กระจกรอง แล้วจึงสะท้อนไปยงั เลนส์ใกล้ตา

- ข้อดี คือ กระจกทีใ่ ชร้ ับแสงมีน้าหนกั เบากว่าเลนส์มาก จงึ สามารถสร้างให้หน้า
กล้องมีขนาดใหญ่มาก ๆ ได้ ทาให้สารวจวัตถุที่มีความสว่างน้อย ๆ ได้ดีขึ้น และมีราคาถูกกว่า
เม่ือเทียบกับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่มีขนาดหน้ากล้องเท่ากัน และยังสามารถนา
หลกั การน้ีไปใช้สรา้ งกล้องโทรทรรศน์อวกาศให้รับสเปกตรัมของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงอน่ื ๆ
นอกจากคลืน่ แสงได้ เช่น ช่วงอินฟราเรด ช่วงอัลตราไวโอเลต และกล้องชนิดนจี้ ะไม่เกิดปญั หา
เรือ่ งความคลาดสี เพราะตามหลักการสะท้อน แสงทุกช่วงความยาวคลื่นจะสะท้อนออกจาก
กระจกไปพร้อม ๆ กนั กาลังขยายของกล้องหาได้จากสมการ

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 8

นอกจากนีก้ ล้องโทรทรรศน์อาจแบ่งตามหลกั การทาใหเ้ กิดภาพ แบง่ ได้ 3 ชนิดใหญ่ๆ
คือ กล้องโทรทรรศน์แบบหกั เหแสง (ดงั รายละเอียด หน้า 5) กล้องโทรทรรศนแ์ บบสะท้อนแสง
(ดงั รายละเอียด หน้า 6) และกล้องโทรทรรศน์แบบผสม มีรายละเอียดดังน้ี

กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบผสม (Catadioptic Telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์
คณุ ภาพสูงที่ใช้หลักการหักเหและสะท้อนของแสงร่วมกัน ภายในกล้องประกอบด้วยกระจกโค้ง
2 ชุด ทีส่ ะท้อนแสงกลบั ไปกลับมาจงึ ช่วยใหล้ ากล้องมีขนาดสั้น และมีเลนส์ด้านหน้ากล้องทา
หนา้ ที่ปรับแก้โฟกัสทีเ่ กิดจากความโค้งของกระจกหลกั กล้องชนิดนี้แบ่งออกเป็น 2 แบบ
ไดแ้ ก่ ชมิดต์-แคสสิเกรนส์และมกั ซตู อฟ

(1). กล้องโทรทรรศน์ชมิดต์-แคสสิเกรนส์ (Schmidt-Cassegrain
Reftector) มหี ลกั การทางาน คือ แสงจะตกกระทบที่กระจกหลกั แล้วสะท้อนไปยังกระจกรอง
ซึ่งเป็นกระจกนูนชิ้นเล็กอยู่ที่ดา้ นหน้าของตัวกล้อง แล้วสะท้อนแสงผ่านช่องทีอ่ ยู่ตรงกลางของ
กระจกหลกั เข้าสู่เลนส์ใกล้ตาทีอ่ ยู่ดา้ นหลังของกระจกหลกั (ดงั ภาพท่ี 8)

ภาพที่ 8 กล้องโทรทรรศน์ชมิดต์-แคสสิเกรนส์ (Schmidt-Cassegrain Reftector)
ท่มี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์
และอวกาศ ม.6.

(2). กลอ้ งโทรทรรศน์มักซูตอฟ (Maksutov Reftector) เป็นกล้องทีน่ กั ดูดาว
ใช้กนั มาก มีหลักการทางานคล้ายกับกล้องโทรทรรศน์ชมิดต์-แคสสิเกรนส์ แตม่ ีกระจกปรบั
ความโค้งปิดอยู่ด้านหน้าของตัวกล้อง กล้องชนิดนีม้ ักจะสั้นป้อมกว่าแบบชมิดต์-แคสสิเกรนส์
เลก็ น้อย (ดังภาพท่ี 9)

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 9

ภาพที่ 9 กล้องโทรทรรศนม์ กั ซตู อฟ (Maksutov Reftector)
ทม่ี า : มาลี สุทธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์

และอวกาศ ม.6.

ระบบฐานต้งั กล้องโทรทรรศน์
ฐานตั้งกลอ้ งโทรทรรศน์ (Telescope Mount) เปน็ อปุ กรณ์สาคญั ทีท่ าให้กล้อง

หมุนไปในทิศทางที่ถูกต้องแม่นยา และติดตามวัตถทุ ีต่ อ้ งการได้ ฐานตั้งกล้องตอ้ งมีความมนั่ คง
เป็นพิเศษ เพราะมมุ ที่ใชใ้ นการหนั ฐานตั้งกล้องนน้ั น้อยมาก ๆ หากฐานตั้งกล้องส่ันเพียงเลก็ น้อย
อาจทาให้ภาพเคลื่อนไปจากวตั ถทุ ีส่ นใจ หรอื อาจสนั่ ไหวมากจนไม่สามารถดหู รอื ถ่ายภาพได้
ฐานตั้งกลอ้ งโทรทรรศน์ท่ีใชก้ ันท่ัวไป ได้แก่ ฐานระบบขอบฟ้าและฐานระบบศูนยส์ ตู ร

1. ฐานระบบขอบฟ้า (Alt-Azimuth Mount) เปน็ ระบบทีเ่ รยี บงา่ ย มีแกนหมนุ 2
แกนตามระบบขอบฟ้า คือ แกนหมุนแนวราบสาหรับปรบั ค่า มมุ ทิศ หรอื มุมกวาด (Azimuth)
และแกนหมนุ ในแนวดิง่ สาหรับปรับค่า มมุ เงย หรอื มุมสูง (Altitude) ฐานตงั้ กล้องชนิดน้ีเหมาะ
สาหรับการใช้งานทั่วไปไม่ต้องใช้กาลงั ขยายสูง เช่น ใช้กับกล้องถ่ายรูปทว่ั ไป ฐานต้ังกล้องแบบนี้
สร้างง่าย มีราคาถกู แตไ่ ม่เหมาะกบั การใชง้ านทีต่ ้องติดตามดาว เนื่องจากทิศทางการหมุนของ
แกนไม่สอดคล้องกบั ทิศทางการเคลื่อนที่ของดาว แตจ่ ะเหมาะกับการถ่ายภาพดาราศาสตร์ที่
อิงระนาบขอบฟ้า เชน่ ภาพของดาวพุธที่ปรากฏใกล้ขอบฟ้า ภาพดาวเคลือ่ นที่เป็นเส้นยาว ภาพ
ทางช้างเผือก หรอื ภาพทีใ่ ชเ้ วลาเปิดหนา้ กล้องค่อนขา้ งสน้ั เชน่ ภาพดวงอาทิตย์ ภาพดวงจนั ทร์
ภาพสรุ ิยปุ ราคา ภาพจันทรปุ ราคา (ดงั ภาพท่ี 10)

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 10

ภาพที่ 10 ฐานตง้ั กล้องโทรทรรศนร์ ะบบขอบฟา้
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชา

เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.6.

2. ฐานระบบศูนย์สตู ร (Equatorial Mount) ฐานตงั้ กล้องชนิดนเี้ หมาะสาหรับ
การใชง้ านทางดาราศาสตร์ มีแกนหมุน 2 แกนตามระบบศูนย์สตู ร การติดตงั้ ครั้งแรกต้องตง้ั ค่า
ให้ แกนไรตแ์ อสเซนชนั (Right Ascension : RA) ชไี้ ปยังจดุ ข้ัวฟ้าเหนอื สว่ นอีกแกนหนง่ึ จะตั้ง
ฉากกับแกนแรก เรียกว่า แกนเดคลิเนชัน (Declination Axis : DA) ซึ่งใช้หมนุ กล้องส่องไปยงั
เป้าหมาย เมือ่ ใชง้ าน แกนไรตแ์ อสเซนชัน จะหมนุ ด้วยความเรว็ เท่ากับการหมนุ รอบตัวเองของ
โลกเพื่อตดิ ตามดาวที่ตอ้ งการสงั เกตใหป้ รากฏภาพอยู่ตลอดเวลา ฐานระบบศนู ย์สตู รจงึ มกี ลไกที่
ซบั ซ้อนกว่าฐานระบบขอบฟ้า มขี นาดใหญ่และมีน้าหนักมาก เหมาะกับกล้องโทรทรรศน์ที่มี
กาลังขยายสูง รวมถึงการสังเกตติดตามดาวและการถ่ายภาพดาราศาสตร์ (ดังภาพท่ี 11)

ภาพที่ 11 ฐานตั้งกล้องโทรทรรศน์ระบบศูนยส์ ตู ร
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชา

เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 11

ปัจจุบนั กล้องโทรทรรศน์ตามหอดดู าวขนาดใหญ่ทั่วโลกนิยมใช้กล้องโทรทรรศน์แบบ
สะท้อนแสง เน่ืองจากการผลิตกระจกขนาดใหญ่สามารถผลิตได้ง่ายและมีราคาถูกกว่าเลนส์
ขนาดเท่ากนั ประเทศไทยมีกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงขนาดใหญ่ทีส่ ุดมีเส้นผ่านศนู ย์กลาง
2.4 เมตร ตั้งอยู่ทีห่ อดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา (หอดูดาวแหง่ ชาติ) อุทยาน
แหง่ ชาติดอยอินทนนท์ จังหวดั เชียงใหม่ (ดังภาพท่ี 12)

