ข้อสอบ วัฒนธรรม เอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้

ข้อสอบ วัฒนธรรม เอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้

Advertisement






สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
หน่วยที่ 4 พัฒนาการของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อดีต-ปัจจุบัน
ชุดที่ 9 พัฒนาการของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จำนวน 1 ชั่วโมง
<>







วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 31101
สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จัดทำโดย
นายสมคิด กำเนิดภู
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1



คำนำ


บทเรียนสำเร็จรูปเล่มนี้ ผู้เขียนใช้ในการประกอบการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนวิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยเป็นเนื้อหาเรื่อง พัฒนาการของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาทั้งหมดได้ด้วยตนเอง เนื่องจากบทเรียนสำเร็จรูปนี้ผู้เขียนได้สรุปเนื้อหาที่สำคัญๆให้สามารถเรียนรู้และเข้าใจด้วยตนได้ อีกทั้งยังมีรูปแบบที่กระตุ้นความสนใจในการเรียนของผู้เรียน พร้อมทั้งยังตรงกับหลักสูตรในการปฏิรูปการศึกษาพุทธศักราช 2544 ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญา ความรู้ คุณธรรมจริยธรรมและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2544 ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขในการเรียน ดังนั้นเมื่อผู้เรียนได้ศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปนี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้และคุณธรรม เนื่องจากได้ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ของตนเองให้สูงขึ้น และเต็มไปด้วยศักยภาพ
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนสำเร็จรูปเล่มนี้จะทำให้ผู้เรียนสนใจ รักและมีความสุขในการเรียนมากยิ่งขึ้น




นายสมคิด กำเนิดภู


สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำแนะนำสำหรับครู 1
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
พัฒนาการของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กรอบที่ 1 ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 6
กรอบที่ 2 ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนที่เป็นคาบสมุทร 8
กรอบที่ 3 ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ 11
กรอบที่ 4 ปัจจัยทางสังคมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 12
กรอบที่ 5 ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อพัฒนาการของประเทศ 14
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กรอบที่ 6 การดำเนินชีวิตของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 17
กรอบที่ 7 สรุป 19
แบบทดสอบหลังเรียน 20
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน 22
เอกสารอ้างอิง 23



คำแนะนำสำหรับครู

เมื่อครูผู้สอนได้นำบทเรียนสำเร็จรูปไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้

1. ทดสอบความรู้ก่อนเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ของนักเรียนแต่ละคน
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปควบคู่กับ
แผนการจัดการเรียนรู้
3. หลังจากสอนเนื้อหาแล้วให้นักเรียน ตอบคำถามเพื่อประเมินความรู้แต่ละเรื่อง
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามที่ระบุไว้ตามลำดับ ครูควรดูแลและให้คำแนะนำอย่าง
ใกล้ชิด
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดทดสอบความรู้ในแต่ละกรอบ เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ
6. ให้นักเรียนทดสอบความรู้หลังเรียน หลังจากที่นักเรียน เรียนจบเล่ม
7. ใช้เป็นสื่อการสอนสำหรับครู



คำชี้แจงสำหรับนักเรียน

จุดประสงค์การเรียนรู้สำหรับบทเรียนสำเร็จรูปชุดนี้ คือ
1. นักเรียนสามารถบอกปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสังคมที่มีผลต่อพัฒนาการการตั้งถิ่นฐาน
และการดำรงชีวิตของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อดีข้อจำกัดของปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อพัฒนาการของ
ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะการดำเนินชีวิตของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ได้

