โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน

โครงงานสำรวจชื่อต้นไม้ในโรงเรียน

เลือกไซต์นี้

  • หน้าแรก

  • กิตติกรรมประกาศ

  • บทคัดย่อ

  • บทที่1บทนำ

  • บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน

  • บทที่3วิธีการดำเนินงาน

  • บทที่4ผลการดำเนินงาน

  • บทที่5สรุปผลและอภิปรายผลแผนผังไซต์

  • แผนผังเว็บไซต์

หน้าแรก

Sign inRecent Site ActivityReport AbusePrint PagePowered By Google Sites

การสำรวจพรรณไม้ต้นในโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ทวี ทินเต

สถาบันการศึกษา

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

ระดับชั้น

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน

01 มกราคม 2541

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน

บทคัดย่อ

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัยมีทัศนียภาพของต้นไม้มากมายหลายชนิด เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลี้อย ในสภาพปัจจุบันหมวดเกษตรกรรมได้มีการรวบรวมข้อมูลพรรณไม้ต้นของโรงเรียนเกือบทุกชนิด แต่ยังไม่ได้ทำการศึกษาในเชิงการทำรูปวิธานพืช คณะผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดในการศึกษาโดยเริ่มสำรวจตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2547 บนเนื้อที่ของโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จำนวน 63 ไร่ 137 ตารางวา ในเชิงการทำรูปวิธานพืช สำรวจพรรณไม้ต้น และเก็บตัวอย่างพรรณไม้เพื่อเป็นตัวอย่างในการศึกษาต่อไป ได้จัดจำแนกทำรูปวิธานโดยใช้สัญลักษณ์เป็นเกณฑ์ จัดหมวดหมู่ในระดับต่างๆ ของพรรณไม้ต้น ยกเว้นพืชตระกูลปาล์ม ทำแผนผังแสดงตำแหน่งชนิดและจำนวนพรรณไม้ต้นในโรงเรียน จากการศึกษาและสำรวจพบว่ามีพรรณไม้ต้นทั้งหมด 42 ชนิด (Species) เป็นพืชในดิวิชั่น Angiospermae คลาส Magnoliopsida

หัวเรื่อง และคำสำคัญ

พรรณ,ไม้,ต้น

ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.

โครงงาน

รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.

สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล

ลิขสิทธิ์

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

วันที่เสร็จ

วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541

ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน

นายเอกวิทย์ ลำพาย

ระดับชั้น

ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6

ดูเพิ่มเติม

คุณอาจจะสนใจ

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน

Hits

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน
(80065)

โครงงานเรื่อง “เชื่อหรือไม่ว่ากินเหล้าขาวกับทุเรียนแล้วตาย” จัดทำขึ้นเพื่อทดสอบความเชื่อว่าเมื่อคนก ...

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน

Hits

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน
(78702)

ออร์กาโนฟอสเฟต (OP) เป็นกลุ่มยาฆ่าแมลงที่ใช้อย่างแพร่หลาย เอ็นไซม์ออร์กาโนฟอสฟอรัสไฮโดรเลส (OPH) สา ...

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน

Hits

โครง งาน สํา ร ว จ ต้นไม้ ใน โรงเรียน
(79669)

WOC-3D (World of Creativity – 3D) เป็นเกมเอนจิ้นซึ่งพัฒนาโดยภาษาจาวา WOC-3D มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู ...

1

โครงงานการสารวจพืชสมนุ ไพรในโรงเรยี นและท้องถนิ่
ประเภทไมล้ ้มลุกและไม้เลือ้ ย

ผู้จัดทาโครงงาน หัวหนา้ กลุ่ม
รองหวั หนา้
1.เดก็ ชายธนนั ชัย สระทองลอ้ ม สมาชกิ
2.เด็กชายจกั รภพ สืบดว้ ง สมาชกิ
3.เด็กหญงิ ณัชชา พรมชนะ สมาชกิ
4.เดก็ ชายเตชิต เกิดโภคา สมาชกิ
5.เด็กชายภานุวฒั น์ ไข่แดง สมาชกิ
6.เดก็ ชายวิทวัส โพยนอก เลขานุการ
7.เดก็ ชายณฐั วุฒิ ศรีสวัสด์เิ จริญ
8.เด็กหญงิ ณชิ า เจริญสุข

ครทู ่ีปรกึ ษา
นางสาวบญุ ญาภา จีนะวรรณ

โรงเรียนบา้ นเขากรวด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2

บทคัดย่อ

จากการสารวจพชื สมุนไพรที่พบภายในโรงเรยี นและท้องถ่ิน พบพชื สมุนไพรท้งั หมด 8 ชนิด โดยจาแนกพชื
สมุนไพร ตามลกั ษณะภายนอกพืชเปน็ ไมล้ ม้ ลุก 4 ชนดิ ได้แก่ ขม้นิ กระเทยี ม ข่า ตะไคร้ ไม้เล้ือยหรอื ไมเ้ ถา 4 ชนิด
ไดแ้ ก่ ผักบงุ้ ตาลงึ อญั ชัน บอระเพ็จ พืชสมนุ ไพร ท้ัง 8 ชนิดทพ่ี บ จะมี ลกั ษณะ สรรพคณุ ประโยชน์ วธิ ีการใช้
และขนาดในการใช้ ของพชื สมุนไพรแต่ละชนดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ขน้ึ อยูก่ บั สรรพคุณของพืชสมุนไพรทใี่ ชใ้ นการรักษา
โรคนนั้ ๆ