ภาพที่ 12 หอดดู าวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา (หอดดู าวแห่งชาติ)
อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่

ท่มี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 5 ม.6.
. กลอ้ งโทรทรรศน์วิทยุ (Radio Telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ใชต้ รวจจบั

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลื่นวิทยุและไมโครเวฟมีความยาวคลื่นประมาณ 1 เซนติเมตร ถึง
ประมาณ 20 เมตร เช่น ดาวฤกษ์ ดาวนิวตรอน หลุมดา พัลซาร์ เควซาร์ ซูเปอร์โนวา รวมถึง
รังสไี มโครเวฟพืน้ หลงั ภาพที่ได้จะแสดงความเข้มของคลื่นวิทยทุ ี่แตกต่างกนั ในแตล่ ะพ้ืนที่

ภาพที่ 13 กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
ทม่ี า : https://mgronline.com/science/detail/9610000081091

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 12

คารล์ แจนสกี (Karl Jansky) วิศวกรชาวอเมริกัน ได้เสนอแนวคิดเกีย่ วกบั
การรับสัญญาณวิทยุจากนอกโลก ได้รับความสนใจอย่างมากจนพฒั นาเป็นสาขาวิชาดารา-
ศาสตร์วิทยุ (Radio Astronomy) เนื่องจากคลื่นวทิ ยุจากนอกโลกมีสญั ญาณที่ออ่ นมาก กล้อง
โทรทรรศน์วทิ ยุ จงึ ตอ้ งมจี านรับสญั ญาณขนาดใหญ่เพื่อให้มพี ืน้ ทีใ่ นการรับสญั ญาณมากขึ้น
และสถานที่ติดตง้ั กล้องโทรทรรศน์วทิ ยคุ วรอยู่หา่ งไกลจากชมุ ชนและอยู่ในหบุ เขา เพือ่ ช่วยปิดก้ัน
สญั ญาณและหลีกเลี่ยงสัญญาณบนพื้นโลกที่รบกวนคลื่นวิทยุ

กลอ้ งโทรทรรศนว์ ิทยมุ ีข้อดีมากกว่ากล้องโทรทรรศน์ทัว่ ไป คือ กล้องโทรทรรศน์
วิทยุสามารถใช้งานได้ตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน หรอื แมใ้ นสภาวะที่ท้องฟ้ามีเมฆกย็ ัง
สามารถใช้งานได้ กล้องโทรทรรศน์วิทยแุ บ่งออกได้ 2 ประเภท คือ กลอ้ งโทรทรรศนว์ ิทยุ
แบบจานเดีย่ ว และกล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบหลายจาน

1. กลอ้ งโทรทรรศน์วิทยุแบบจานเดีย่ ว (Single Dish Telescope) ซึ่งเปน็ กล้อง
โทรทรรศน์วทิ ยทุ ีม่ จี านขนาดใหญ่เพียงจานเดียว เช่น กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุเอฟเฟลส์แบร์ค
(Effelsberg) ประเทศเยอรมนี เส้นผ่านศนู ย์กลาง 100 เมตร กล้องโทรทรรศนว์ ิทยกุ รีนแบงค์
(Green Bank) ประเทศสหรัฐอเมริกา เส้นผ่านศูนย์กลาง 100 เมตร กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
อาเรซิโบ (Arecibo) ประเทศเปอร์โตริโก เส้นผา่ นศนู ย์กลาง 300 เมตร และกล้องโทรทรรศน์วทิ ยุ
ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน คือ กล้องโทรทรรศน์วิทยุฟาสต์ (Five Hundred Meter Aperture
Spherical Telescope : FAST) ประเทศจีน มีเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 500 เมตร

ภาพที่ 14 กล้องโทรทรรศนว์ ิทยฟุ าสต์ ประเทศจีน
ท่มี า : https://www.sciways.co/fast-radio-burst/

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 13

2. กลอ้ งโทรทรรศนว์ ิทยุแบบหลายจาน (Multiple Dish Telescope) ประกอบด้วย
จานขนาดเล็กหลายจาน เพื่อให้เกิดพื้นที่รบั คลื่นทีใ่ หญ่ข้ึน โดยเชือ่ มโยงข้อมูลจากจานแต่ละตวั
ด้วยหลกั การแทรกสอดของคลืน่ หรอื ระบบอินเทอร์เฟอโรเมทรี (Interferometry) จึงมีการทางาน
เสมือนเป็นจานขนาดใหญ่จานเดียว หรืออาจใชง้ านแต่ละจานแยกกันกไ็ ด้

ข้อดี คือ จานขนาดเล็กมีความคล่องตัวในการปรบั ทิศทาง และผวิ สะท้อนของจาน
ค่อนขา้ งเรียบ ทาให้สามารถรบั ช่วงคล่นื สั้นระดบั ตา่ กว่า 1 เซนติเมตร ได้ละเอียดและแม่นยา
มากกว่าจานขนาดใหญ่ ได้แก่ กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุวีแอลเอ (Very Large Array : VLA) ประเทศ
สหรฐั อเมริกา ประกอบด้วยกล้องจานเดี่ยวขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 25 เมตร จานวน 27 ตวั
เรียงกันเป็นอักษรวาย (Y) ครอบคลมุ พืน้ ทีต่ ามแนวยาว 21 กิโลเมตร กล้องโทรทรรศนว์ ิทยอุ ัลมา
(Atacama Large Millimeter Array : ALMA) ประเทศชิลี เป็นความร่วมมอื ระหว่างประเทศสหรัฐ-
อเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์จานเดีย่ วขนาด12 เมตร
จานวน 50 ตวั

ภาพที่ 15 กล้องโทรทรรศนว์ ิทยุวีแอลเอ ประเทศสหรฐั อเมริกา
ท่มี า : https://pantip.com/topic/38167093

ภาพที่ 16 กล้องโทรทรรศนว์ ิทยอุ ลั มา
ประเทศชิลี

ท่มี า : http://thaiastro.nectec.or.th/news/3439/

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 14

กลอ้ งโทรทรรศน์วิทยุ ประกอบด้วยส่วนสาคญั 4 ส่วน ได้แก่ จานสะท้อนสญั ญาณ
ตัวรบั สญั ญาณ เครื่องขยายสัญญาณ และเครื่องบันทึกและแสดงผล โดยมีขน้ั ตอนการทางาน
ดงั น้ี

ภาพที่ 17 การทางานของกล้องโทรทรรศนว์ ิทยุ
ทม่ี า : มาลี สุทธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

กล้องโทรทรรศนอ์ วกาศ (Space Telescope) คือ อปุ กรณ์สาหรับสงั เกตการณ์ทาง
ดาราศาสตร์ที่อยู่ในวงโคจรของโลก ทาหน้าทีส่ งั เกตและสารวจวัตถุท้องฟ้าที่อยู่หา่ งไกลมาก ๆ
ช่วยใหม้ นุษย์เข้าใจเอกภพได้ดียิ่งขนึ้ เน่อื งจากสามารถศกึ ษาในช่วงสเปกตรัมของคลืน่ แม่เหล็ก
ไฟฟ้าได้หลายช่วง ขณะทีบ่ นพืน้ โลกจะศกึ ษาได้เพียงช่วงคลืน่ แสงและคลื่นวิทยุ

โครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศทีส่ าคญั ขององค์การนาซา (NASA) คอื โครงการ
หอดดู าวเอก (Great Observatories) ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ 4 ชุด ได้แก่ กล้อง
โทรทรรศน์อวกาศฮบั เบิล กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา
และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเชอร์

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 15

กลอ้ งโทรทรรศน์ ที่ตงั้ อยู่บนพืน้ โลกสามารถสังเกตการณ์วตั ถุท้องฟ้าและตรวจจับคลืน่
แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าที่ทะลุผา่ นช้ันบรรยากาศลงมาถึงพ้ืนโลก แตท่ ั้งนยี้ ังมีคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าอืน่ ที่ไม่
สามารถทะลุผ่านชั้นบรรยากาศลงมาถึงพืน้ โลกได้ เช่น อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต รงั สีเอกซ์
ดงั นน้ั จงึ จาเปน็ ต้องสง่ กล้องโทรทรรศน์ข้นึ ไปโคจรเหนือช้ันบรรยากาศของโลก เรียกว่า กลอ้ ง
โทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope) กล้องโทรทรรศน์ที่ใชศ้ กึ ษาวัตถทุ ้องฟ้าในช่วงคลื่นน้ี
ได้แก่ กลอ้ งโทรทรรศนอ์ ินฟราเรด (Infrared Telescope) กลอ้ งโทรทรรศน์อลั ตราไวโอเลต
(Ultraviolet Telescope) และกลอ้ งโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ (X-ray Telescope) ดังนี้