ข้อปฏิบัติสำหรับนักเรียนในการศึกษาบทเรียนสำเร็จรูป
1. นักเรียนรับกระดาษคำตอบจากคุณครู
2. นักเรียนทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน
3. นักเรียนเริ่มศึกษาเนื้อหาไปทีละกรอบตามกรอบที่ 1 – กรอบที่ 6 ซึ่งแต่ละกรอบจะมีทั้ง
เนื้อหา แบบฝึกหัดของกรอบนั้นๆ และเฉลยแบบฝึกหัดของกรอบที่ผ่านมา
4. เมื่อนักเรียนทดสอบให้ตั้งใจทำอย่างซื่อสัตย์ โดยสามารถตรวจสอบคำตอบของนักเรียน
ได้ในหน้าถัดไป
5. อย่าขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในบทเรียนสำเร็จรูปเล่มนี้
6. เมื่อศึกษาเสร็จในชั่วโมงใดเก็บส่งคืนคุณครู
7. อย่าลืมว่าการศึกษาในบทเรียนสำเร็จรูปนี้มุ่งให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตาม
ความสามารถ ไม่ใช่การทดสอบ


คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วทำเครื่องหมายกากบาท  ลงในกระดาษคำตอบ

1. ดินแดนส่วนที่เป็นหมู่เกาะของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตรงกับข้อใด
ก. ลาว ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ข. กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ไทย
ค. สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน อินโดนีเซีย
ง. เวียดนาม สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ติมอร์-เลสเต
2. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีหมู่เกาะมากที่สุด
ก. บรูไน
ข. สิงคโปร์
ค. ฟิลิปปินส์
ง. อินโดนีเซีย
3. บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญชนิดใด
ก. ข้าว
ข. ข้าวโพด
ค. ยางพารา
ง. มันสำปะหลัง
4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศของดินแดนประเทศไทย
ก. ภาคเหนือ-ที่ราบสูง
ข. ภาคกลาง-ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ค. ภาคใต้-ที่ราบหุบเขา
ง. ภาคตะวันออเฉียงเหนือ-ที่ราบชายฝั่งทะเล
5. อาณาจักรโบราณใดมีที่ตั้งเหมาะสมในการค้าจนเป็นเมืองท่าที่สำคัญบริเวณชายฝั่งทะเล
ก. ละโว้
ข. ฟูนัน
ค. พุกาม
ง. มัชปาหิต

6. วัฒนธรรมดอนซอนจัดเป็นวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในประเทศใด
ก. พม่า
ข. กัมพูชา
ค. เวียดนาม
ง. อินโดนีเซีย
7. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรมมาจากแหล่งอารยธรรมใด
ก. จีน-อินเดีย
ข. จีน-อียิปต์
ค. อินเดีย-อียิปต์
ง. อียิปต์-เมโสโปเตเมีย
8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดีย
ก. คติเทวราชา
ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต
ค. ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ
ง. กฎหมายพระธรรมศาสตร์
9. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมจีนมากที่สุด
ก. พม่า
ข. เวียดนาม
ค. มาเลเซีย
ง. อินโดนีเซีย
10. เหตุใดบ้านเรือนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนมากจึงต้องสร้างให้มีใต้ถุนสูง
ก. เพื่อความสวยงาม
ข. เพื่อความสะดวกในการก่อสร้าง
ค. ใช้บ่งบอกถึงสถานะความมั่นคงของเจ้าบ้าน
ง. ใช้ในการทำงานอดิเรก เช่น ทอผ้า และเพื่อป้องกันน้ำท่วมบ้าน

คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วทำเครื่องหมายกากบาท  ลงในกระดาษคำตอบ

1. ดินแดนส่วนที่เป็นหมู่เกาะของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตรงกับข้อใด
จ. ลาว ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ฉ. กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ไทย
ช. สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน อินโดนีเซีย
ซ. เวียดนาม สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ติมอร์-เลสเต
2. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีหมู่เกาะมากที่สุด
จ. บรูไน
ฉ. สิงคโปร์
ช. ฟิลิปปินส์
ซ. อินโดนีเซีย
3. บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญชนิดใด
จ. ข้าว
ฉ. ข้าวโพด
ช. ยางพารา
ซ. มันสำปะหลัง
4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศของดินแดนประเทศไทย
จ. ภาคเหนือ-ที่ราบสูง
ฉ. ภาคกลาง-ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
ช. ภาคใต้-ที่ราบหุบเขา
ซ. ภาคตะวันออเฉียงเหนือ-ที่ราบชายฝั่งทะเล
5. อาณาจักรโบราณใดมีที่ตั้งเหมาะสมในการค้าจนเป็นเมืองท่าที่สำคัญบริเวณชายฝั่งทะเล
ก. ละโว้
ข. ฟูนัน
ค. พุกาม
ง. มัชปาหิต