3

กติ ติกรรมประกาศ

ในการจัดทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง “การสารวจพชื สมนุ ไพรในโรงเรยี นและท้องถิ่น” นี้ ได้รบั ความ
ร่วมมือเปน็ อยา่ งดี จากคณะครู นักเรยี นโรงเรียนบ้านเขากรวดและผู้ปกครองนกั เรยี น ทช่ี ่วยอานวยความสะดวกใน
การสารวจพืชสมนุ ไพร ในบริเวณท้องถิ่น

ขอขอบพระคุณครูบุญญาภา จีนะวรรณ ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านเขากรวด ที่ได้กรณุ าใหค้ าแนะนาและ
สนับสนุน การจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์น้ี จนทาให้โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง “การสารวจพชื สมุนไพรท้องถ่ิน”
สาเร็จลงได้ด้วยดี คณะผจู้ ัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ จึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

คณะผู้จัดทา
20 พฤศจิกายน 2562

4

คานา

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง “การสารวจพืชสมุนไพรในโรงเรยี นและท้องถ่ิน” ฉบบั น้ี จดั ทาขึน้ เพอื่
ใชเ้ ป็นเอกสารประกอบการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเปน็ กจิ กรรมเสรมิ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้มีการฝกึ ปฏบิ ัติ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และสอดคล้องกบั
นโยบายการจดั การศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจบุ นั คอื “การปฏิรูปการศึกษา” คนไทยเราใช้สมุนไพร
ตา่ งๆมาเยยี วยาโรคภยั ไข้เจบ็ ตัง้ แต่สมยั อดตี ที่มี วิทยาการแพทย์ยงั ไม่กา้ วล้านาสมยั เฉกเชน่ ในปัจจุบันนสี้ มนุ ไพร
ชนดิ ต่างๆลว้ นมสี รรพคุณเป็นโดยไมค่ ่อยจะมีฤทธท์ิ าใหผ้ ้ปู ่วยมีอาการแพ้ใดๆ อยา่ งที่ยาฝร่ังสมยั นีม้ ีแมว้ ่าใน
ปัจจุบนั จะสะดวกสบายกบั ยาแผนปจั จุบนั ท่มี ี ขายอยทู่ ว่ั ไป แต่การเรยี นรจู้ กั สมนุ ไพรไทยไว้บา้ งก็จะเป็นประโยชน์
อย่างย่ิง ว่าสมนุ ไพรแต่ละชนดิ มีสรรพคุณทางยาอย่างไร และจะนามาตาหรือตม้ อย่างไรจึงจะถกู ทางกับโรคภัยไข้
เจ็บท่เี ปน็ อยู่ จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ได้ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั สมุนไพรพืน้ บา้ นเปน็ ยาตารับพน้ื ๆ เช่น รักษาอาการผดผน่ื
พพุ อง เป็นลมพิษ หรอื อักเสบเพราะแมลงกัดต่อย รักษาหดิ เหา กลาก เกลือ้ น แก้เบาหวาน บรรเทาอาการหอบหดื
รักษารงั แค ผมร่วงและอาการไม่สบายต่างๆ อีกมากมาย ซึง่ ทาได้งา่ ยๆ เพราะมิใชต่ ารับยาทีม่ ีขน้ั ตอนการปรุง
ซบั ซอ้ น ขอเพยี งให้รู้จักชนิดของสมนุ ไพรและนามาบาบัดรกั ษาให้ถกู โรคเท่านนั้ ทุกบ้านทุกครอบครวั สามารถ
ปลอดจากโรคภัยไขเ้ จ็บได้ ดว้ ยสมุนไพรพื้นบ้านท่รี ูจ้ ักกนั ดี และสามารถปลูกหรือเสาะหาไดไ้ ม่ยากเลยในปัจจบุ นั

คณะผ้จู ัดทาหวังว่าเอกสารฉบับน้คี งจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ท่านผ้สู นใจและใช้ เป็นแนวทางในการศึกษาเรื่อง
“พืชสมนุ ไพร” ในอนั ดบั ต่อไปบ้างไม่มากกน็ ้อย

คณะผจู้ ัดทา
20 พฤศจิกายน 2562

สารบญั 5

เรื่อง หน้า
บทคดั ย่อ 2
กติ ตกิ รรมประกาศ 3
คานา 4
สารบัญ 5
สารบญั ตาราง 6
บทที่ 1 บทนา 7
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 8
จุดม่งุ หมายของการศึกษาค้นควา้ 8
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า 8
สถานที่ที่ทาการศึกษาค้นควา้ 8
ระยะเวลาในการศึกษาคน้ ควา้ 8
บทที่ 2 เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกับการศกึ ษาคน้ คว้า 9
บทท่ี 3 วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการศึกษา 13
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 14
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 22
บรรณานกุ รม 24