1. กล้องโทรทรรศนอ์ ินฟราเรด (Infrared Telescope) เปน็ กล้องโทรทรรศน์ที่
สามารถรับสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่ 1 ไมโครเมตร ถึง 1
มิลลเิ มตร เชน่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเชอร์ (Spitzer Space Telescope)

- กล้องโทรทรรศนอ์ วกาศสปิตเชอร์ (Spitzer Space Telescope) (ดงั ภาพท่ี 18)
เป็นกล้องสงั เกตการณ์ในช่วงอินฟราเรดโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปพร้อม ๆ กับโลก (อยู่ในวงโคจร
เดียวกับโลก) โดยโคจรตามโลกทีร่ ะยะหา่ งประมาณ 0.1 หน่วยดาราศาสตร์ เป็นกล้องทีใ่ ชศ้ กึ ษา
วัตถทุ ี่มอี ณุ หภูมิตา่ หรอื บริเวณทีม่ กี ลุ่มแก๊สและฝนุ่ ที่หนาแนน่ เช่น บริเวณใจกลางของกาแลก็ ซี
เนบิวลา ดาวฤกษ์ที่กาลังก่อตวั ดาวเคราะหน์ อกระบบสุริยะ

ภาพที่ 18 กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเชอร์ (Spitzer Space Telescope)
ท่มี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

กล้องโทรทรรศน์อนิ ฟราเรดนีส้ ามารถติดต้ังไว้บนภเู ขาสงู เครือ่ งบิน หรอื ในอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์บนพืน้ โลกนั้นสามารถตรวจจบั คลื่นอินฟราเรดได้จากัดเพราะคลื่นอินฟราเรด

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 16

บางสว่ นถูกดดู กลืนโดยชั้นบรรยากาศ โดยกล้องโทรทรรศน์อนิ ฟราเรดนี้มีความไวในการตรวจ
จับคลื่นได้ดีถึงแมว้ ตั ถจุ ะมีอุณหภมู ิต่า จงึ เหมาะสมในการศกึ ษาดาวฤกษ์เกิดใหม่ กาแลก็ ซี
ทางช้างเผือก และกาแลก็ ซีอื่น ๆ

2. กลอ้ งโทรทรรศนอ์ ลั ตราไวโอเลต (Ultraviolet Telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์
ทีส่ ามารถรับสญั ญาณคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าที่มีช่วงความยาวคลื่นตงั้ แต่ 10 – 32 นาโมเมตร เช่น
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) (ดังภาพท่ี 19) เน่ืองจากคลื่น
อัลตราไวโอเลตถูกดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศจึงต้องส่งกล้องโทรทรรศน์ไปในอวกาศเพื่อ
ตรวจจับคลื่นดังกล่าวทั้งนี้กล้องโทรทรรศน์อัลตราไวโอเลตสามารถตรวจจับวัตถุทีม่ ีอุณหภูมสิ งู
จงึ ใชใ้ นการศกึ ษาสสารระหว่างดาว กาแลก็ ซี และองค์ประกอบของเนบิวลาดาวเคราะห์

- กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) เป็นกล้อง
โทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง โคจรที่ระดับความสูง 589 กิโลเมตร มีอุปกรณ์สาคัญ คือ กล้อง
ถ่ายภาพในช่วงอนิ ฟราเรด แสง และอลั ตราไวโอเลต เครือ่ งตรวจวัดสเปกตรัม เครื่องปรับทิศทาง
และระบบคอมพิวเตอร์ โดยอุปกรณ์ท้ังหมดสามารถควบคุมการทางานได้จากศูนย์ควบคุมบน
โลก ภาพที่ได้จากกล้องฮับเบิลจะไม่ถูกรบกวนจากช้ันบรรยากาศและแสงจากท้องฟ้าและ
สามารถสังเกตการณใ์ นช่วงอลั ตราไวโอเลตได้โดยไม่ถกู รบกวนจากช้ันโอโซนบนโลก

ภาพที่ 19 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮบั เบิล (Hubble Space Telescope)
ทม่ี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 17

กล้องโทรทรรศนอ์ วกาศฮับเบิล เป็นกล้องโทรทรรศน์ตัวแรกที่ทาให้
นักดาราศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์ทีส่ าคัญต่าง ๆ ในอวกาศ สามารถสังเกต-
การณ์ในอวกาศห้วงลึกได้ไกลถึง 14,000 ล้านปีแสง ขณะที่กล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกสามารถ
สังเกตการณ์ได้ไกลเพียง 2,000 ล้านปีแสงเท่าน้ัน ภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องฮับเบิลที่
ส่องไปยงั จุดเลก็ ๆ จุดหนง่ึ ที่มดื สนิทในทิศทางของกลุ่มดาวเตาอบ (Fornax) ได้เผยให้เหน็ ภาพ
กาแล็กซีอีกจานวนมาก (ดังภาพท่ี 20) ทาให้นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาเอกภพในยุค
แรกเริม่ ได้ดียิง่ ขึน้

ภาพที่ 20 ภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
ท่มี า : http://jajasone27.blogspot.com/p/5.html

องคก์ ารนาซา ไดเ้ ปิดเผยว่ากลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลใกลจ้ ะเสรจ็ สิ้นภารกิจ
และถกู ปลดประจาการแล้ว และมีกาหนดการส่งกลอ้ งโทรทรรศน์เจมส์ เวบบ์ เพือ่ ใช้งาน
แทนกลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศฮบั เบิล ในพ.ศ. 2564

3. กล้องโทรทรรศนร์ ังสีเอกซ์ (X-ray Telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์ทีร่ บั
สญั ญาณคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ ชี ่วงความยาวคลืน่ ตง้ั แต่ 0.1 – 10 นาโนเมตร เช่น กล้อง
โทรทรรศน์อวกาศจนั ทรา (Chandra X-Ray Observatory) (ดังภาพท่ี 21) กล้องโทรทรรศน์
ประเภทนี้สามารถตรวจจับวตั ถุท้องฟ้าทีอ่ ยู่ไกลมาก เช่น ดาวนิวตรอน เศษซากของดาวฤกษ์
ที่หลงเหลือจากซูเปอร์โนวา หลุมดาในใจกลางกาแล็กซี

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 18

ภาพที่ 21 กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา (Chandra X-Ray Observatory)
ทม่ี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศคอมปต์ นั หรอื กล้องรงั สีแกมมาคอมป์ตนั
(Comptom Gamma Ray Observatory) (ดังภาพท่ี 22) มีวงโคจรอยู่ในระดบั ตา่ ทีค่ วามสูง
450 กิโลเมตรจากพนื้ โลก เพื่อหลีกเลีย่ งผลกระทบจากรังสแี ละสนามแม่เหล็กโลกในแถบแวนอัล
เลน กล้องชนิดน้ีใชใ้ นการศึกษาเอกภพหรอื ปรากฏการณ์ท้องฟา้ ในช่วงพลงั งานสูง เช่น แฟลร์
ของดวงอาทิตย์ พลั ซาร์ ซูเปอร์โนวา เควซาร์ ดาวนิวตรอน หลุมดา สสารมดื รวมถึง

ปัญหาดา้ นการกาเนิดเอกภพ โครงสร้าง
ของกาแล็กซีทางช้างเผือก และกาแลก็ ซี
อื่น

กล้องโทรทรรศนอ์ วกาศคอมป์ตนั
ได้ถกู ปลดประจาการเมอ่ื พ.ศ. 2543
เนื่องจากชนิ้ ส่วนของกล้องเกิดความ
ขัดข้อง

ภาพที่ 22 การทางานของกลอ้ งโทรทรรศน์วิทยุ
ทม่ี า : มาลี สุทธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 19

16.1.2 ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และดาวเทยี ม
ยานอวกาศ (Spacecraft) คือ ยานพาหนะหรอื เครือ่ งยนต์ทีถ่ ูก

ส่งออกไปในอวกาศ มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ ใชส้ ารวจอวกาศ และวตั ถทุ ้องฟ้าต่าง ๆ ที่อยู่ไกลออกไป
อาจมีหรอื ไม่มีมนุษย์เดินทางไปด้วยกไ็ ด้ ยานอวกาศ มี 2 ประเภท คือ ยานอวกาศท่มี ีมนุษย์
ควบคมุ และยานอวกาศท่ีไมม่ ีมนษุ ยค์ วบคุม ดังน้ี

1. ยานอวกาศทม่ี ีมนุษย์ควบคุม (Manned Spacecraft) มกั มีขนาดใหญ่ มมี วลมาก
เพราะต้องมีพื้นที่มากพอที่มนุษย์อยู่อาศัยได้และบรรทุกปัจจัยดารงชีพต่าง ๆ เช่น อวกาศ
อาหาร ห้องน้า จึงต้องใช้จรวดบรรทุกเชื้อเพลิงจานวนมาก เพื่อขับดันยานอวกาศ ทาให้มี
ค่าใช้จ่ายสงู ยานอวกาศที่มมี นุษย์ควบคมุ ลาแรก คือ วอสตอก-1 (Vostok-1) ควบคมุ โดยยรู ิ
กาการนิ (Yuri Gagarin) นกั บินอวกาศชาวโซเวียต และยังมียานอืน่ ๆ อีก เชน่ ยานอะพอลโล
(Apollo) ยานโซยุส (Soyuz) ยานเมอร์ควิ รี (Mercury) ยานเทียนกง (Taingong)