6. วัฒนธรรมดอนซอนจัดเป็นวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในประเทศใด
ก. พม่า
ข. กัมพูชา
ค. เวียดนาม
ง. อินโดนีเซีย
7. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรมมาจากแหล่งอารยธรรมใด
ก. จีน-อินเดีย
ข. จีน-อียิปต์
ค. อินเดีย-อียิปต์
ง. อียิปต์-เมโสโปเตเมีย
8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดีย
ก. คติเทวราชา
ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต
ค. ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ
ง. กฎหมายพระธรรมศาสตร์
9. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมจีนมากที่สุด
ก. พม่า
ข. เวียดนาม
ค. มาเลเซีย
ง. อินโดนีเซีย
10. เหตุใดบ้านเรือนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนมากจึงต้องสร้างให้มีใต้ถุนสูง
ก. เพื่อความสวยงาม
ข. เพื่อความสะดวกในการก่อสร้าง
ค. ใช้บ่งบอกถึงสถานะความมั่นคงของเจ้าบ้าน
ง. ใช้ในการทำงานอดิเรก เช่น ทอผ้า และเพื่อป้องกันน้ำท่วมบ้าน

พลับพลึง คงชนะ, มยุรี เกตุแดง และคณะ. (2550). ประวัติศาสตร์ ม.๑. กรุงเทพ: บริษัท
พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).จำกัด
รศ.ณรงค์ พวงพิศ,รศ. วุฒิชัย มูลศิลป์,ผศ.ดร.ชาคริต ชุ่มวัฒนะ. (2552). ประวัติศาสตร์ ม.๑.
กรุงเทพ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จำกัด
รศ.ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล,สมพร อ่อนน้อม,บุญรัตน รอดตา และคณะ. (2549). ประวัติศาสตร์ ม.๑.
กรุงเทพ: บริษัทวัฒนพาณิชย์.จำกัด
รศ.วีณา เอี่ยมประไพ,วชิราวรรณ บุนนาค,นภาศรี ขำเมฆ และคณะ. (2549). ประวัติศาสตร์ ม.๑.
กรุงเทพ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จำกัด


กระดาษคำตอบบทเรียนสำเร็จรูป สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
หน่วยที่ 4 พัฒนาการของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อดีต-ปัจจุบัน
ชุดที่ 9 พัฒนาการของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชื่อนักเรียน...............................................................ห้อง.................เลขที่...............ชั้น...................

แบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10

แบบฝึกหัดกรอบที่ 1
ข้อที่1 -.............................................................................................................................
-..............................................................................................................................
ข้อที่2 -.............................................................................................................................

แบบฝึกหัดกรอบที่ 2
ตอบ 1..............................................................................................................................
2..............................................................................................................................
3..............................................................................................................................
4..............................................................................................................................

แบบฝึกหัดกรอบที่ 3
ตอบ 1..............................................................................................................................
2..............................................................................................................................

แบบฝึกหัดกรอบที่ 4
ตอบ 1)……………………………… 2)…………………………………
3)……………………………… 4)…………………………………
5)………………………………

แบบฝึกหัดกรอบที่ 5
ตอบ 1)……………………………… 2)…………………………………
3)……………………………… 4)…………………………………

แบบฝึกหัดกรอบที่ 6
ตอบ 1)……………………………… 2)…………………………………
3)……………………………… 4)…………………………………
5)………………………………

แบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง

1 6
2 7
3 8
4 9
5 10