ข้อมูลเชิงคุณภาพ ยกตัวอย่าง

2.�������¢ͧ������

2.1. ����ͨ�ṡ����ѡɳТͧ������ ����ö���͡���� 2 ��Դ���
      2.1.1 �������ԧ�س�Ҿ (Qualitative Data) ���¶֧ �����ŷ���������ö�͡����� �դ���ҡ���͹��� �������ö�͡����Ҵ��������� ���ͺ͡�ѡɳФ����繡�����ͧ ������ �� �� ��ʹ� �ռ� �س�Ҿ�Թ��� �����֧������
     2.1.2�������ԧ����ҳ (Quantitative Data) ���¶֧ �����ŷ������ö�Ѵ����� ����դ���ҡ���͹��«������ö�Ѵ����͡���繵���Ţ�� �� ��ṹ�ͺ �س����� ��ǹ�٧ ���˹ѡ ����ҳ��ҧ� ���

�͡�ҡ���������ԧ����ҳ�ѧ����ö���͡�����ա 2 �ѡɳФ��
       2.1.2.1 �������ԧ����ҳẺ������ͧ (Continues Data) ���¶֧ �����ŷ���繨ӹǹ��ԧ�������ö�͡�����к���ء��ҷ���˹��� �ӹǹ 0 � 1 ����դ���ҡ��¹Ѻ����ǹ �������鹨ӹǹẺ���Ҵ�͹
       2.1.2.2 �������ԧ����ҳẺ��������ͧ (Discrete Data) ���¶֧�����ŷ���繨ӹǹ��� ���ͨӹǹ�Ѻ �� 0 , 1 , 2 , � ,�, 100 ��� ���� 0.1 , 0.2 , 0.3 , � , � ���㹪�ͧ��ҧ�ͧ���Ф�Ңͧ�����Ũ�����դ���������á

2.2 ����ͨ�ṡ������觷���Ңͧ������ ����ö���͡���� 2 ��Դ���
     2.2.1�����Ż������ (Primary Data) ���¶֧ �����ŷ�������繼�����Ǻ��������� ����ͧ �� �����Ẻ�ͺ��� ��÷��ͧ���ͧ���ͧ
     2.2.2�����ŷص������ (Second Data) ���¶֧ �����ŷ��������Ҩҡ˹��§ҹ��� ���ͼ����� �����ӡ�����Ǻ����������ʹյ �� ��§ҹ��Шӻբͧ˹��§ҹ��ҧ� �����ŷ�ͧ��蹫������ͺ�. �繼���Ǻ������ ���

2.3 ����ͨ�ṡ����дѺ����Ѵ ����ö���͡���� 4 ��Դ���
     2.3.1�������дѺ����ѭ�ѵ� (Nominal Scale) ���¶֧ �����ŷ�����繡�����繾ǡ �� �� �Ҫվ ��ʹ� ����� ��� �������ö���ҨѴ�ӴѺ ���͹��Ҥӹdz��
     2.3.2�������дѺ�ѹ�Ѻ (Ordinal Scale) ���¶֧ �����ŷ������ö���繡������ �����ѧ����ö�͡�ѹ�Ѻ���ͧ����ᵡ��ҧ�� ���������ö�͡������ҧ�ͧ�ѹ�Ѻ����蹹͹�� �����������ö���º��º������ѹ�Ѻ���Ѵ����դ���ᵡ��ҧ�ѹ�ͧ������ҧ���� �� �ѹ�Ѻ���ͧ����ͺ�ͧ�ѡ�֡�� �ѹ�Ѻ���ͧ�����һ�СǴ�ҧ����� ���
     2.3.3 �������дѺ��ǧ���,�ѹ���Ҥ (Interval Scale) ���¶֧ �����ŷ���ժ�ǧ��ҧ ����������ҧ���� �ѹ ����ö�Ѵ��������繢����ŷ��������ٹ���� �� �س����� ��ṹ�ͺ GPA ��ṹ I.Q. ���
     2.3.4�������дѺ�ѵ����ǹ (Ratio Scale) ���¶֧ �����ŷ�����ҵ���Ѵ�����дѺ����Ѵ����٧����ش ��͹͡�ҡ����ö�觡������ �Ѵ�ѹ�Ѻ�� �ժ�ǧ��ҧ�ͧ����������ѹ���� �ѧ�繢����ŷ�����ٹ������ ���˹ѡ ��ǹ�٧ ���зҧ ����� �ӹǹ��ҧ� ���

next   top    previous

ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้จากตัวอย่างหรือประชากร 1.3.1 แบ่งตามลักษณะข้อมูล ได้ 2 ประเภท ดังนี้