(ก) ยานอะพอลโล (ข) ยานโซยสุ

(ค) ยานเมอรค์ ิวรี (ง) ยานเทียนกง

ภาพที่ 22 (ก), (ข), (ค) และ (ง) ยานอวกาศท่มี ีมนุษยค์ วบคุม
ท่มี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 20

2. ยานอวกาศทไ่ี มม่ ีมนุษย์ควบคมุ (Unmanned Spacecraft) มีมวลน้อยและขนาด
เล็กกว่ายานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม จึงประหยัดเชื้อเพลิงมาก ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการ
ควบคุมการทางานทั้งหมด เพื่อให้ยานอวกาศสามารถปฏิบตั ิภารกิจได้เองและแก้ไขปัญหาเฉพาะ
หน้าได้ทันท่วงที เช่น ดาวเสาร์ที่อยู่ไกลจากโลกประมาณ 1 พันล้านกิโลเมตร หรือประมาณ 1
ช่ัวโมงแสง หากส่งคลื่นวิทยุไปยังดาวเสาร์เพื่อควบคุม จะต้องใช้เวลานานถึง 1 ช่ัวโมง หากเกิด
ปัญหาขึ้นกับยานอาจแก้ไขไม่ทัน นอกจากนี้ การใช้ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุมสามารถ
เดินทางไปสารวจยังสถานที่ที่ไกลมาก ๆ ได้ หรือไปยังสถานีที่เป็นอันตรายและไม่เอื้อต่อการ
ดารงชีวติ ของมนุษย์ เนือ่ งจากการออกแบบยานไม่จาเป็นต้องคานงึ ถึงปัจจัยในการดารงชีวติ เชน่
ยานแคสซิน-ี ฮอยเกนส์ (Cassini-Huygens) สารวจดาวเสาร์ ยานวอยเอเจอร์ (Voyager) สารวจ
ระบบสรุ ิยะ ยานจโู น (Juno) สารวจดาวพฤหัสบดี ยานคิวริโอซิตี (Curiosity) สารวจดาวอังคาร

ภาพที่ 23 ตวั อยา่ งยานอวกาศท่ีไม่มีมนุษย์ควบคมุ
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 21

สถานีอวกาศ (Space Station)
สถานีอวกาศ (Space Station) เปน็ หอ้ งปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่โคจรรอบโลก
เพื่อทาการทดลองภายใต้สภาพไร้น้าหนัก ในระยะเริ่มต้นสถานีอวกาศถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เป็น
ที่อยู่ในการดารงชีวิตของมนุษย์ในอวกาศ ต่อมาได้พัฒนาเป็นห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ใน
สภาพที่ไร้น้าหนัก สถานีอวกาศท่ีใหญ่ท่ีสุด คือ สถานีอวกาศนานาชาติ (International
Space Station : ISS) (ดังภาพท่ี 24) เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างองค์การอวกาศของ
ประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น แคนาดา และรัสเซีย สถานีอวกาศนี้โคจรรอบโลกที่ระดับ
ความสงู ประมาณ 400 กิโลเมตร มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อวิจยั ทดลองทางด้านวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์
และสิ่งแวดล้อมในสภาพไร้น้าหนัก ตวั อย่างการวิจัย ทดลอง เช่น
- การศกึ ษารปู ร่างของโมเลกุลโปรตนี ในร่างกายมนุษย์ เน่อื งจากการเจรญิ เติบโตของ
ผลกึ โปรตนี ในสภาพไร้น้าหนกั จะมีขนาดใหญ่กว่าบนพืน้ โลกทาให้สามารถวิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง
ของโปรตนี ได้ง่ายขึ้น เพือ่ นามาใช้ในการพฒั นายารักษาโรค
- การพัฒนาวัคซีนป้องกันเชือ้ แบคทีเรียซาลโมเนลลา (Salmonella) ทีท่ าให้อาหาร
เป็นพิษ เนื่องจากการทดลองในสภาพไร้น้าหนักทาให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจึง
สามารถวิเคราะหผ์ ลได้งา่ ยกว่าการทดลองบนพื้นโลก
- การศึกษากระบวนการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงอย่างสมบูรณ์ซึ่งนาไปสู่การออกแบบ
เครื่องยนตท์ ีม่ ปี ระสิทธิภาพ ไม่ส่งผลเสียต่อสง่ิ แวดล้อมและสขุ ภาพของมนษุ ย์

ภาพที่ 24 สถานีอวกาศนานาชาติ
ท่มี า : https://mgronline.com/around/detail/9590000049576.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 22

ดาวเทยี ม (Satellite)
ดาวเทยี ม (Satellite) คือ อปุ กรณ์หรอื สิ่งประดษิ ฐ์ทีม่ นุษย์สร้างข้ึนซึง่ โคจรอยู่รอบ
โลก มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อใช้งานทางการทหาร การถ่ายภาพ การส่ือสาร การรายงานสภาพอากาศ
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสารวจทางธรณีวทิ ยา สงั เกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก
ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ รวมถึงการสงั เกตวัตถทุ ้องฟ้า ดวงดาว และกาแลก็ ซีตา่ ง ๆ

การสง่ ดาวเทยี ม
การส่งดาวเทียมหรอื ยานอวกาศให้ออกไปยังอวกาศหรอื โคจรรอบโลกต้องทาให้

ดาวเทียมหรอื ยานอวกาศนั้นเคลื่อนทีด่ ้วยความเรว็ มากพอทีจ่ ะเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้
เรียกความเรว็ นีว้ ่า ความเร็วหลดุ พน้ (Escape Velocity)ที่ผิวโลกความเรว็ หลุดพ้นมีคา่ ประมาณ
11.2 กิโลเมตรต่อวนิ าที หรือ 40,320 กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง โดยค่าความเร็วหลุดพ้นจะขึน้ อยู่กบั
ระยะความสูงจากพืน้ โลก

การปล่อยดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรจะต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ
วงกลมและกฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน โดยแรงดงึ ดดู ที่โลกกระทาต่อดาวเทียมจะทาหน้าที่
เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง การส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกนั้นจะต้องมีการกาหนดระดับวงโคจร
ของดาวเทียมก่อน แล้วจึงคานวณหาแรงสู่ศูนย์กลางที่กระทากับดาวเทียมและอัตราเร็วเชิงเส้น
ในวงโคจรน้ัน ๆ ซึ่งถ้าดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเชิงเส้นมากเกินไปจะทาให้ดาวเทียมหลุด
ออกจากวงโคจร ในทางกลับกันถ้าดาวเทียมเคลื่อนที่ช้าเกินไป แรงโน้มถ่วงของโลกจะดึง
ดาวเทียมให้ตกลงมายังโลก ดาวเทียมจะต้องโคจรด้วยความเร็วที่เรียกว่า ความเร็ววงโคจร
(Orbital Velocity) โดยค่าของความเร็ววงโคจรจะขึ้นอยู่กับระดับความสูงของวงโคจร
จากพนื้ โลก

ดงั นน้ั ดาวเทียมทีม่ ีระดับวงโคจรต่าจะมีความเร็ววงโคจรมากกว่าดาวเทียมที่มี
ระดับวงโคจรสูงข้ึนไป เช่น ดาวเทียมจโี ออาย-1 (Geoeye-1) โคจรทีร่ ะดับความสูงประมาณ 770
กิโลเมตรจากพืน้ โลก มคี วามเรว็ วงโคจรประมาณ 7.5 กิโลเมตรต่อวนิ าที ส่วนดาวเทียมจพี ีเอส
(Global Position System : GPS) โคจรที่ระดับความสูงประมาณ 770 กิโลเมตรจากพื้นโลก
มีความเร็ววงโคจรประมาณ 20,200 กิโลเมตรจากพื้นโลก มีความเร็ววงโคจรประมาณ 3.8
กิโลเมตรต่อวนิ าที

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 23

เม่ือดาวเทียมเคลื่อนที่ในวงโคจรไปได้ระยะหนึ่งอาจมีระดับวงโคจรที่เปลี่ยนไป
จากเดิมได้ การทาให้ดาวเทียมอยู่ในวงโคจรได้นาน ๆ โดยไม่ตกลงมายังโลกและไม่หลุดออกไป
จากวงโคจรจะต้องรักษาสมดุลของแรงที่กระทากับดาวเทียมไว้ให้เหมาะสม ที่สถานีควบคุม
ภาคพื้นดินจะคอยควบคุมดาวเทียมให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งที่ดาวเทียมจะมีระบบไอพ่นขับดันและ
ปรับทิศทางของดาวเทียมให้กลับมาอยู่ในวงโคจรได้ โดยจะทางานเม่ือดาวเทียมเริ่มโคจรห่าง
ออกจากโลกหรอื เข้าใกล้โลกมากเกินไป

