วิจัยในชั้นเรียนวิชาการงานอาชีพ doc

รายงานผลการวจิ ยั ในชน้ั เรียน
ผ้วู จิ ัยการศกึ ษาการพฒั นาทกั ษะการตอนกิง่ โดยใชว้ ิธีการปฏิบัติ

ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี3

นายปโิ ยรส รตั นชล
ครผู สู้ อนโรงเรียนคูเตา่ วิทยา

โรงเรียนคูเต่าวทิ ยา อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา
สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา สงขลา สตลู

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ชอื่ เรื่อง รายงานผลการวิจยั ในชัน้ เรยี น
ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
ช่อื ผ้วู จิ ยั
ตาแหนง่ การศกึ ษาการพฒั นาทกั ษะการตอนกิ่งโดยใชว้ ิธีการปฏบิ ัติ ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
นายปิโยรส รัตนชล
ครผู ้สู อน กลุม่ สาระการงานอาชพี

ทมี่ า
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 การขยายพันธ์ุพชื โดยไม่อาศัยเพศ เปน็ การขยายพันธแุ์ บบไม่อาศยเั พศ หมายถึง

การขยายพนั ธพ์ุ ืชด้วยการใช่้ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื ไดแ้ ก่ราก ลาต้น ใบ โดยสว่ นตา่ ง ๆของพชื เหลา่ ท่ีสามารถเกิด
รากและเจรญิ เติบโตเปน็ ตน้ พืชได้การขยายพนั ธแุ บบไม่อาศยเั พศเชน่ การปกั ชาก่งิ การตอนก่งิ การติดตา
การทาบกิง่ เปน็ ต้น ตลอดจนความสาคัญของพืชในด้านต่าง ๆ การจาแนกพืช พชื เศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ และ
ความสาคัญของวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือทางพืชกรรม และความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการปลูกการปฏิบัติการดูแล
รักษาพืชโดยมีกิจกรรมปฏิบัติอันก่อให้เกิดทักษะท่ีสาคัญในการเรียนรู้และการดารงชีวิต การเรียนการสอนใน
ปัจจุบันมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากข้ึน มีการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ท้ังในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน แต่การเรียนการสอนส่วนใหญ่มีการดาเนินกิจกรรมในรูปแบบภาคทฤษฎีใน
ห้องเรียนอยู่ การปฏิบัติจริงในห้องเรียน หรือสถานท่ีจริงมีอยู่น้อยทาให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการ
ปฏิบตั ิงาน

การเรียนการสอนหน่วยท่ี 1 การขยายพันธ์ุพืชโดยไม่อาศัยเพศ เนื้อหาวิชาความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับ
การการขยายพนั ธุก์ ารปฏบิ ตั ิการดแู ลรักษาเปน็ เน้ือหาทตี่ ้องปฏบิ ัติจริง ดาเนนิ การขัน้ ตอนตอ่ เนื่องกัน จากการ
เรียนการสอนที่ผ่านมาพบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติต่ากว่าเกณฑ์ เนื่องจากไม่สามารถ
ประยุกต์ความรใู้ นภาคทฤษฎีมาใช้ลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ ได้

การจัดทาแผนการเรียนการสอนท่ีมีการจัดรูปแบบการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติ โดยนาขั้นตอนของ
รูปแบบข้างต้นมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้เจาะลึกไปในส่วนของเร่ืองการขยายพันธ์ุพืช การ
ตอนก่งิ หวั ข้อในการจดั การเรียนรู้น้ี สามารถนาเอารปู แบบการเรียนรู้ท่เี น้นการปฏิบัติมาใช้ได้เป็นอย่างดี โดย
มีการศึกษา ทดลอง เน้นการปฏิบัติ สรุปผลการเรียนรู้ท่ีได้ รวมไปถึงการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นในช้ัน
เรียนของตัวผู้เรียนเอง โดยเชื่อว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนั้นมีแนวโน้มท่ีจะพัฒนาสูงขึ้นและนอกจากน้ียัง
พัฒนากระบวนการคิด วเิ คราะห์ ใหเ้ กิดแก่ผู้เรยี นในชนั้ เรียนที่รบั ผดิ ชอบ

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป็นการทาวิจัยโดยครูผู้สอนในชั้นเรียน เพ่ือแก้ปัญหาในช้ันเรียน
และนาผลมาใช้ในการปรับปรุงการจัดประสบการณ์ของครู ถือได้ว่าการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป็น
เครอื่ งมอื ในการเรียนรู้และสรา้ งความรู้ในการปฏบิ ตั ิงานของครู ท้ังน้ี สุวมิ ล ว่องวาณิช (2550: 22) ได้นาเสนอ
ลักษณะสาคัญของการวจิ ัยปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรียนไว้

การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ กระบวนการวิจัยที่มุ่งพัฒนา หรือแก้ปัญหาการจัดการเรียน
การสอนให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรเู้ พื่อแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ในช้ันเรียนและขณะที่สอน ผู้สอนสามารถนาผลทค่ี น้ พบมา
ปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ และพัฒนาสถานศึกษาไปสู่คุณภาพการศึกษาท่แี ทจ้ ริงและยง่ั ยืน

การวิจัยเชิงปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าเพื่อแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานหรอื
เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการโดยผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ดาเนินการวิจัยใน
สถานที่ที่ตนเองปฏิบัติอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีแท้จริงเม่ือนาการวิจัยเชิงปฏิบัติใช้กับการ
เรยี นการสอนจึงเรยี กการวิจยั เชิงปฏิบตั วิ ่า การวจิ ัยปฏบิ ตั ิการในช้ันเรียนหรือการวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนการ
สอนซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติการสอนของครูหรือเพื่อปรับปรุงและ
พัฒนาการปฏิบัติการสอนให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ โดยครูผู้สอนเป็นผู้ดาเนินการวิจัยในชั้นเรียนท่ีตนเอง
ปฏบิ ัติการสอนอยู่

ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเรื่องการศึกษาการพัฒนาทักษะการตอนก่ิงโดยใช้วิธีการปฏิบัติ เพ่ือพัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิควธิ ีการสอนโดยการลงมือปฏบิ ัติจรงิ ตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการ
เรยี นรขู้ องผ้เู รยี น เพือ่ พัฒนารูปแบบการเรียนท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นในโอกาสตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์

การศกึ ษาการพัฒนาทักษะการตอนก่ิงโดยใช้วธิ ีการปฏิบตั ิ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่3

วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย

-ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี3 ท่เี รยี นรายวชิ าการงานอาชีพ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

-เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั

แบบบันทึกผลการขยายพนั ธุพ์ ืชโดยวิธกี ารตอนก่งิ ของต้นทองอไุ ร จานวน 20 กิ่ง นกั เรียนระดับชัน้
มัธยมศึกษาปีที่ 3

-วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

บนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิของนักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โดยการประเมนิ สภาพจริง

-การวิเคราะหข์ ้อมูล

วธิ ีการแบบบนั ทึกผลการขยายพนั ธ์ุโดยวิธกี ารตอนกงิ่ โดยการหาค่าทางสถติ ิ

เกณฑ์ระดบั เวลาหนว่ ยเปน็ นาที

ระดบั เวลา 15-20 หมายถงึ ดีมาก

ระดบั เวลา 21-25 หมายถงึ ดี

ระดบั เวลา 26-30 หมายถึง ปานกลาง

ระดบั เวลา 35-40 หมายถงึ น้อย

เกณฑ์ความถูกต้องของการตอนก่ิง

ถกู ต้อง 9-10 หมายถงึ ดมี าก
ถูกต้อง 7-8 หมายถึง ดี
ถกู ต้อง 5-6 หมายถงึ ปานกลาง
ถูกต้อง 3-4 หมายถงึ น้อย
ความสมบูรณข์ องกงิ่ หลงั การตอนก่ิง หน่วยเปน็ ก่ิง
ความสมบรู ณ์ 9-10 หมายถงึ ดมี าก
ความสมบูรณ์ 7-8 หมายถึง ดี
ความสมบูรณ์ 5-6 หมายถึง ปานกลาง
ความสมบูรณ์ 3-4 หมายถึง นอ้ ย
ความสมบรู ณ์ 1-2 หมายถงึ น้อยท่สี ุด
การออกรากหน่วยเปน็ เปอรเ์ ซ็นต์
การออกราก 80-100 หมายถงึ ดมี าก
การออกราก 70-79 หมายถึง ดี
การออกราก 60-69 หมายถึง ปานกลาง
การออกราก 50-59 หมายถึง น้อย
การออกราก 40-49 หมายถึง นอ้ ยท่ีสดุ
วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั
1.ขั้นนา
- หัวขอ้ เรื่องของการการตอนกิ่ง
2.ขัน้ สอน/ขัน้ กจิ กรรม
- อธิบายความหมายของการตอนกงิ่ ให้กบั ผู้เรียนได้
- อธิบายที่เกีย่ วขอ้ งกับการตอนก่ิง
- สาธิตการปักชาแบบควบแนน่ ให้กับผ้เู รียนไดท้ ดลองปฏิบตั ิ
- เก็บข้อมูลผู้เรยี นในการปฏิบตั กิ ารตอนกง่ิ ใหถ้ ูกต้องและถกู วธิ ี
3.ขน้ั สรปุ การสอน

- สรปุ ข้อมูลการตอนกงิ่ ของผู้เรียน ส่วนนักเรียนที่ไม่ผ่านมาตรฐานในการตอนกิ่งให้ผูเ้ รียนมาทา
การเกบ็ ข้อมูลใหม่ เพ่ือให้ผูเ้ รียนมคี วามชานาญมากข้นึ

