รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
ไม่ต้องใช้คนค้ำ

มาคนเดียวก็กู้ได้ ไม่ต้องพึ่งใคร
ได้เงินไว ไม่ต้องค้ำ

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
อาชีพไหนก็กู้ได้

แค่มีคอนโด ก็แวะกู้ง่ายได้ที่เงินติดล้อ

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
กู้ง่าย อนุมัติไว

รับวงเงินสูงสุด 200,000 บาท

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
ผ่อนสบาย สูงสุด 60 เดือน

ผ่อนกับเงินติดล้อ เลือกได้ตามใจ
สูงสุด 60 งวด

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
จัดสินเชื่อได้แม้อยู่ต่างจังหวัด

อยู่ต่างพื้นที่ก็ไม่มีปัญหา เจอเงินติดล้อ
ที่ไหนขอสินเชื่อได้ที่เงินติดล้อทุกสาขาใกล้บ้าน

รี ไฟแนนซ์ ที่ดิน เปล่า Pantip
ปิดก่อนโปะได้

ไม่มีค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียมใดๆ แอบแฝง

สินเชื่อกรุงไทยบ้านให้เงิน วงเงินสูง ใช้จ่ายได้ตามต้องการ | ธนาคารกรุงไทยเพิ่มสภาพคล่องด้านการเงิน ด้วยสินเชื่อบ้านแลกเงิน (Home Easy Cash) กู้ง่าย ผ่อนนาน ได้วงเงินสูง เพียงเปลี่ยนบ้านหรือที่ดินเป็นเงินสินเชื่อบ้าน, อยากมีบ้าน, ดอกเบี้ยบ้าน, กู้ซื้อบ้าน, กู้เงินสร้างบ้าน, กู้เงินต่อเติมบ้าน, ซื้อบ้าน, ซื้อคอนโด, ซื้อทาวเฮาส์, คำนวณผ่อนบ้าน, กู้เงินซื้อบ้าน, คำนวณดอกเบี้ยบ้าน, ผ่อนบ้าน, สินเชื่อบ้านแลกเงิน, กู้ซื้อที่ดิน

ข่าวดีสำหรับเพื่อนๆ ที่กำลังผ่อนสินค้าต่างๆ มาระยะหนึ่งแล้ว เช่น ผ่อนบ้าน ผ่อนรถยนต์ วันนี้ผมจะขอแนะนำเคล็ดลับการทำรีไฟแนนซ์บ้านครับ โดยจะบอกเคล็ดลับแบบหมดเปลือกให้เพื่อน ๆ ทราบถึงวิธีการรีไฟแนนซ์อย่างไรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดครับ

 

""การรีไฟแนนซ์ที่ถูกต้องจะต้องเป็นการกู้เงินที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวผู้กู้มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบ “อัตราส่วนค่าใช้จ่ายรวมสุทธิทั้งหมด” กับ “หนี้สิน” ที่เกิดจากการกู้ยืมก่อนหน้านี้"

ก่อนอื่นผมขออธิบายของความหมายของการทำรีไฟแนนซ์ให้เพื่อน ๆ ได้เข้าใจกันก่อนนะครับ โดยการทำรีไฟแนนซ์ (Refinance) หมายถึง การชำระเงินกู้ที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งหมดด้วยเงินกู้ใหม่ และใช้สินทรัพย์ตัวเดิมเป็นหลักประกัน โดยขอกู้เงินจากสถาบันการเงินแห่งใหม่เพื่อนำไปปลดภาระเงินกู้เก่าที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่น รีไฟแนนซ์ในกรณีที่เราผ่อนบ้าน คอนโด หรือรถไม่ไหว หมุนเงินไม่ทัน หนี้ก้อนเดิมที่มีอยู่อัตราดอกเบี้ยสูง หรือต้องจ่ายเงินงวดต่อเดือนสูง เป้าหมายของการรีไฟแนนซ์ ก็อย่างเช่น เราจะได้อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำลง ค่างวดที่ต้องจ่ายต่อเดือนลดลง หรือระยะเวลาเป็นหนี้นานขึ้น โดยอาจจะขอกู้จากสถาบันทางการเงินที่เป็นเจ้าหนี้รายเดิมหรือเป็นสถาบันการเงินเจ้าใหม่ก็ได้ ซึ่งการรีไฟแนนซ์ที่ถูกต้องจะต้องเป็นการกู้เงินที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวผู้กู้มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนค่าใช้จ่ายรวมสุทธิทั้งหมดกับหนี้สินที่เกิดจากการกู้ยืมก่อนหน้านี้ อธิบายได้ง่าย ๆ ก็คือ เมื่อทำการรีไฟแนนซ์มาแล้วหนี้สินสามารถลดลงจากของเดิมนั่นเองนะครับ

ขอยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียในการทำรีไฟแนนซ์ให้เพื่อน ๆ ได้ใช้ในการตัดสินใจดูนะครับ