วงโคจรของดาวเทยี ม
ดาวเทียมแตล่ ะดวงจะมีวงโคจรที่ระยะหา่ งจากโลกไม่เท่ากนั ขึน้ อยู่กับประเภท

และลักษณะการใชง้ านของดาวเทียมนน้ั ๆ ทีส่ ง่ ดาวเทียมขึ้นโคจรรอบโลก ทาให้แบ่งดาวเทยี ม
ตามระดบั ความสูงของวงโคจรได้ 3 ประเภท ดังน้ี

. ดาวเทียมท่ีวงโคจรอยู่ใกล้โลก (วงโคจรระดับต่า) (Low Earth Orbit :
LEO) ดาวเทียมน้ีจะโคจรที่ระยะความสูงจากพื้นโลกประมาณ 160 – 2,000 กิโลเมตร โดยโคจร
ผ่านขั้วโลกในแนวเหนือใต้และขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทาให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมพื้นทีท่ ้ังหมด
บนโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นดาวเทียมสังเกตการณ์และสารวจสภาวะแวดล้อม พันธ์ุพืช
ป่าไม้ ตาแหน่งของแร่ธาตุ โครงสร้างของช้ันหิน ลักษณะการเคลื่อนตัวของน้าแข็งและทราย
การถ่ายภาพทาแผนที่ดาวเทียมด้านอุตุนิยมวิทยา รวมถึงดาวเทียมที่ใช้ในการค้นหาและกู้ภัย
ดาวเทียมประเภทนี้ไม่สามารถใช้งานในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา เน่ืองจากมีความเร็ว
ในการเคลื่อนที่สูง แต่จะสามารถบันทึกภาพพื้นที่ที่อยู่ตามเส้นทางของวงโคจรได้ ดาวเทียมบาง
ดวงในระดับวงโคจรนี้ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลาค่าหรือรุ่งเช้า โดยจะมองเห็นเป็น
จดุ สว่างจดุ เลก็ ๆ เคลือ่ นที่ไปค่อนขา้ งเร็ว

ดาวเทียมทีว่ งโคจรอยู่ใกล้โลกนจี้ ะติดตง้ั กล้องโทรทรรศน์ในช่วงคล่นื แสง ที่
มองเหน็ กล้องโทรทรรศน์อนิ ฟราเรด และกล้องโทรทรรศน์ไมโครเวฟ แบ่งเป็นดาวเทียมสารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียมอุตุนยิ มวิทยา

. ดาวเทยี มที่วงโคจรอยรู่ ะดับกลาง (วงโคจรระดับปานกลาง)
(Medium Earth Orbit : MEO) ดาวเทียมในวงโคจรนี้ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อใช้ในการระบุ
ตาแหน่งต่าง ๆ บนโลก หรือนาทางยานพาหนะบนโลก มีวงโคจรทีร่ ะดับความสูงจากพืน้ โลกสงู
กว่า 2,000 กิโลเมตร แตไ่ ม่เกิน 35,780 กิโลเมตร ในการระบุตาแหนง่ นั้นต้องใช้ดาวเทียม

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 24

ทางานร่วมกันอย่างเปน็ ระบบมากกว่าหน่ึงดวง เช่น ดาวเทียมระบบจพี ีเอส (Global Positioning
System : GPS) ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า ซึ่งใชเ้ ปน็ ระบบนาร่องทั้งของเครือ่ งบินเรอื เดินสมทุ ร
รถยนต์ และขีปนาวธุ ประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวง โดยมีการโคจรรอบโลกในทิศทางต่าง ๆ
เป็น 6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง ดงั ภาพท่ี 25 สัญญาณทีไ่ ด้จากดาวเทียมแตล่ ะดวงจะถูกนามา
ประมวลผลเพือ่ นามาใช้ระบตุ าแหน่งที่ครอบคลุมทว่ั โลก

ภาพที่ 25 การโคจรรอบโลกของดาวเทยี มระบบจีพีเอส
ทม่ี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

. ดาวเทยี มทีว่ งโคจรค้างฟ้า (วงโคจรประจาที) (Geostationary Earth
Orbit : GEO) ดาวเทียมในวงโคจรน้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ ใช้ในการสือ่ สาร และการพยากรณ์
อากาศ มวี งโคจรที่ระดบั ความสงู จากพืน้ โลกประมาณ 35,780 กิโลเมตร ซึง่ เปน็ วงโคจรที่
ดาวเทียมอยู่ไกลโลกมากที่สดุ เส้นทางโคจรอยู่ในแนวเส้นศนู ย์สูตร อาจเรียกวงโคจรน้ีวา่
“วงโคจรค้างฟ้า” (Geostationary Orbit ) หรอื วงโคจรคลาร์ก (Clarke belt) ดาวเทียมจะ
โคจรรอบโลกด้วยความเรว็ เชงิ มมุ เท่ากบั โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้ดเู หมอื นลอยนิ่งอยู่เหนอื
จุดหน่งึ ของโลกตลอดเวลา เรียกดาวเทียมน้ีวา่ “ดาวเทยี มค้างฟา้ ” มีคาบการโคจรเท่ากบั
โลกโคจรรอบตัวเอง คือ ประมาณ 24 ชัว่ โมง ดาวเทียมค้างฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในการส่ือสารระหว่าง
ประเทศและภายในประเทศ เช่น ดาวเทียมไทยคม (Thaicom) ของไทย ดาวเทียมอินเทลแซท
(INTELSAT) ของประเทศสหรฐั อเมริกา นอกจากนี้มีดาวเทียมทีอ่ ยู่ในวงโคจรนที้ ี่ประเทศไทยนา
ข้อมูลมาใช้ในการพยากรณ์อากาศ ได้แก่ ดาวเทียมฮิมาวาริ (Himawari) ของประเทศญีป่ ุ่น
และดาวเทียม FY-2 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึง่ มีความสูงเกินกว่า 36,000 กิโลเมตร

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 25

คอยสงั เกตการณ์และส่งข้อมลู ทางสภาพภูมิอากาศมาสู่สถานภี าคพื้นดินเพื่อรายงานสภาพ
อากาศและพายุทีก่ ่อตวั ขนึ้

ภาพที่ 26 วงโคจรของดาวเทยี มทีร่ ะดับความสูงตา่ ง ๆ
ท่มี า : มาลี สุทธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

ประเภทดาวเทยี ม ดาวเทียมแบ่งออกเปน็ ประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้
งาน ดังน้ี

1. ดาวเทยี มสือ่ สาร เปน็ ดาวเทียมทีท่ างานตลอด 24 ช่ัวโมง เพือ่ เชือ่ มโยง
เครือขา่ ยการสื่อสารของโลกเข้าไว้ดว้ ยกนั โดยดาวเทียมจะส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน
สถานีภาคพื้นดินจะรับสญั ญาณโดยใช้อปุ กรณ์ที่ทาหน้าที่พักสญั ญาณ แล้วกระจายสัญญาณไป
ยงั จุดรบั สัญญาณต่าง ๆ บนโลก ดาวเทียมสื่อสารสามารถส่งสญั ญาณโทรศัพท์ สัญญาณภาพ
โทรทัศน์ สญั ญาณอินเทอร์เนต็ รวมถึงข้อมูลต่าง ๆ ไปได้ทุกทีท่ ัว่ โลก เช่น ดาวเทียมไทยคม
ดาวเทียมอินเทลแซท

ภาพที่ 27 ดาวเทียมอินเทลแซท
ท่มี า : https://sites.google.com/site/jibikoo/dawtheiym-suxsar

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 26

2. ดาวเทยี มสารวจทรัพยากร เปน็ ดาวเทียมที่สารวจข้อมูลทรัพยากรบนโลก
จากระยะไกล เช่น ดาวเทียมแลนด์แซท (LANDSAT) ดาวเทียมธีออส (THEOS) ดาวเทียมจะ
ถ่ายภาพพื้นผวิ โลกในช่วงความยาวคลืน่ แสงและอินฟราเรด โดยสิง่ มชี ีวติ และวัตถตุ ่าง ๆ บนโลก
มีความสามารถในการดูดกลืนและสะท้อนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ช่วงความยาวคลื่นแตกต่างกัน
ข้อมูลทีไ่ ด้จากภาพถ่ายจะถูกนามาวิเคราะหแ์ ละแปรผล ซึง่ จะทาให้ทราบถึงประเภทและปริมาณ
ของทรพั ยากรได้

ภาพที่ 28 ดาวเทยี มธีออส
ท่มี า : https://natchaallada.wordpress.com
3. ดาวเทยี มทาแผนท่ี เป็นดาวเทียมทีม่ วี งโคจรระดับต่า เพือ่ ให้ถ่ายภาพ
ได้คมชดั และมีความละเอียดสูงโดยดาวเทียมจะถ่ายภาพส่วนต่างๆ ของเมอื งหรอื พื้นทีอ่ ื่น ๆ
เพื่อทาเป็นแผนทีห่ รือผงั เมือง เชน่ ดาวเทียมจโี ออาย (Geoeye) ดาวเทียมควิกเบิรด์ (Quickbird)
ในปัจจุบันเราใช้ประโยชน์จากดาวเทียมชนิดนีก้ ันอย่างแพร่หลาย เช่น การเดินทางไปยังสถานที่
ต่าง ๆ โดยใช้กูเกิลแมป (Google Map)

