ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน

สำนักงานประกันสังคม เตือน ไม่อยากสิ้นสภาพ อย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์ เพราะหากขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1 ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตน มาตรา 39 ทันที

ถ้าไม่อยากเสียสิทธิ์ สามารถลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของผู้ประกันตนทาง Line สำนักงานประกันสังคม เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39 หรือ สะดวกกว่านั้น เพียงแค่สมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร แค่นี้ก็เซฟสิทธิ์ได้แล้ว

โดยธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ เพียงเตรียมสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร และหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) ติดต่อ สปส. ใกล้บ้านได้

ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 432 บาท/เดือน คุ้มครอง 6 กรณี แต่เนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติ ลดอัตราเงินสมทบ ติดต่อกันถึง 3 เดือน ตั้งแต่ พ.ค. - ก.ค. 65 โดยผู้ประกันตนมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบ จากเดิมร้อยละ 9 เหลือร้อยละ 1.9 จากปกติจ่าย 432 บาท ลดเหลือเพียง 91 บาท

คุณสมบัติของผู้สมัคร

- เคยเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน

- ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน มาตรา 39

จะได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี คือ

1. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย

2. กรณีคลอดบุตร

3. กรณีทุพพลภาพ

4. กรณีเสียชีวิต

5. กรณีสงเคราะห์บุตร

6. กรณีชราภาพ

วิธีการสมัครผู้ประกันตน มาตรา 39 สามารถสมัครได้ที่สำนักงานประกันสังคมที่สะดวก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ขอบคุณข้อมูลจากเพจ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

สำนักงานประกันสังคม เผย ผู้ประกันตนมาตรา 39 หากไม่อยากสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน และเสียสิทธิประโยชน์ประกันสังคม ห้ามขาดส่ง "เงินสมทบ" 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 1 ปี

สำนักงานประกันสังคม ระบุ ไม่อยากสิ้นสภาพ อย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์ เพราะหากขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1 ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตน มาตรา 39 ทันที

ถ้าไม่อยากเสียสิทธิ์ สามารถลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของผู้ประกันตนทาง Line สำนักงานประกันสังคม เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39 หรือ สะดวกกว่านั้น เพียงแค่สมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร แค่นี้ก็เซฟสิทธิ์ได้แล้ว

ทั้งนี้ ธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ เพียงเตรียมสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร และหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) ติดต่อ สปส. ใกล้บ้านได้

โดยผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 432 บาท/เดือน คุ้มครอง 6 กรณี แต่เนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติ ลดอัตราเงินสมทบ ติดต่อกันถึง 3 เดือน ตั้งแต่ พ.ค. - ก.ค. 65 โดยผู้ประกันตนมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบ จากเดิมร้อยละ 9 เหลือร้อยละ 1.9 จากปกติจ่าย 432 บาท ลดเหลือเพียง 91 บาท

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน

คุณสมบัติของผู้สมัคร

- เคยเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน     

- ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม    

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน มาตรา 39 

จะได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี คือ

1. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย

2. กรณีคลอดบุตร

3. กรณีทุพพลภาพ

4. กรณีเสียชีวิต

5. กรณีสงเคราะห์บุตร

6. กรณีชราภาพ

สำหรับวิธีการสมัครผู้ประกันตน มาตรา 39 สามารถสมัครได้ที่สำนักงานประกันสังคมที่สะดวก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ข้อมูลจาก สำนักงานประกันสังคม

ภาพจาก TNN ONLINE

  • เกาะติดข่าวที่นี่
  • Website : tnnthailand.com
  • Facebook : TNNONLINE
  • Facebook Live : TNN LIVE
  • Twitter : TNNONLINE
  • Line : @TNNONLINE
  • Youtube official : TNNONLINE
  • Instagram : TNN_ONLINE
  • Tiktok : @TNNONLINE

Skip to main content

  • เมนูหลัก  
  • เงื่อนไขการรับประโยชน์ทดแทน ผู้ประกันตนมาตรา 40

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย

  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้วันละ 200 บาท ไม่เกิน 30 วัน/ปี

  • การรักษาพยาบาลใช้สิทธิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) หรือบัตรทอง 30 บาท

    เงื่อนไขการรับสิทธิ

  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 4 เดือน ก่อนประสบอันตราย/เจ็บป่วย

  • รักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป จะได้รับสิทธิวันละ 200 บาท ไม่เกิน 30 วันต่อปี

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
กรณีทุพพลภาพ

  • ได้รับเงินทดแทนการขาดได้ตั้งแต่ 500 – 1,000 บาท/เดือน เป็นระยะเวลา 15 ปี

  • ตายก่อนครบ 15 ปี รับเงินค่าทำศพ 20,000 บาท

เงื่อนไขในการรับสิทธิ

จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 6 เดือน ภายในระยะเวลา 10 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 500 บาทต่อเดือน 

จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 12 เดือน ภายในระยะเวลา 20 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 650 บาทต่อเดือน

จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 24 เดือน ภายในระยะเวลา 40 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 800 บาทต่อเดือน

จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 36 เดือน ภายในระยะเวลา 60 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 1,000 บาทต่อเดือน