สารบญั ตาราง 6
ช่ือตาราง
หนา้
ตารางท่ี 1 สรุป ลักษณะ สรรพคณุ ประโยชน์ วธิ ีการใช้ และขนาดในการใช้
ของพืชสมุนไพรประเภทล้มลกุ
ตารางที่ 2 สรปุ ลกั ษณะ สรรพคณุ ประโยชน์ วธิ กี ารใช้ และขนาดในการใช้
ของพชื สมนุ ไพรประเภทไมเ้ ลื้อยหรือไมเ้ ถา

7

บทท่ี 1
บทนา
ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน

จากการไดศ้ ึกษาและเรยี นรเู้ ร่ืองพชื ในวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง
โครงสรา้ งพชื ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ทาให้ทราบว่าพชื มีหลายชนิด ซงึ่ พืชแต่ละชนิดกม็ ลี ักษณะและ
ประโยชน์ท่ีไม่เหมือนกัน ผจู้ ดั ทาโครงงานไดใ้ หค้ วามสนใจเก่ียวกับพชื สมนุ ไพรเป็นพิเศษเพราะ ผูจ้ ัดทาโครงงานได้
สงั เกตเห็น วา่ เม่อื สัตวเ์ ลีย้ ง เชน่ สนุ ขั หรอื แมว ไม่สบาย มนั มกั จะไปเล็มหญา้ หรอื ใบตะไคร้กนิ บางทีเวลาถูกน้า
รอ้ นลวกหรอื ไฟลวกมือผใู้ หญ่จะใช้ว่านหางจระเข้มาทาทแี่ ผลโดย บอกว่าช่วยใหแ้ ผลหายเรว็ และจะไม่เปน็ แผลเปน็
หรือเป็นรอยด่าง และสงั เกตเห็นบา้ นแต่ละหลงั ในหมบู่ ้าน ปลูกพืชสมนุ ไพรบางอยา่ งไว้ทีบ่ ้าน เพราะสามารถใช้
รักษาอาการเจบ็ ป่วยเล็กๆนอ้ ยๆบางอย่างได้สะดวก และไม่สิ้นเปลอื งค่าใชจ้ า่ ย

ดังนั้นผจู้ ัดทาโครงงานจึงอยากทจ่ี ะศึกษาพชื สมุนไพรในโรงเรยี นและในท้อง ถิ่นว่ามีพืชสมนุ ไพรอะไรบ้าง
แตล่ ะชนดิ มลี กั ษณะ สรรพคุณ ประโยชน์และวิธีใชอ้ ย่างไร ขนาดในการใชเ้ ทา่ ไหร่ จึงจะใชใ้ ห้ถูกกบั โรคทีเ่ กิดข้นึ
โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย เพื่อเป็นความรใู้ ห้แก่เพอ่ื นในโรงเรียน คนในชุมชน และคนทวั่ ไปทส่ี นใจ และเป็นการ
กระตุ้นให้ทกุ คนช่วยกันอนรุ กั ษพ์ ืชสมนุ ไพร โดยให้ปลกู และกระจายพนั ธุใ์ ห้มาก เพราะนับวนั พชื สมนุ ไพรจะหา
ยากขึ้นทุกที ผจู้ ดั ทาโครงงานจงึ ไดจ้ ัดทาโครงงานนี้ข้ึน

จดุ มุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ คว้า
1. เพ่ือสารวจพืชสมุนไพรที่พบในโรงเรยี นและในท้องถน่ิ ว่ามชี นดิ ใดบ้าง
2. เพอ่ื ศึกษา ลกั ษณะ สรรพคุณ ประโยชน์ วธิ กี ารใช้ และขนาดในการใช้
ของพืชสมุนไพรแตล่ ะชนดิ
3. เพอ่ื เป็นการกระตุ้นให้ทุกคนช่วยอนุรักษ์พืชสมนุ ไพรในโรงเรียนและ
ในท้องถ่ินของตนเอง