ภาพที่ 29 ดาวเทยี มควกิ เบิร์ด (Quickbird)
ท่มี า : https://www.gistda.or.th/main/th/node/101

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 27

4. ดาวเทยี มอตุ นุ ิยมวิทยา เป็นดาวเทียมทีใ่ ชส้ ารวจและพยากรณ์สภาพ
อากาศบนโลกและในชั้นบรรยากาศ เช่น ปริมาณเมฆ ปริมาณน้าฝน อุณหภมู ขิ องอากาศ
การตดิ ตามพายุ มีหลกั การทางานเช่นเดียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร โดยจะวิเคราะห์ข้อมูล
จากภาพถ่ายในช่วงความยาวคลื่นแสง อินฟราเรดและเรดาร์ (Radar) เช่น ดาวเทียมจโี ออีเอส
(GEOES) ดาวเทียมเจพีเอสเอส (JPSS) ของโครงการเอ็นโอเอเอ (NOAA)

ภาพที่ 30 ดาวเทยี มเจพีเอสเอส (JPSS) ของโครงการเอน็ โอเอเอ (NOAA)
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

5. ดาวเทียมสารวจอวกาศ เป็นดาวเทียมที่ใช้สาหรับศึกษาดวงดาวและ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในอวกาศ ดาวเทียมชนิดนี้จะรวมไปถึงสถานีอวกาศและกล้องโทรทรรศน์
อวกาศด้วย เช่น ดาวเทียมคลัสเตอร์ (Cluster) ที่ใช้สารวจสนามแม่เหล็กโลกและลมสุริยะ
กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ (Kepler Space Telescopt) ที่ใช้ค้นหา
ดาวเคราะหน์ อกระบบสรุ ิยะ

6. ดาวเทยี มจารกรรม เป็นดาวเทียมสอดแนมหรอื ใช้ประโยชน์ดา้ นการทหาร
โดยมีการตดิ กล้องหรอื อุปกรณ์ตรวจจบั คลื่นเรดาร์หรืออินฟราเรดเพื่อใช้ในการถ่ายภาพพิเศษ
ทาให้สามารถสืบหาตาแหน่งและรายละเอียดเฉพาะพืน้ ทีท่ ี่ตอ้ งการได้ท้ังในที่มดื หรือที่ทีถ่ ูก
พรางตาไว้ เชน่ ดาวเทียมโคโรนา (Corona) ดาวเทียมซามอส (SAMOS)

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 28

จรวด (Rocket)
จรวด (Rocket) เป็นยานพาหนะทีท่ าหน้าที่สง่ ดาวเทียม สถานีอวกาศ และยานอวกาศ
ขึ้นไปในอวกาศ เคร่ืองยนต์จรวดที่มีพลังขับดันสูง ทาให้จรวดมีความเร็วสูงพอที่จะหลุดพ้น
แรงโน้มถ่วงของโลกออกสู่อวกาศ
หลักการทางานของจรวด
เป็นไปตามกฎการเคลื่อนทีข่ อง
นิวตนั ขอ้ ที่ 3 คือ แรงกิริยาเท่ากบั แรงปฏิกิรยิ า
โดยแรงกิรยิ าเกิดจากการปล่อยแก๊สร้อนซึ่งเกิด
จากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงออกมาทางท่อดา้ นล่าง
ส่วนแรงปฏิกิรยิ า คือ แรงทีข่ ับเคลือ่ นจรวดให้
เคลื่อนที่ข้ึนไปด้านบนได้ จรวดมักถกู ออกแบบ
มาให้มหี ลายท่อนเรยี งกันแบบอนกุ รม แตล่ ะ
ท่อนจะมีเชือ้ เพลิงทีใ่ ชใ้ นการขบั เคลือ่ น เมือ่ จรวด
เคลื่อนที่ข้ึนจากพนื้ โลกจนถึงระดับหนง่ึ จะสลัดท่อน
ที่ใชเ้ ช้ือเพลิงหมดแลว้ ออกไป เพื่อเป็นการลดมวล
และเพิ่มความเรง่ ให้ได้มากที่สุด

ภาพที่ 31 จรวดแซตเทิร์น 5 (Saturn V)
ท่มี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

จรวดแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ตามลักษณะของเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ ดังนี้
1. จรวดเชือ้ เพลิงแขง็ จะใช้แท่งเช้ือเพลิงแข็ง ซึ่งเป็นสารประกอบของไฮโดรเจนและ
คารบ์ อน โดยออกซิไดส์เป็นสารประกอบออกซิเจนในการขบั เคลื่อน เมื่อการเผาไหม้เชือ้ เพลิง
เกิดข้ึนแล้วจะไม่สามารถหยุดได้จนกว่าเช้ือเพลิงจะเผาไหมไ้ ปจนหมด
2. จรวดเชื้อเพลิงเหลว จะใช้เคโรซีนหรอื ไฮโดรเจนเหลวเป็นเชือ้ เพลิงโดยมีออกซเิ จนเหลว
เปน็ ตัวออกซิไดส์ มีโครงสร้างซบั ซ้อนกว่าจรวดเชือ้ เพลิงแขง็ มีท่อและปม๊ั เพื่อลาเลียงเช้ือเพลิง
เข้าสู่หอ้ งเครื่องยนต์ โดยสามารถควบคมุ ปริมาณการเผาไหม้และปรับทิศทางของแก๊สได้

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 29

ระบบขนสง่ อวกาศ (Space Transportation System)
ระบบขนส่งอวกาศ (Space Transportation System) เป็นโครงการทีถ่ กู ออกแบบให้
สามารถนาชิน้ ส่วนบางสว่ นทีใ่ ชไ้ ปแล้วกลบั มาใช้ใหมอ่ ีกเพื่อเปน็ การประหยดั และมีประสิทธิภาพ
มากทีส่ ดุ หรอื บางครงั้ อาจเรียกว่า “กระสวยอวกาศ” (Space Shuttle) ประกอบด้วย 3
ส่วน ดังน้ี
1. ยานขนส่งอวกาศ (Orbiter) ทาหน้าที่เป็นยานอวกาศซึ่งเป็นส่วนของห้องของนกั บิน
และสัมภาระต่าง ๆ เช่น อาหาร ดาวเทียม ชิ้นส่วนดาวเทียม อุปกรณ์การทดลอง และเคร่ืองมือ
ที่จะนาไปซ่อมแซมดาวเทียมหรือสถานีอวกาศ ยานขนส่งอวกาศมีลักษณะคล้ายเคร่ืองบิน
ซึ่งนักบินอวกาศจะใช้ในการเดินทางกลบั มายังโลก ตวั ยานสามารถนากลบั มาใช้ใหมไ่ ด้

2. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง (Solid Fuel Rocket Boodter : SRB) มีลักษณะเปน็ จรวดทีต่ ดิ
อยู่ด้านข้างของกระสวยอวกาศ เปน็ ส่วนเชือ้ เพลิงหลกั ทีใ่ ชใ้ นการขบั เคลือ่ นกระสวยอวกาศให้
เคลื่อนทีข่ ้ึนจากพืน้ โลก สามารถนามาบรรจเุ ชือ้ เพลิงเพือ่ ใชง้ านใหมไ่ ด้

3. ถังเชือ้ เพลิงภายนอก (External Tank) มีลักษณะเปน็ ถังขนาดใหญ่ ใช้สาหรับบรรจุ
เช้อื เพลิงเหลว เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจนเหลว ในขณะที่ยานขนสง่ อวกาศเคลือ่ นที่ เช้ือเพลิง
เหล่านีจ้ ะถกู สบู เข้าไปใช้ในเครื่องยนตห์ ลกั ของยาน

การทางานของระบบขนสง่ อวกาศ มีขั้นตอนดงั นี้
เริ่มจากจากเผาไหม้เชือ้ เพลิงแขง็ และเช้ือเพลิงเหลว เพือ่

ขบั เคลื่อนยานขนส่งอวกาศจากฐานปล่อยด้วยความเรว็ สูง เมือ่ ยานขนส่งอวกาศขนึ้ ไปที่ความสูง
ระดับหนึ่ง จรวดเชื้อเพลิงแข็งทั้งสองข้างจะแยกตัวออกตกลงสู่ทะเล ซึ่งจรวดเชื้อเพลิงแข็งนี้
สามารถนากลับมาใช้ได้อีก ส่วนถังเชื้อเพลิงแข็งนี้สามารถนากลับมาใช้ได้อีก ส่วนถังเชื้อเพลิง
ภายนอกเมื่อใชเ้ ชอื้ เพลิงหมดแล้วจะแยกตวั ออกจากยานขนส่งอวกาศเช่นกัน แตจ่ ะถกู เผาไหม้ใน
ช้ันบรรยากาศจนหมด สาหรบั ยานขนส่งอวกาศเม่อื ปฏิบตั ิหน้าที่เสร็จแล้วจะเดินทางกลับสู่พ้ืน
โลก