1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็นข้อมูลที่วัดค่าได้ว่ามากหรือน้อยในเชิง ปริมาณ เช่น รายได้ อายุ ความสูงจำนวนสินค้า ฯลฯ ซึ่งแบ่งได้ 2 แบบ คือ 1.1 ข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าต่อเนื่องกันในช่วงที่ กำหนด สามารถแจงสมาชิกในข้อมูลได้ เช่น ความสูง อายุ ระยะทาง เป็นต้น 1.2 ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าเป็นจำนวนเต็มหรือ จำนวนนับ เช่น จำนวนนักศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน เป็นต้น

2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุค่าได้ว่ามากหรือ น้อย อาจแทนด้วยตัวเลขก็ได้โดยตัวเลขดังกล่าวไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ เช่น เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ ทัศนคติเป็นต้น

1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ไปเก็บรวบรวมข้อมูลเอง ข้อ มูลที่ได้จะมี ความทันสมัยมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ แต่การรวบรวมข้อมูลต้องใช้เวลานาน ต้องใช้กำลังคนมาก เสียค่าใช้จ่าย สูง ไม่สะดวกเท่าที่ควร

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้วผู้ใช้เป็นเพียงผู้ที่ นำข้อมูลนั้นมาใช้จึงเป็นการประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย แต่บางครั้งจะเป็นข้อมูลที่ไม่ตรงกับความต้องการ หรือไม่ละเอียดพอ นอกจากนี้ผู้ใช้มักจะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่งมีผลทำให้การวิเคราะห์ผลอาจจะ ผิดพลาดได้