8

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

-สารวจและศึกษาค้นคว้าพืชสมนุ ไพรทพ่ี บภายในท้องถิน่

คานิยามศัพท์เฉพาะ

-พืชสมุนไพร หมายถึง พชื ท่ีมสี รรพคณุ ในการรักษาโรค หรอื อาการเจบ็ ปว่ ยตา่ งๆ

สถานท่ีทาการศกึ ษา

-บรเิ วณโรงเรียนทอ้ งถนิ่ และหมูบ่ า้ น

ระยะเวลาในการศกึ ษาค้นควา้

-วนั ที่ 15 - 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2562

9

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การศกึ ษาคน้ คว้า

สมุนไพร (Medicinal plant) ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525
หมายถงึ พืช ทน่ี าไปทาเป็นเครือ่ งยา มสี รรพคณุ ในการรักษาโรค หรอื อาการเจ็บปว่ ยต่างๆ (หาไดต้ ามพืน้ บ้าน หรอื
ป่า) สว่ นคาวา่ “ยาสมุนไพร” ตามพระราชบัญญตั ิยา พทุ ธศกั ราช 2510 หมายถึง ยาทไี่ ดจ้ ากสว่ นของพืช สตั ว์ แร่
ธาตุ ซ่ึงยงั มิไดผ้ สมปรุงหรอื แปรสภาพ แตก่ ารนาไปใช้สามารถดดั แปลงรปู ลักษณะเพื่อความสะดวกยง่ิ ข้ึน อาทิ การ
นาไปห่ันใหเ้ ล็กลง การนาไปบดเป็นผง เปน็ ตน้ การใช้บาบดั อาจใช้แบบสมนุ ไพรเดี่ยวๆ หรอื อาจใชใ้ นรปู ของตารับ
ยาสมนุ ไพร คนไทยเราใชส้ มุนไพรต่างๆมาเยียวยาโรคภัยไขเ้ จบ็ ตงั้ แตส่ มัยอดีตท่ีมี วิทยาการแพทย์ยงั ไม่ก้าวลา้ นา
สมัยเฉกเชน่ ในปัจจบุ นั นีส้ มนุ ไพร ชนดิ ต่างๆล้วนมีสรรพคุณเป็นโดยไม่ค่อยจะมีฤทธิ์ทาใหผ้ ปู้ ว่ ยมีอาการแพ้ใดๆ
อย่างท่ยี าฝรัง่ สมยั นม้ี แี ม้ว่าในปัจจุบนั จะสะดวกสบายกบั ยาแผนปัจจุบนั ทีม่ ี ขายอยู่ทัว่ ไป แต่การเรียนรู้จกั สมุนไพร
ไทยไวบ้ า้ งกจ็ ะเปน็ ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ว่าสมุนไพรแต่ละชนิดมีสรรพคณุ ทางยาอย่างไร และจะนามาตาหรอื ต้ม
อย่างไรจึงจะถูกทางกับโรคภัยไขเ้ จบ็ ท่เี ปน็ อยู่ จากภมู ิปัญญาท้องถิ่น ได้ใหค้ วามรูเ้ กย่ี วกบั สมนุ ไพรพ้ืนบ้านเปน็ ยา
ตารบั พืน้ ๆ เช่น รกั ษาอาการผดผ่นื พพุ อง เป็นลมพษิ หรืออักเสบเพราะแมลงกดั ต่อย รกั ษาหดิ เหา กลาก เกลอื้ น
แกเ้ บาหวาน บรรเทาอาการหอบหดื รกั ษารังแค ผมรว่ งและอาการไม่สบายต่างๆ อีกมากมาย ซ่ึงทาได้ง่ายๆ เพราะ
มิใช่ตารับยาที่มีขน้ั ตอนการปรงุ ซับซอ้ น ขอเพยี งให้รจู้ ักชนดิ ของสมุนไพรและนามาบาบัดรักษาให้ถูกโรคเท่านั้น
ทุกบ้านทุกครอบครวั สามารถปลอดจากโรคภัยไขเ้ จ็บได้ ด้วยสมุนไพรพ้นื บา้ นทร่ี จู้ ักกนั ดี และสามารถปลูกหรือ
เสาะหาได้ไม่ยากเลยในปจั จบุ ัน

การจาแนกพืชสมุนไพร
การจาแนกพืชสมุนไพรสามารถจาแนกไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี
1. การจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์
1.1. สมุนไพรทใ่ี ช้เปน็ ยา แบ่งไดเ้ ป็นยารับประทาน ซง่ึ นามารบั ประทานเพื่อรักษาอาการของโรคได้ เชน่ บอระเพ็ด
ฟ้าทะลายโจร ใชแ้ กไ้ ข้ เปน็ ต้นและยาสาหรบั ใช้ภายนอก เปน็ สมนุ ไพรท่ีสามารถนามาบาบดั โรคท่เี กิดขนึ้ ตาม
ผิวหนงั แผลท่ีเกิดขึน้ ตาม รา่ งกายเช่น บวั บก วา่ นหางจระเข้ ใชร้ ักษาแผลนา้ ร้อนลวก เป็นต้น
1.2. สมนุ ไพรท่ีใชเ้ ปน็ ผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหารและเคร่ืองดมื่ พชื สมุนไพรหลายชนดิ สามารถนามาทาเป็นผลติ ภณั ฑ์
เสริมอาหารเพื่อบารุงสุขภาพ เชน่ บุก ดดู จับไขในจากเสน้ เลอื ด สม้ แขก ยบั ย้ังกระบวนการสรา้ งไขมันจากแป้ง
1.3. สมนุ ไพรท่ใี ช้เปน็ เครื่องสาอาง เชน่ ขม้นิ ชนั ไพล อัญชัน วา่ นหางจระเข้ มะคาดีควาย เหด็ หลินจือ ที่เป็น
สว่ นผสมในแชมพู ครมี นวดผม สบู่ โลชั่นเปน็ ต้น