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 30

(ในระยะหลังมักมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นกับระบบขนส่งอวกาศ นักวิทยาศาสตร์จึงกลับ
ไปใช้จรวดเหมือนเดิม)

ภาพที่ 32 การทางานของระบบขนสง่ อวกาศ (Space Transportation System)
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 31

16.2 เทคโนโลยอี วกาศกับการประยุกตใ์ ช้

เทคโนโลยีอวกาศนอกจากช่วยมนษุ ย์สามารถสารวจ
อวกาศและโลกได้อย่างกว้างขวางแล้วความรทู้ างเทคโนโลยีอวกาศ
ยงั ได้ถกู พัฒนาและนามาใช้ในชีวติ ประจาวัน และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตใน
หลาย ๆ ด้าน ซึ่งถกู นามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

16.2.1 ด้านวัสดุศาสตร์
ในการสารวจอวกาศ นกั วิทยาศาสตร์ได้พฒั นาความรดู้ ้านวัสดศุ าสตร์

เพือ่ นามาใช้ออกแบบยานอวกาศ รวมทั้งเครือ่ งมือและอปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นยานอวกาศ
และในอวกาศ ทีท่ นต่อสภาพแวดล้อมทีส่ ุดขั้วในอวกาศ ความรทู้ ีไ่ ด้จากการพัฒนาวัสดตุ ่าง ๆ ได้
นามาพฒั นาวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั บนโลก เช่น

เลนสแ์ ว่นตาต้านทานรอยขีดข่วน (Scratch – Resistant Lenses) ซึ่งเป็น
การนาคาร์บอนแข็งแรงพิเศษมาเคลือบเลนส์ ทาให้เลนส์แวน่ ตามีความทนทานต่อรอยขีดข่วน

แอโรเจล (Aerogel) เปน็ วสั ดทุ ีใ่ ชท้ าชุดนกั บินอวกาศ และชิน้ ส่วนของยาน
อวกาศเป็นของแข็งทีเ่ บาทีส่ ุด มคี วามหนาแนน่ ต่า มีลกั ษณะเป็นรพู รุน มีซิลิกอนเปน็ องค์ประกอบ
ทาให้ทนความร้อนสูง แข็งแรง และมีสภาพยืดหยุ่นสงู (ดงั ภาพท่ี 33) ซึ่งถกู นามาใช้ทาชดุ นักดับ
เพลิง ชดุ ของนกั แข่งรถ รวมทั้งนามาผลิตเปน็ พืน้ รองเท้าที่สามารถลดการสญู เสียความรอ้ น
สาหรบั นักปีนเขาน้าแขง็

ภาพที่ 33 นกั วิทยาศาสตรข์ องนาซากาลังทาการทดสอบความแข็งของแอโรเจล
ทม่ี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 32

โฟมนิ่มชนิดพิเศษ (Temper Foam) ถูกคิดค้นเพื่อทาเป็นเบาะรองนั่งของ
นักบินอวกาศเพื่อลดการกระแทกและอาการบาดเจ็บของนักบินอวกาศขณะเดินทางออกสู่
อวกาศ มีสมบัติในการระบายอากาศและความร้อนได้ดีจึงไม่เกิดความอับชื้น ปัจจบุ นั มกี ารนามา
ทาหมอน เบาะที่นอนสาหรับผู้ป่วยอัมพาต และผลิตเคร่ืองนอนที่ช่วยทาให้นอนหลับสบาย
ช่วยป้องกันการเกิดแผลกดทับ และรถเข็นสาหรับผู้พิการ ลดอาการปวดกล้ามเน้ือ ทาให้เลือด
หมนุ เวียนได้ดี เหมาะสาหรบั ผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ได้

ภาพที่ 34 โฟมน่มิ ชนิดพเิ ศษ (Temper Foam)
ทม่ี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.6.

แผงเซลล์สรุ ิยะ (Solar Cells) ถูกใช้เพื่อผลิตพลงั งานให้กับดาวเทียมและยาน
อวกาศ (ดังภาพท่ี 35) ซึ่งมีการพัฒนาเซลล์สุริยะอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งทุกวันนี้ และได้นา
เซลล์สุริยะมาใช้ในชีวติ ประจาวนั

ภาพที่ 35 การทดสอบแผงเซลลส์ รุ ิยะเพื่อนามาใชใ้ นอวกาศ
ท่มี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 33

เส้นใยคาร์บอน (Carbon Fiber) เป็นวัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน น้าหนัก
เบา ทนความร้อนสูง และมีความยืดหยุ่นจึงเป็นวัสดุที่เหมาะกับการใช้สร้างชิ้นส่วนของยาน
อวกาศ เริม่ ตน้ เส้นใยคารบ์ อนถูกคิดค้นข้นึ
เพื่อใช้เปน็ เส้นหลอดไฟฟ้าเท่านั้น แตห่ ลงั จากน้ัน
ได้มกี ารพัฒนาโดยนาเส้นใยไปสานเป็นผนื ผ้า
และผลติ เปน็ ชิน้ ส่วนของเครื่องบิน รถยนต์
และอปุ กรณ์กีฬา เชน่ ไม้กอล์ฟ ไม้เทนนิส
โครงจักรยาน เปน็ ต้น

ภาพที่ 36 ผ้าทท่ี าจากเส้นใยคารบ์ อน
ท่มี า : มาลี สุทธิโอกาส. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ม.6.

ผา้ ห่มอวกาศ (Space blanket) มีลกั ษณะบางและเบามาก สามารถสะท้อน
รังสตี ่าง ๆ ได้และป้องกนั การถ่ายเทอณุ หภมู ิระหว่างภายในและภายนอกได้ดี จงึ ช่วยป้องกนั ยาน
อวกาศจากรังสีและควบคุมอุณหภูมิของยานได้ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการนาผ้าห่มอวกาศมาใช้เพื่อ
รกั ษาอณุ หภมู ิของผปู้ ระสบภัย นกั กีฬามาราธอน

ภาพที่ 37 ผา้ หม่ อวกาศ
ท่มี า : มาลี สทุ ธิโอกาส. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 34

16.2.2 ดา้ นอาหาร
อาหารเป็นอีกเรือ่ งหนง่ึ ทีท่ ้าทายนักวิทยาศาสตรท์ ั้งในเร่อื งการออกแบบอาหาร
ทีต่ อ้ งคานึ่งถึงปริมาณสารอาหารทีใ่ หพ้ ลังงาน และความสะดวกต่อการรบั ประทานอาหารใน
สภาพที่ไร้นา้ หนกั รวมทั้ง
การออกแบบบรรจุภัณฑ์
ที่ช่วยเกบ็ รักษาอาหารได้นาน
(ดังภาพท่ี 38) 
ซึ่งเทคโนโลยีอวกาศอาหาร
สาหรับนกั บินอวกาศได้ถูก
นามาพฒั นาอาหารให้กบั
มนุษย์บนโลก เชน่

ภาพที่ 38 นกั บินอวกาศของนาซากาลังทดสอบอาหารกอ่ นท่จี ะ
ไปปฏิบตั ภิ ารกิจในอวกาศ

ท่มี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

การทาแห้งเยือกแข็งแบบสุญญากาศ
(Freeze Drying Technology) เป็นการถนอม
อาหารด้วยการทาให้อาหารอยู่ในสภาวะเยือก
แข็ง แล้วจงึ ลดความดันลงเพือ่ ให้นา้ แข็ง
ที่อยู่ในอาหารระเหิดออกไป แนวคิดนีเ้ กิดข้ึนเพื่อ
นาไปผลิตอาหารของนกั บินอวกาศ เน่อื งจากมี
น้าหนกั เบา เกบ็ ได้นาน และยังคงคุณค่าของ
สารอาหารไว้ได้มากถึง 98% ปจั จุบันเทคโนโลยี
นีถ้ กู นามาใช้อย่างแพร่หลายในอตุ สาหกรรมอาหาร
เช่น ผลไม้อบแหง้ ที่พบได้ทัว่ ไปในร้านสะดวกซือ้
ภาพที่ 39 สตรอว์เบอรร์ ที าแห้งเยือกแข็งแบบสญุ ญากาศ
ทม่ี า : สสวท. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 35

16.2.3 ดา้ นการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ
การใช้ชีวติ ของนกั บินอวกาศต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างจาก

บนโลกท้ังในเรอ่ื ง อณุ หภมู ิ ความดนั แรงโน้มถ่วง และปริมาณรงั สีตา่ ง ๆ ที่ผ่านมาเข้าสู่ร่างกาย
นักวิทยาศาสตร์จึงได้มีการพัฒนาเคร่ืองมือต่าง ๆ ที่ผ่านเข้าสู่ร่างกาย นักวิทยาศาสตร์จึงได้มี
การพัฒนาเคร่ืองมือต่างๆ ที่ช่วยให้นักบินอวกาศสามารถปฏิบัติภารกิจในอวกาศได้อย่าง
ปลอดภัย ซึ่งความรดู้ งั กล่าวได้นามาประยุกต์กับมนษุ ย์บนโลก เชน่