ข้อมูลเชิงคุณภาพ  หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถเปรียบเทียบเชิงปริมาณ เช่น มากกว่า น้อยกว่าได้ ซึ่งได้แก่ ข้อมูลที่แสดงฐานะ สถานภาพ คุณสมบัติ ตัวอย่างของข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ชื่อของพนักงานในบริษัท เพศ วัน เดือน ปี ชนิดของสินค้า เป็นต้น  ถึงแม้ว่าข้อมูลประเภทนี้จะกำหนดด้วยตัวเลขก็ไม่สามารถที่จะเปรียบเทียบกับเชิงปริมาณได้เช่น หมายเลขโทรศัพท์ บ้านเลขที่ หรือการกำหนดตัวเลขแทนข้อมูลบางอย่าง เช่น 1 แทนเพศชาย  และ 2 แทนเพศหญิง แต่ไม่อาจกล่าวได้ว่า 2 มีค่ามากกว่า 1 ตัวเลขทั้งสองเป็นแต่เพียงแสดงว่าแตกต่างกัน  เท่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูลเบื้องต้นจะกระทำได้ด้วยการเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของข้อมูล หรือการเปรียบเทียบ    ปริมาณของค่าสัมพัทธ์  ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลประเภทนี้ไม่สามารถบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้
ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึง ข้อมูลที่แสดงปริมาณ หรือขนาดที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ในลักษณะมากกว่าหรือน้อยกว่าเป็นจำนวนเท่าไร ข้อมูลประเภทนี้มักเป็นข้อมูลที่แสดง ค่าเป็นตัวเลข เช่น จำนวนนักศึกษาในวิทยาลัยต่าง ๆ อายุการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า อุณหภูมิของร่างกายของคนป่วยหลังจากการผ่าตัด เป็นต้น
          ข้อสังเกตสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ จะพบว่า ข้อมูลบางอย่างมีลักษณะคล้ายกันมากแต่จัดอยู่คนละประเภท ลองพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ จากการสำรวจความรู้สึกของลูกค้าที่เข้ามารับบริการของโรงแรม  โดยใช้แบบสอบถามเป็นคำถามปลายปิด เชตของกระทงคำถามกลุ่มหนึ่งให้ผู้ตอบเลือกคำตอบได้ 2 ประการคือ “พอใจ” กับ “ไม่พอใจ”  เซตของกระทงคำถามอีกกลุ่มหนึ่งกำหนดลำดับของความรู้สึกเรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้ “พอใจมาก” “พอใจ” “ไม่ค่อยพอใจ” และ “ไม่พอใจเลย”  จากตัวอย่างที่ยกมา ข้อมูลจากกระทงคำถามทั้งสองกลุ่มมีลักษณะคล้ายกันมาก คือเป็นระดับความรู้สึกของผู้ตอบที่มีต่อบริการของโรงแรม แต่จะเห็นว่ามี ข้อแตกต่างกันที่  คำตอบ ในกลุ่มแรกจะแสดงถึงความแตกต่างของความรู้สึก ส่วนคำตอบในกลุ่มที่สองจะแสดงน้ำหนักของความรู้สึกซึ่งเปรียบเทียบกันในลักษณะมาก - น้อยได้   ดังนั้นข้อมูลจากคำถามกลุ่มแรกจึงจัดเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ และข้อมูลจากคำถามในกลุ่มที่สองเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
           เนื่องจากการวิจัยทางการบริหารการศึกษาส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ และการบริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพที่ต้องใช้ความสามารถในการทำงานร่วมกับมนุษย์สูงมาก การแสวงหาความรู้ความจริงด้วยการวิจัยการวิจัยของนักบริหารการศึกษาจำเป็นต้องใช้วิธีการนิรนัย (deductive) คือการเริ่มต้นจากหลักการทฤษฎีแล้วไปแสวงหาความรู้ตามหลักการทฤษฎีนั้นกับวิธีการอุปนัย (inductive) คือการแสวงหาความรู้ ความจริงจากปรากฏการณ์ หรือความรู้ย่อยๆแล้วค่อยๆสร้างเป็นหลักการและทฤษฎีขึ้นมา ดังที่กล่าวแล้วว่าศาสตร์ทางการบริหารการศึกษาเกี่ยวข้องกับมนุษย์สูงมาก ดังนั้น ข้อมูลเชิงคุณภาพจึงมีความสำคัญต่อการวิจัยทางการบริหารการศึกษาด้วย

ยกตัวอย่างข้อมูลเชิงปริมาณมีอะไรบ้าง

ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่สามารถวัดได้เป็นปริมาณเชิงตัวเลข เช่น อุณหภูมิ ระยะทาง น้ำหนัก เป็นต้น ซึ่งก็ต้องมีเครื่องมือในการวัดที่เป็นมาตรฐานสากล จึงจะนำสิ่งที่วัดได้ มาเปรียบเทียบกันได้

ลักษณะของข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง

2.1.1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถบอกได้ว่า มีค่ามากหรือน้อย แต่จะสามารถบอกได้ว่าดีหรือไม่ดี หรือบอกลักษณะความเป็นกลุ่มของ ข้อมูล เช่น เพศ ศาสนา สีผม คุณภาพสินค้า ความพึงพอใจฯลฯ

ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึงอะไร

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถบอกได้ว่า มีค่ามากหรือน้อย แต่จะสามารถบอกได้ว่าดีหรือไม่ดี หรือบอกลักษณะความเป็นกลุ่มของ ข้อมูล เช่น เพศ ศาสนา สีผม คุณภาพสินค้า ความพึงพอใจฯลฯ เช่น

ความสูงเป็นข้อมูลเชิงอะไร

Quantitative Data หรือ ข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลในรูปแบบหนึ่งที่สามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขได้อย่างชัดเจน ซึ่งชนิดข้อมูลเหล่านี้จะเป็นตัวเลขโดยสามารถวัดออกมาเป็นปริมาณว่ามีจำนวนมากหรือน้อย ตัวอย่างข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ น้ำหนัก, ส่วนสูง, จำนวนประชากร, อุณหภูมิ โดยข้อมูลประเภทนี้สามารถนำเอาไปประยุกต์ใช้กับวิชาทางสถิติ ...