10

1.4. สมนุ ไพรที่ใชใ้ นการเกษตร ไดแ้ ก่สมุนไพรที่ใชใ้ นการป้องกัน กาจัดศัตรูพืช เปน็ สมุนไพรท่ีมีฤทธเิ์ บื่อเมาหรือมี
รสขม เช่น สะเดา ยาสบู ตะไครห้ อม หางไหล หนอนตายหยาก เป็นตน้ นอกจากน้ยี ังมสี มนุ ไพรอีกหลายชนิดทีใ่ ช้
ในการ ปศุสตั ว์ เช่น ฟา้ ทะลายโจร ใช้ผสมอาหารสตั วเ์ ปน็ ตน้
1.5. สมนุ ไพรทใ่ี ช้เป็นผลติ ภัณฑน์ า้ มนั หอมระเหย เชน่ โหระพา มะกรูด

2. การจาแนกตามลกั ษณะภายนอกพืช
2.1 ไมย้ นื ตน้ (tree) เปน็ ตน้ ไม้ทีม่ ีลาต้นใหม่ ลาต้นเดย่ี ว สงู มากกว่า 6 เมตร เจริญเตบิ โตตง้ั ตรงข้นึ ไป
2.2 ไม้พุ่ม(shrub) เปน็ ตน้ ไม้ที่มีเนอื้ ไม้ขนาดเลก็ และเต้ยี มีหลายลาตน้ ทแ่ี ยกจากดินหรอื ลาตน้ จะแตกกงิ่ กา้ นใกล้
โคนต้น หรือมลี าต้นเล็กๆ หลายตน้ จากโคนเดยี วกัน ทาให้ดเู ปน็ กอหรือเปน็ พุ่ม
2.3 ไม้ล้มลุก (herb) เป็นพืชที่มีลาตน้ อ่อน ไม่มเี นื้อไม้ หักงา่ ย มอี ายุ 1 หรอื หลายปี
2.4 ไมเ้ ลอื้ ยหรือไมเ้ ถา (climber) เป็นพืชท่มี ลี าต้นยาว ไม่สามารถตง้ั ตรงได้ต้องอาศยั สิง่ ยดึ เกาะตามกิ่งไม้ อาศยั
สว่ นของพชื เกาะ อาจเปน็ ลาต้น หนวดหรอื นามก็ได้
3. การจาแนกตามหลักพฤกษศาสตร์

จาแนกตามลักษณะของโครงสรา้ งของดอก รวมทง้ั ความสัมพนั ธท์ างพนั ธกุ รรมและวิวัฒนาการพืช
โครงสรา้ งการจาแนกตามหลักนี้ ถือว่าเปน็ ระบบท่ีถูกต้องแน่นอนท่ีสดุ เป็นทยี่ อมรับทางสากล โดยพืชทีอ่ ยู่ในตละ
กูลหรือจีนสั (genus) เดียวกนั จะบอกความสมั พันธ์และแหล่งกาเนิด มีความต้องการสภาพแวดลอ้ มในการ
เจรญิ เติบโต การควบคุมโรคแมลงท่ีคลา้ ยคลึง ซ่ึงพชื สมนุ ไพรเหล่านจี้ ะมีช่ือวทิ ยาศาสตรแ์ ละช่อื วงศ์ เพื่อจาแนก
พืชสมุนไพรได้ถกู ต้องการเกบ็ สมนุ ไพรเพ่ือใช้ทายา
วธิ กี ารเกบ็ เกี่ยวสมนุ ไพร

เพอ่ื นาไปใช้ทายาจะมีผลโดยตรงตอ่ คุณสมบตั ิทาง เคมีและฤทธ์ทิ างยาสมนุ ไพรควรเกบ็ สมนุ ไพรในวนั ที่
อากาศแหง้ ในระยะที่พชื โตเต็มที่ หรอื ในชว่ งที่พืชสะสมปริมาณของตวั ยาไว้ค่อนขา้ งสูง หลงั การเก็บสมุนไพรแลว้
ควรทาใหแ้ หง้ เรว็ ทสี่ ดุ ด้วยการตากหรอื การอบ เมื่อสมนุ ไพรแหง้ ดแี ล้ว ควรจัดเกบ็ ให้ดเี พื่อรักษาคุณภาพ
1. การเก็บดอกควรเกบ็ ในตอนเช้าหลงั หมดน้าค้าง โดยทว่ั ไปเก็บในชว่ งดอกเร่ิมบาน หรือบานเตม็ ท่ีแลว้ แตบ่ าง
ชนดิ เก็บในชว่ งดอกตูม เชน่ ดอกกานพลู การเกบ็ ดอกควรเก็บดว้ ยความ ทะนุถนอม เพราะสว่ นดอกมกั เสยี หายได้
2. การเกบ็ ใบ โดยทั่วไปควรเกบ็ ในชว่ งที่พืชเจริญเติบโตมากที่สุด ช่วงทใี่ บมีสีเขยี วสด ไม่แก่ไมอ่ ่อนจนเกนิ ไป ถา้
เป็นใบ ใหญ่ก็เดด็ เปน็ ใบๆ ล้างใหส้ ะอาดแลว้ ตากแห้ง ถ้าเป็นใบเล็กใหต้ ดั มาท้ังกิง่ มดั เปน็ กา แลว้ แขวนตากไว้ท้งั กา
แห้งดีแลว้ รุดออกจากก่ิง เก็บในภาชนะทที่ ึบปิดฝาให้สนทิ ถา้ เป็นพชื ที่มนี า้ มนั ไม่ควรตากแดดควรผ่งึ ลมไวใ้ นท่ีร่ม
เชน่ กะเพรา สะระแหน่