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
กรณีตาย  

  • ได้รับเงินค่าทำศพ 20,000 บาท

    เงื่อนไขการรับสิทธิ

  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 12 เดือนก่อนเสียชีวิต

    หมายเหตุ

  • “อุบัติเหตุ” หมายความว่า เหตุที่เกิดโดยไม่คาดดิดเป็นเหตุให้เสียชีวิต เช่น อุบัตเหตุจากการขนส่ง การตกหรือล้ม การจมน้ำ การสัมผัสความร้อนและสิ่งของที่ร้อน การสัมผัสสารพิษ การถูกทำ้ร้าย การดำเนินการตามกฎหมายและการปฏิบัติการสงคราม การสัมผัสสัตว์และพืชมีพิษ ภัยธรรมชาติจากฟ้าผ่า แผ่นดินไหว เป็นต้น
    ** ยกเว้น กรณีอุบัติเหตุ ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ก่อนเสียชีวิต

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
กรณีชราภาพ (รับเงินบำเหน็จ)

  • ได้เงินบำเหน็จพร้อมผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) คืนทั้งหมด

    เงื่อนไขการรับสิทธิ

  • เมื่อผู้ประกันตนมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และแจ้งสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน หรือลาออก

  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบสามารถจ่ายเงินสมทบเพิ่มได้ไม่เกิน 1,000 บาท/เดือน

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
กรณีชราภาพ (รับเงินบำนาญ)

  • ได้รับบำนาญรายเดือนขึ้นต่ำ 600 บาท/เดือน ตลอดจนเสียชีวิต

  • กรณีจ่ายเงินสมทบไม่ถึงหลักเกณฑ์ที่จะรับเงินบำนาญ (ขั้นต่ำ) จะได้รับเงินบำเหน็จพร้อมผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) คืนทั้งหมด

  • ได้รับบำนาญแล้วเสียชีวิตภายใน 60 เดือน ทายาทได้รับเงินบำเหน็จ 10 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน

  • กรณีทุพพลภาพก่อนได้รับบำนาญ จะมีสิทธิขอรับบำเหน็จพร้อมผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) คืน

    เงื่อนไขการรับสิทธิ

  • ผู้ประกันตนจะต้องจ่ายเงินสมทบครบหลักเกณฑ์ที่จะรับเงินบำนาญ (ขั้นต่ำ) หรือจ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 420 เดือน (35 ปี)

  • ผู้ประกันตนจะต้องมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน หรือลาออก

  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบสามารถจ่ายเงินสมทบเพิ่มได้ไม่เกิน 1,000 บาท/เดือน

  • ผู้ประกันตนสามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้ไม่เกินเดือน พฤษภาคม 2555

ประกันสังคมมาตรา 40 ขาดส่ง ได้ กี่เดือน
เงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตน ผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จได้แก่ บุคคล ดังต่อไปนี้

  • สามี ภริยา บิดาและมารดา หรือบุตรของผู้ประกันตนในจำนวนที่เท่านกัน กรณีไม่มีผู้สิทธิตามข้อ 2.1

  • ให้จ่ายแก่บุคคล ซึ่งผู้ประกันตนทำหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิได้รับบำเหน็จชราภาพ

หมายเหตุ หากมีการนำส่งเงินสมทบต่อเนื่องทุกเดือนจะได้รับเงินกรณีชราภาพขั้นต่ำ (ยังไม่รวมผลตอบแทน) หรือดอกเบี้ย 
ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครเขตพื้นที่ 1-12 แห่ง/จังหวัด/สาขา ที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

ข้อมูล ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558

แหล่งที่มา : สำนักงานประกันสังคม

115542

ไม่ส่งประกันสังคมกี่เดือนถึงขาด

หากเราไม่ส่งเงินสมทบตามกำหนดอย่างสม่ำเสมอ เราอาจสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ได้ ถ้าเราไม่อยากเสียสิทธิดังกล่าว จงอย่าขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน เพราะจะสิ้นสุดการเป็น ผู้ประกันตนตั้งแต่เดือนแรกที่ไม่ส่งเงินสมทบ และหากส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือนภายในระยะเวลา 12 เดือน จะสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตนตั้งแต่เดือนที่ ...

ส่งเงินสมทบ ม40 ย้อนหลังได้ไหม

กรณีผู้ประกันตนมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบจะกี่เดือนก็ตาม ยังคงสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 อยู่ หากขาดส่งเงินสมทบยังคงสามารถกลับมานำส่งสมทบต่อได้ โดยจ่ายล่วงหน้าได้ 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายย้อนหลัง

เงินประกันสังคมลดให้กี่เดือน

ที่ประชุม ครม. มีมติ ลดอัตราเงินสมทบประกันสังคม ม.33 เหลือ 3% ให้ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง เป็นเวลา 3 เดือน จ่ายสมทบสูงสุดเหลือ 450 บาท เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2565.

ลาออกจากงาน ใช้สิทธิบัตรทองได้ไหม

สิทธิประกันสังคม พนักงานบริษัท ได้สิทธิประกันสังคมอัตโนมัติ กรณีลาออกจากงาน และไม่อยากส่งเงินสมทบประกันสังคมต่อ (มาตรา 39) สามารถใช้สิทธิบัตรทองได้ แต่ต้องลงทะเบียนใช้สิทธิก่อน สิทธิบัตรทอง ไม่มีค่าใช้จ่าย ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการหรือสถานพยาบาลประจำแล้วใช้สิทธิได้ทันที