 

 

  • อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ใหม่ที่ถูกกว่า ทำให้เราผ่อนชำระได้ดอกเบี้ยถูกลงกว่าเดิม
  • บางกรณีอาจได้วงเงินกู้มากขึ้นกว่ายอดคงค้างเดิม
  • ลดภาระหนี้ ทำให้จำนวนเงินที่ต้องผ่อนต่อเดือนลดลง
  • ได้เงินส่วนต่างจากอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง ทำให้มีเงินเหลือใช้จ่ายส่วนอื่น ๆ ที่จำเป็นได้มากขึ้น สามารถนำไปหมุนเวียนใช้จ่ายหรือหมุนเวียนในธุรกิจได้

 

 

  • ทำให้ระยะเวลาผ่อนชำระนานขึ้น
  • เสียค่าจัดรีไฟแนนซ์ใหม่ เสียค่าใช้จ่ายจิปาถะในการดำเนินการ เสียเวลา และอาจต้องเสียค่าปรับหากมีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
  • มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสาร เช่น เอกสารเกี่ยวกับรายได้ของผู้กู้ หากปัจจุบันผู้กู้ตกงาน ไม่มีรายได้ ไม่สามารถหาเอกสารที่ยืนยันรายได้ของตนเอง อาจทำให้ไม่สามารถทำการรีไฟแนนซ์ได้

เมื่อเพื่อน ๆ ได้ลองชั่งน้ำหนักระหว่างข้อดี และข้อเสียในการทำรีไฟแนนซ์แล้ว ตัดสินใจที่จะทำการรีไฟแนนซ์ ผมอยากจะแนะนำวิธีการรีไฟแนนซ์อย่างไรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยจะขอยกตัวอย่างกรณีการรีไฟแนนซ์ของสินเชื่อบ้าน ดังนี้ครับ

เทคนิคขั้นตอนการรีไฟแนนซ์ของสินเชื่อบ้าน

 

 

  • ขั้นแรก ที่อยากให้เพื่อนพิจารณาเป็นลำดับแรก คือ ตรวจสอบกับธนาคารว่าได้ให้อัตราดอกเบี้ยต่ำที่สุด ในเงื่อนไขที่ดีที่สุด ซึ่งผมอยากจะขอแนะนำเพื่อน ๆ ให้ลองพิจารณาสินเชื่อบ้านกรุงศรีรีไฟแนนซ์ของธนาคารกรุงศรีอยุธยาดู ซึ่งเป็นสินเชื่อที่น่าสนใจตัวหนึ่งเลยครับ เพื่อน ๆ สามารถเข้าไปหาข้อมูลต่าง ๆ โดยรายละเอียด ลองดูตัวอย่างตามได้ที่นี่เลยครับ
  • ขั้นที่สอง เมื่อได้ข้อมูลอัตราดอกเบี้ยจากสถาบันทางการเงินต่าง ๆ มาแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนการคำนวณ โดยเพื่อน ๆ จะต้องนำข้อมูลสินเชื่อในสัญญาเก่ากู้ซื้อบ้านอันเก่าที่ยังคงเหลืออยู่นำมาเปรียบเทียบกับสัญญาเงินกู้ที่จะรีไฟแนนซ์ฉบับใหม่ (ค่างวดเก่า – ค่างวดใหม่) พิจารณาดูว่าเมื่อรีไฟแนนซ์แล้ว จะประหยัดค่างวดลงได้เยอะหรือไม่ ลองใช้เครื่องมือนี้คำนวณดูก่อนเลยครับ ถ้าคำนวณแล้วประหยัดไปได้เยอะเลย เพื่อน ๆ ก็ตัดสินใจยื่นเรื่องขอรีไฟแนนซ์กับธนาคารที่เพื่อน ๆ คำนวณเห็นว่าคุ้มค่าที่สุด หรือติดต่อสอบถามธนาคารที่เราสนใจจะรีไฟแนนซ์ไป ให้เจ้าหน้าที่ช่วยคำนวณการประหยัดให้เพื่อนๆ
  • ขั้นที่สาม ติดต่อธนาคารเก่าเพื่อขอสเตทเมนต์สรุปยอดหนี้เงินกู้ และนำเอกสารสรุปยอดหนี้ที่ได้มาไปทำเรื่องยื่นกู้กับธนาคารใหม่ที่เราจะขอรีไฟแนนซ์ จริง ๆ ข้อนี้ไม่จำเป็นต้องติดต่อธนาคารเก่าค่ะ สามารถรวบรวมจากใบเสร็จที่ชำระเงินกู้ย้อนหลังมายื่นกู้กับธนาคารใหม่ก็ได้ค่ะ
  • ขั้นที่สี่ ทำเรื่องยื่นกู้ใหม่กับธนาคารใหม่ที่เราจะขอรีไฟแนนซ์ ซึ่งขั้นตอนการรีไฟแนนซ์นั้นเหมือนกับการขอสินเชื่อใหม่เหมือนเดิมทุกประการเลยครับ
  • ขั้นที่ห้า รอผลอนุมัติจากธนาคารที่ยื่นกู้ใหม่
  • ขั้นที่หก เมื่อธนาคารอนุมัติแล้วให้เพื่อน ๆ ติดต่อธนาคารเก่า เพื่อนัดวันไถ่ถอนที่สำนักงานที่ดิน ซึ่งธนาคารเดิมจะสรุปยอดหนี้ให้อีกครั้ง พร้อมทั้งแจ้งชื่อผู้รับมอบอำนาจของทางธนาคารที่จะไปทำนิติกรรมที่สำนักงานที่ดิน เราต้องแจ้งยอดหนี้ เป็นเงินต้นรวมดอกเบี้ยจนถึงวันไถ่ถอนแก่ธนาคารใหม่
  • ขั้นที่เจ็ด ติดต่อนัดธนาคารใหม่ เพื่อนัดวันทำสัญญาและโอนทรัพย์ที่ใช้จำนองต้องเป็นวันเดียวกันกับที่นัดกับทธนาคารเดิมไว้
  • ขั้นที่แปด ทำเรื่องโอนที่ ณ สำนักงานที่ดินในเขตที่บ้านของเราตั้งอยู่ ทำการจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เรียบร้อย โดยถ้ายอดกู้สูงกว่าราคาไถ่ถอน ธนาคารใหม่จะออกเช็คให้เรา 2 ใบ ใบหนึ่งจ่ายให้กับธนาคารเก่า และอีกใบหนึ่งให้เรา เมื่อจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว มอบโฉนดที่ได้มาจากสำนักงานที่ดินให้กับธนาคารใหม่ที่เราเป็นหนี้ ก็ถือว่ารีไฟแนนซ์เสร็จเรียบร้อย เราก็จะเป็นหนี้กับธนาคารใหม่แล้วนะครับ แต่จะได้อัตราดอกเบี้ยที่ลดลง ประหยัดได้มากขึ้นนะครับ