11

3. ในกรณที ี่เป็นเมลด็ ขนาดเล็ก เก็บเม่ือเมล็ดเกือบจะสกุ แก่เต็มที่ เพ่ือป้องกนั การถูกลมพดั ให้กระจัดกระจายไป
โดยเกบ็ มาทั้งก่ิง แลว้ มดั รวมเป็นกาแขวนไวใ้ ห้หวั ท่มิ ลงเหนือถาดทร่ี องไว้ ในกรณีที่ เกบ็ เมลด็ จากผลให้เก็บผลท่ี
สกุ แก่เต็มท่นี ามาตากใหแ้ ห้ง แล้วจึงเอาเปลือกออก เอาเมลด็ ออกมาตากใหแ้ หง้ อีกครงั้ พืชสมนุ ไพรบางชนิดเกบ็
ผลในชว่ งท่ียงั ไมส่ ุก เชน่ ฝร่งั เกบ็ ผลออ่ น ใชแ้ ก้ท้องร่วง แต่โดยท่วั ไปมักเกบ็ ตอนผลแกห่ รือสุกใหม่ๆ แตอ่ ย่าใหส้ กุ
จนเละ จะทาให้แห้งยากเม่อื นาไปตากแดด หรอื อบ
4. การเกบ็ รากและหัว ควรเก็บในช่วงท่ีพชื หยดุ การเจรญิ เติบโต ใบ ดอก ร่วงหมด หรือในชว่ งตน้ ฤดหู นาวถึงปลาย
ฤดูรอ้ น ชว่ งน้ีหวั และรากจะมีการสะสมปรมิ าณของตวั ยาไวค้ ่อนข้างสูง
5. การเก็บเมือกหรือยางจากต้นไม้ ให้กรีดรอยลึกๆ ลงบนเปลือกไม้ หรอื ด้วยการเจาะรูแล้วใชถ้ ว้ ยรอง เมอื กหรือ
ยางของต้นไมบ้ างชนดิ อาจเป็นพิษระคายเคืองควรสวมถงุ มือ ขณะกรดี ยาง สาหรบั วา่ นหางจระเข้ เลือกใบทอ่ี วบ
แล้วใชม้ ีดผา่ เปลอื กนอกตรงกลางตามแนวยาวของใบ แลว้ แหวกเปลือกออก จากนนั้ ใช้ด้านท่อื ของมีดขูดเมอื กของ
วา่ นหางจระเข้ออก
6. การเกบ็ เปลอื กโดยมากเก็บระหวา่ งฤดูร้อนตอ่ กบั ฤดูฝน จะมีปรมิ าณยาค่อนข้างสูง และลอกเปลือกได้โดยง่าย