การพัฒนากลอ้ ง 3 มิติ ที่มขี นาดเลก็ และมีประสิทธิภาพสูงจากห้องปฏิบตั ิการ
ของนาซา นามาพัฒนาเปน็ กล้องส่องตรวจอวัยวะภายในของร่างกาย 3 มติ ิ (3D Endoscope)
(ดงั ภาพท่ี 40) ซึง่ ช่วยในการผ่าตัดให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น

ภาพที่ 40 กลอ้ ง 3 มิติ ทใ่ี ช้ตรวจอวัยวะภายในของร่างกาย
ท่มี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

เครื่องวดั อุณหภมู ิทางหู
หรอื เครือ่ งวัดอุณหภูมิรา่ งกายแบบอินฟราเรด
(Infrared Ear Thermometer)
เกิดข้ึนจากการพัฒนาเครื่องตรวจวดั
การแผ่รังสขี องวัตถทุ ้องฟ้าในย่าน

ภาพที่ 41 เครอ่ื งวัดอณุ หภูมิทางหู หรอื เครื่องวดั อณุ หภูมิร่างกายแบบอินฟราเรด
ท่มี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 36

อินฟราเรด แล้วแปลงค่าอุณหภูมิออกมาเป็นตวั เลข จึงได้นาหลกั การน้ีมาสร้างเคร่อื งวดั
อุณหภูมิร่างกาย โดยวัดการแผ่รังสีอินฟราเรดจากเยื่อแก้วหู มีขอ้ ดีคือ ใช้งานงา่ ย รวดเร็ว
และแม่นยา นอกจากนี้สามารถนาไปสร้างเครือ่ งวัดอตั ราการเต้นของหัวใจ ซึง่ สามารถ
พบได้ในเครื่องออกกาลงั กาย นาฬิกา และสมาร์ตโฟนรุ่นใหม่ ๆ

เครื่องป๊มั หัวใจเทียมขนาดเลก็ พิเศษ (Artificial Heart Pump) ซึง่ ออกแบบ
ปม๊ั โดยใช้ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์ของนาซาและเทคโนโลยีอวกาศพลวัตของไหลจากระบบเช้ือเพลิง
ในยานขนส่งอวกาศ ซึ่งเปน็ การจาลองการไหลของเหลวผา่ นเครือ่ งยนต์

ภาพที่ 42 เครือ่ งปั๊มหวั ใจเทยี มขนาดเลก็ พิเศษ
ทม่ี า : สสวท. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม
โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

เครื่องวดั รังสีอลั ตราไวโอเลต (UV Tracker) ซึ่งพัฒนาจากสารกึ่งตัวนาที่ใช้
วดั ค่าการแผร่ ังสอี ัลตราไวโอเลตของดวงอาทิตย์ทีส่ ่องมายังโลก เคร่อื งวัดรงั สอี ัลตราไวโอเลตนี้
ทาหนา้ ที่ตรวจวดั ค่ารงั สไี วโอเลตในผิวหนังให้อยู่ในระดับคงที่และไม่ทาอนั ตรายต่อผวิ หนัง

ภาพที่ 43 เครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลต (UV Tracker)
ทม่ี า : สสวท. หนงั สือรายวิชาเพิม่ เติม โลกดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เลม่ 5 ม.6.

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 37

จากประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศดังกล่าว เป็นเพียงส่วนหนง่ึ ของการนาเทคโนโลยี
มาใช้ในชีวติ ประจาวันและพัฒนาคุณภาพชีวติ ซึ่งยังมีเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ต่าง ๆ อีกมากที่
พฒั นามาจากเทคโนโลยีอวกาศอีก เชน่

กลอ้ งดจิ ทิ ัล (Digital Camera) การใชเ้ ซนเซอร์พกิ เซลตอบสนอง (Active Pixelsensor)
แปลงพลังงานแสงเป็นไฟฟ้า เพื่อนาไปสร้างเปน็ ข้อมูลภาพและเก็บลงในหน่วยความจา ซึ่งนาซา
บันทึกภาพยานอวกาศบนพื้นดวงจันทร์โดยได้ใช้ระบบดิจิทลั ส่งภาพกลับมายังพืน้ ผิวโลก และใน
ปจั จุบนั มกี ารใชก้ ล้องชนิดน้ีอย่างแพร่หลาย

กล้องอินฟราเรด เปน็ กล้องที่ใช้ถ่ายภาพในที่มดื โดยการตรวจจับความรอ้ นของวัตถุ
ซึ่งวัตถุที่ร้อนกว่าจะแสดงสีสว่างและวัตถุที่เย็นกว่าจะแสดงสีมืดกว่า ซึ่งพัฒนามาจากการ
ถ่ายภาพการจุดระเบิดของเชือ้ เพลิงในจรวด นอกจากนีย้ งั สามารถตรวจจับบุคคลทีม่ ีอณุ หภูมิสูง
กว่าบคุ คลทัว่ ไปในขณะที่มีการระเบิดของไข้หวดั ใหญ่

ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับเทคโนโลยีอวกาศในด้านต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับมนุษย์และ
นามาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งในอนาคตยังมีเทคโนโลยีอวกาศอีกมากมายที่รอคอยการค้นพบ
และพฒั นาจากนักวิทยาศาสตร์

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 38

หนงั สืออ้างอิงทีใ่ ช้ประกอบใบความรู้

กระทรวงศึกษาธิการ, สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2562.
หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ) ชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
. 2563. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 เลม่ 5 ตามผลการเรียนรู้ กลุ่ม
สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพรา้ ว.

มาลี สทุ ธิโอภาส. 2563. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6. กรุงเทพมหานคร : แมค็ เอ็ดดเู คชน่ั .

เย็นฤทัย ดอี ินทร์. 2554. คู่มือสอบวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน O-NET เร่อื ง ดาราศาสตร์และ
อวกาศ, กระบวนการเปลีย่ นแปลงของโลก. กรงุ เทพมหานคร : ธรรมบณั ฑติ .

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2562. เอกสารประกอบการอบรมเชิง
ปฏิบตั ิการเพื่อเพิม่ พูนศกั ยภาพครูผูส้ อนในด้านการจัดการเรียนรวู้ ชิ า
วิทยาศาสตร์ โลก และดาราศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย.กรุงเทพมหานคร:
สสวท.

อคั รพล แก้วแกมเสือ. 2559. วิชาวิทยาศาสตร์ O-NET โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ.
พิมพ์ครงั้ ที่ 7. กรงุ เทพมหานคร : แอคทีฟพรนิ้ จากดั .

http://rittee1834.blogspot.com/2018/12/vs.html
http://old.narit.or.th/index.php/astronomy-article/94-2012-11-22-02-29-30
https://th.wikipedia.org/wiki.
https://mgronline.com/science/detail/9610000081091

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 39

https://www.sciways.co/fast-radio-burst/
https://pantip.com/topic/38167093
http://thaiastro.nectec.or.th/news/3439/
http://jajasone27.blogspot.com/p/5.html
https://mgronline.com/around/detail/9590000049576.
https://sites.google.com/site/jibikoo/dawtheiym-suxsar
https://natchaallada.wordpress.com
https://www.gistda.or.th/main/th/node/101

ครผู ู้สอน : นางจรสั ศรี ไชยกุล ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น้ า | 40

ครผู ู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี


เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้มีอะไรบ้าง

การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศมีมากมาย เช่น ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) เป็นต้น

เทคโนโลยีอวกาศมีความสําคัญอย่างไร

ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ มนุษย์เฝ้ามองท้องฟ้า สังเกตดวงดาว และพยายามทำความเข้าใจต่อปรากฏการณ์และความลี้ลับเกี่ยวกับห้วงอวกาศมาเนิ่นนาน ทำให้เกิดการศึกษาดาราศาสตร์และการพัฒนาทั้งเครื่องไม้เครื่องมือและเทคโนโลยีต่าง ๆ เรื่อยมา จนกระทั่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีอวกาศถูกนำมาใช้ประโยชน์เพื่อมนุษยชาติในหลากหลายด้าน เช่น

เทคโนโลยีอวกาศนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้างให้ยกตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง

12 นวัตกรรมอวกาศจาก NASA ที่ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน จนเป็นของ....
อาหารแช่แข็งและอาหารแห้ง ... .
คอมพิวเตอร์ไมโครชิพ ... .
เหล็กดัดฟัน ... .
อาหารเด็ก ... .
เครื่องมือไร้สาย ... .
แว่นตาที่คงทน ... .
โฟมนิ่มยวบยาบ ... .
จอยคันโยก.

เทคโนโลยีอวกาศที่มนุษย์ประดิษฐ์และสร้างขึ้นมีอะไรบ้าง

16 สิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยีด้านอวกาศจาก Space Sweepers.
01 UTS (UTOPIA ABOVE THE SKY) ... .
02 บั๊บส์ มือฉมวกของยาน victory. ... .
03 ยานเก็บกวาดขยะอวกาศ ... .
04 ลิฟต์อวกาศ ... .
05 รองเท้าแม่เหล็ก (Magnetic Shoes) ... .
06 เครื่องแปลอัจฉริยะ ... .
07 การรับรู้ม่านตาอัตโนมัติ ... .
08 แรงโน้มถ่วงเทียม.