 


ซึ่งเพื่อน ๆ ควรนำมาพิจารณาในการขอรีไฟแนนซ์ เพื่อประเมินว่าคุ้มไหม ค่าใช้จ่ายมีดังนี้

  • ค่าปรับการคืนเงินกู้ก่อนกำหนดตามสัญญาที่มีอยู่ ประมาณ 2-3% ของวงเงินกู้ทั้งจำนวน โดยบางแห่งคิดจากมูลหนี้ที่เหลืออยู่ (จ่ายให้กับผู้ให้กู้เดิม หากรีไฟแนนซ์ทั้งก้อนก่อนครบกำหนด 3 ปี)
  • ค่าจัดการสินเชื่อตามสัญญาใหม่ ประมาณ 0-1% ของวงเงินกู้ใหม่ (จ่ายให้กับผู้ให้กู้ใหม่)
  • ค่าธรรมเนียมในการจำนอง ประมาณ 1% ของราคาประเมิน (จ่ายให้กับกรมที่ดิน และไม่ต้องจ่ายถ้ารีไฟแนนซ์กับที่เดิม)
  • ค่าประเมินราคาหลักประกัน ประมาณ 2,500 บาท-0.25% ของราคาประเมิน (จ่ายให้กับผู้ให้กู้ใหม่ และอาจไม่ต้องจ่ายถ้ารีไฟแนนซ์กับที่เดิม)
  • ค่าทำประกันอัคคีภัย ประมาณ 2,000 บาทสำหรับบ้านมูลค่า 1 ล้านบาท (จ่ายให้กับผู้ให้กู้ใหม่)
  • ค่าอากรแสตมป์ ประมาณ 0.05% ของวงเงินกู้ใหม่ (จ่ายให้กับผู้ให้กู้ใหม่)

โดยผมอยากแนะนำเคล็ดลับ ในการพิจารณาว่าการรีไฟแนนซ์แต่ละครั้งจะคุ้มค่าหรือไม่ โดยเพื่อน ๆ ควรพิจารณาดูส่วนต่างที่ประหยัดได้จากอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง (เปรียบเทียบจากค่างวดที่ต้องผ่อนระหว่างธนาคารเดิมและธนาคารใหม่) รวมถึงค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรีไฟแนนซ์และจุดคุ้มทุนของการรีไฟแนนซ์ จึงควรมองหาธนาคารใหม่ที่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายรีไฟแนนซ์ต่ำ หรือไม่เรียกเก็บในบางรายการได้ก็ยิ่งดี ถ้าเพื่อนพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวแล้วคุ้มค่า ก็ลุยเลยครับ เวลาไม่เคยคอยใครนะครับ