สรุปผลการวจิ ัย

การศกึ ษาการวิจยั ครงั้ นี้ มวี ตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการตอนกิ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
โรงเรียนคเู ต่าวิทยา ในรายวิชาการงานอาชีพ จานวน 10 คน เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวิจัย

แบบบันทึกผลการขยายพันธ์ุโดยวิธีการตอนกิ่ง จานวน 20 ก่ิง วิจัยเชิงปฏิบัติเป็นการวิจัยที่เหมาะสมกับการ
พัฒนาการเรยี นการสอนของครหู รือพัฒนาผเู้ รียนในทุกระดับ ครผู ู้สอนสามารถดาเนินการวจิ ัยได้พร้อมกับการ
ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีในชั้นเรยี น ไมต่ ้องใช้เงินงบประมาณมากมาย ไม่ตอ้ งเสียเวลามากนะ แต่ประโยชนท์ ่ีไดค้ มุ้ ค่า เปน็
การพัฒนาครูไปสู้ครูวิชาชีพช้ันสูงอย่างแท้จริง การวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียนก็คือ การแก้ปัญหาและปรับปรุง
พัฒนาการเรียนการสอนในชัน้ เรียนและมคี วามยดื หยนุ่ สงู มาก

ผลการวิจยั พบวา่ การพัฒนาทกั ษะการตอนก่งิ ตน้ ทองอุไรของนักเรียนทาให้นักเรียนมีทักษะการตอน
กง่ิ มากข้ึนอยู่ในระดับดี วดั จากเกณฑท์ ี่ได้กาหนดโดยมีค่าเฉลีย่ ในเรื่องของเวลาในการตอนกิง่ ความถกู ตอ้ ง
ความสมบูรณข์ องกิง่ หลังการตอนก่ิง และการออกราก คา่ เฉล่ยี คร้ังท่ี 2 สงู กวา่ ในคร้ังแรก แสดงให้เหน็ วา่
สามารถพัฒนาทักษะการตอนกิ่งตน้ ทองอไุ รกับนักเรยี นได้ผลอย่างดี

จากการทดสอบการพัฒนาทักษะการตอนก่ิงต้นทองอุไรโดยใช้วิธีการปฏิบัติ พบว่า นักเรียนสามารถ
การตอนกิ่งกิ่งทองอุไรได้ในปริมาณที่กาหนด ครั้งแรกของการตอนกิ่งนักเรยี นใช้เวลาในการตอนกิ่งกิ่งทองอไุ ร
เป็นเวลานานและปฏิบัติไม่ถูกวิธี การพันเทปพลาสติกไม่แน่น สภาพก่ิงหลังการตอนกิ่งมีตายบา้ งเป็นบางสว่ น
เปอร์เซ็นต์การออกรากน้อย แต่เม่ือนักเรียนได้ทาการตอนกิ่งก่ิงทองอุไรหลาย ๆ ครั้งจนเกิดความเข้าใจและมี
เทคนิคในการตอนกิ่งกิ่งทองอุไรทาให้นักเรียนใช้เวลาในการตอนกิ่งกิ่งทองอุไรน้อยลงได้ก่ิงทองอุไรท่ีทาการ
ตอนก่ิงมากกว่าการตอนก่ิงครั้งแรก ๆ การพันเทปพลาสติกแน่นขึ้นได้ถูกต้องและผลของการออกรากมากกว่า
เนื่องจากการเลือกก่ิงที่มาการตอนกิ่งควรเลือกกิ่งที่กิ่งแก่กิ่งอ่อนจึงจะเหมาะสมในการตอนกิ่ง การใช้วัสดุใน
การตอนก่ิงมีความเหมาะสม มีการดูแลปฏิบัติรักษาอย่างถูกวิธี เม่ือมีการปฏิบัติซ้า ๆ ก็จะทาให้นักเรียนมี
ประสบการณ์ เกิดความชานาญและสาม ารถทางานออกมาได้ผลค่อนข้างดีซึ่งสอดคลองกับ
(วารุณกันยา คุณากรวิรุฬห์.2554) กล่าวว่า เป็นการเรียนและการลงมือปฏิบัติงานจะทาให้ผู้เรียนสามารถ
เข้าใจถึงวิธีการดาเนินการ รวมถึงได้รับประสบการณ์โดยตรงเทคนิคการสอนน้ีผู้เรียนจะเกิดกระบวนทักษะ
ความคิด เกิดความเรียนรู้จากการเผชิญกับปัญหาหรือสถานการณ์จริง จะต้องมีการตัดสินใจและใช้ไหวพริบ
ปฏิภาณสามรถแกไ้ ขปัญหาอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ได้

...............................................................ผ้ดู าเนนิ การวจิ ยั

( นายปโิ ยรส รตั นชล )