12

การแปรรูปสมุนไพร

สมุนไพรถกู นามาใช้สารพัดประโยชน์ และถกู แปรรูปออกมาในแบบตา่ ง ๆ สงิ่ สาคญั สดุ ของการแปรรปู
สมนุ ไพร คอื การปรงุ ยา หมายถงึ การสกดั เอาตวั ยาออกจากไม้ยา ซงึ่ สารท่ใี ช้สกัดตวั ยาท่นี ิยมใช้ไดแ้ ก่ นา้ และเหลา้
สมุนไพรที่นามาเปน็ ยาตามภูมิปัญญาดัง้ เดิม มรี ูปแบบดงั นี้
1. ยาต้ม เปน็ การสกดั ยาใหอ้ อกจากไม้ยาด้วยนา้ รอ้ น เปน็ วิธีทนี่ ยิ มใชม้ ากท่สี ุดสว่ นใหญ่จะใชต้ ้มกับส่วนของต้นไม้เน้ือ
แน่นแข็ง เชน่ ลาตน้ ราก ตอ้ งใชก้ ารต้มจงึ จะมตี วั ยาออกมา ขอ้ ดสี าหรบั การตม้ คอื เป็นวธิ ีที่สะอาด ปลอดภยั จากเชื้อ
โรค ซึง่ การตม้ นีม้ ดี ้วยกัน 3 ลักษณะ คือ
1) ต้มกินต่างนา้ เปน็ การตม้ ยาให้เดือด แลว้ ตม้ ด้วยไฟอ่อนอีก 10 นาที จากนั้นเอายากนิ แทนน้า นั่นคือ หวิ นา้ แทนที่
จะกนิ น้ากก็ ินน้ายาแทน
2) ต้มเคีย่ ว คอื การตม้ ใหเ้ ดอื ดอ่อนๆไปอกี ประมาณ 20-30 นาที
3) ตม้ สามเอาหนง่ึ เป็นวิธีการตม้ จากนา้ 3 สว่ น ให้เหลือเพียง 1 ส่วน มักใช้เวลาในการตม้ 30-45 นาที
2. ยาชง เป็นการสกดั ตวั ยาดว้ ยน้าร้อนเช่นกัน ใชก้ ับส่วนของตน้ ไม้ท่ีบอบบางออ่ นนุ่ม เชน่ ใบ ดอก ท่ีไม่ตอ้ งการโดน
นา้ เดอื ดนานๆ ตวั ยาก็ออกมาได้ วิธกี ารชงให้เอายาใสแ่ กว้ เติมนา้ ร้อนจัดลงไป ปิดฝา ปล่อยไวจ้ นเย็น ให้ตวั ยาออกมา
เต็มท่ี
3. ยานา้ มัน สาหรบั ตวั ยาบางชนิดจะไม่ยอมละลายน้าเลย แม้ว่าจะเคี่ยวแล้วกต็ าม (ส่วนใหญ่ยาท่ลี ะลายน้าได้ดีจะไม่
ละลายน้ามนั เชน่ กนั ) จึงใช้นา้ มนั เปน็ ตัวสกัดยาแทนน้า เนือ่ งจากยานา้ มนั ทาแลว้ เหนียว เหนอะเปรอะเป้อื นเสอ้ื ผ้า จึง
ไม่นิยมปรุง ใชก้ ัน
4. ยาดองเหล้า สาหรับตวั ยาที่ไม่ยอมละลายน้า กบั ละลายในเหล้า ได้เชน่ เดยี วกับตวั ยาที่ไม่ยอมละลายในนา้ มนั ยา
ดองเหลา้ มกั จะมฤี ทธ์แิ รงกวา่ ยาตม้ เนือ่ งจากเหลา้ มีกล่นิ ฉุน และหากกนิ บ่อย ๆ อาจทาให้ติดได้ จงึ ไมน่ ิยมกินกัน จะ
ใช้ต่อเทอ่ื กนิ ยาเม็ดหรือยาต้มแลว้ ยงั ไม่ไดผ้ ล
5. ยาตาคนั้ เอาน้า เอายามาตาใหล้ ะเอียดและค้ันเอาแตน่ า้ ออกมา มักใชก้ ับส่วนของต้นไมท้ ี่มีนา้ มากๆอ่อนนมุ่ ตาให้
แหลกงา่ ย เชน่ สว่ นใบ หวั หรือเหง้า ยาประเภทนกี้ ินมากไม่ได้เชน่ กนั เพราะนา้ ยาท่ีได้จะมีกลิน่ และรสชาตริ นุ แรงตวั
ยาก็จะเขม้ ขน้ มาก ยากทีจ่ ะกลืนเขา้ ไปที่เดียว ฉะน้ันกนิ ครั้งละ 1 ถว้ ยชาก็พอแลว้
6. ยาผง คือการเอายาไปอบ หรอื ตากแห้งแล้วบดใหเ้ ปน็ ผง ยายง่ิ เป็นผงละเอยี ดมาก กย็ ง่ิ มสี รรพคุณดขี ึ้น เพราะยาผง
จะถูกดูดซึม เข้าสู่ลาไส้ไดง้ ่าย ตัวยาจึงเข้าสู่ร่างกายไดร้ วดเร็ว ดังนั้น ผงยายิง่ ละเอียดยิง่ เป็นผลดี ส่วนยาผงชนิดใดที่
กินยากกใ็ ชป้ ัน้ เป็นเมด็ หรือที่เรียกว่า เปน็ ลกู กลอน โดยใชน้ า้ เชอื่ ม น้าข้าว หรือน้าผงึ้ เพือ่ ให้ยาตดิ กันเป็นเม็ด สว่ น
ใหญ่นยิ มใชน้ า้ ผงึ้ เพราะสามารถเกบ็ ไวไ้ ด้นานโดยไม่ขึ้นรา
7. ยาฝน เป็นวิธีทหี่ มอพน้ื บา้ นใช้มาก วธิ ีฝนคอื หากภาชนะใสน่ า้ สะอาดประมาณคร่งึ หน่ึง แล้วเอาหนิ ลับมดี เล็กๆ จุ่ม
ลงไปให้หินโผล่เหนือน้าเลก็ นอ้ ย ฝนจนได้นา้ ยาสีขนุ่ ข้นเล็กน้อย กนิ ครง้ั ละ 1 แกว้
การปรงุ ยาสมนุ ไพร

13

สมุนไพรนอกจากจะสามารถใชส้ ดๆกนิ สดๆหรอื กนิ เป็นอาหารแลว้ ยงั มีวธิ ีการปรงุ ยาสมนุ ไพรเพอ่ื ใหไ้ ด้
สมุนไพรในรูปแบบทเี่ หมาะสม มปี ระสทิ ธิภาพในการรักษาโรค ใชไ้ ดส้ ะดวก มรี สและกลิ่นทช่ี วนกิน อกี ท้ังพกพา
สะดวก เก็บไวใ้ ชไ้ ด้นาน
1. การชง (Infusion) การชงเป็นวิธีพื้นฐานและงา่ ยสาหรับการปรงุ ยาสมนุ ไพร มีวิธีการเตรยี มเหมอื นกบั การชงชา
โดยใช้น้าเดือดเทลงไปใชไ้ ด้ทั้งสมนุ ไพรสดและแห้ง ภาชนะที่ใช้ชงควรเปน็ กระเบื้องแกว้ หรือภาชนะเคลือบไม่ควร
ใชภ้ าชนะโลหะ
2. การต้ม (Decoction) การตม้ เป็นวิธีสกดั ตวั ยาได้ดีกว่า การชง โดยใชส้ มุนไพรสดหรือแห้งตม้ รวมกบั น้า มกั ใช้
รากไม้ กิ่งกา้ น เมลด็ หรือผลบางชนดิ วิธีการเตรยี มทา โดยการหั่นหรอื สับสมนุ ไพรเปน็ ชิ้นเล็กๆใสห่ ม้อตม้ ใส่นา้ ให้
ท่วมยาสักเลก็ น้อย ใชไ้ ฟขนาดปานกลางตม้ จนเดือด แลว้ จงึ ลดไฟให้อ่อน คนยาไปเรื่อยๆเพ่ือไม่ให้ยาไหม้ ตามตา
ราไทยมักจะต้มแบบ 3 เอา 1 คือใสน่ ้า 3 ส่วน ของปริมาณท่จี ะใช้แล้วต้มให้เหลือ 1 ส่วน ควรทาสด ๆใชใ้ นแต่ละ
วนั ไม่ควรทาท้ิงไว้ข้ามคืน
3. การดอง (Tinctuer) การดองด้วยเหลา้ หรอื แอลกอฮอล์นี้ เป็นวิธีการทีม่ ีประสิทธภิ าพในการสกัดตวั ยาออกจาก
สมนุ ไพร โดยการแช่สมุนไพรสดหรอื แหง้ ในเหลา้ หรือแอลกอฮอล์ เหมาะสาหรบั สมนุ ไพรท่มี ีสารออกฤทธทิ์ ี่ละลาย
นา้ ได้น้อย เหล้าหรอื แอลกอฮอลท์ ่ีใช้ในการดอง นอกจากจะทาหน้าทส่ี กัดด้วยตัวยาสมุนไพรแลว้ ยงั เป็นตัวกันบูด
อีกด้วย ยาดองจงึ เก็บไว้ใช้ได้นานเปน็ ปี
4. การเชือ่ ม(Syrup) เปน็ การเตมิ นา้ เชอื่ มหรือน้าผง้ึ ลงในยาชงหรอื ยาต้ม เพอ่ื รักษาไวไ้ ด้ใช้นานๆ เหมาะสาหรับ
การปรงุ ยาแก้ไอเพราะน้าผ้ึงมีสรรพคุณบรรเทาอาการไอ และการท่ยี ามสี ่วนผสมของน้าผ้ึงจะทาให้ยามรี สหวาน
รบั ประทานไดง้ า่ ย
5. การสกัดดว้ ยนา้ มนั (Infused oils) ตวั ยาสมนุ ไพรสามารถถูกสกัดได้ดว้ ยการแช่หรือทอดในนา้ มนั พืช นา้ มนั
สมุนไพรท่ีได้มักจะใชส้ าหรับภายนอกร่างกาย เช่น น้ามนั สาหรับนวด การสกัดยาสมนุ ไพรดว้ ยน้ามนั ทาได้ 2 วิธี
คือวธิ รี อ้ น และวธิ ีเย็น การสกัดดว้ ยวธิ เี ยน็ ควรทาซา้ กนั หลายๆ ครั้งโดยการเติมสมนุ ไพรเขา้ ไปใหมจ่ ะช่วยใหต้ วั ยา
เขม้ ขน้ ขนึ้ การสกัดด้วยวธิ รี ้อน จะใช้ต้มสมุนไพรในนา้ มัน ในหม้อ 2 ชัน้ คลา้ ยกับการตนุ๋ หรอื ต้มในน้ามันโดยตรง
6. ครมี (Cream) ครีมเปน็ ส่วนผสมของน้ากบั ไขมันหรือนา้ มัน เม่อื ทาครมี ลงบนผวิ หนงั แล้วเนือ้ ครมี จะซมึ ผา่ น
ผวิ หนังลงไปได้ ดังน้นั การทาครมี สมุนไพร จะต้องใชต้ วั ท่ีช่วยผสาน นา้ ใหเ้ ขา้ กบั นา้ มนั เรยี กวา่ Emulisifying
Ointment การทาครีมสมุนไพรไว้ใชเ้ องสามารถเก็บไว้ใช้ได้นานหลายเดือน โดยเฉพาะถา้ เกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ ถา้
ต้องการใหเ้ กบ็ ได้นานกว่านนั้ ตอ้ งผสมสารทีช่ ว่ ยกันบูดลงไป
7. ขผี้ ้งึ (Ointment) ขผี้ ้ึงจะไม่เหมือนครีมตรงที่ไม่มีส่วนผสมของน้า จะมีแตไ่ ขมันหรือน้ามัน ดงั นัน้ ขผ้ี ้ึงจงึ ไมซ่ ึม
ผ่านผิวหนังแต่จะเคลือบผวิ หน้าไวอ้ กี ขนั้ หนง่ึ จึงเหมาะสาหรับนามาทาผิวบรเิ วณที่อ่อนบางหรือบรเิ วณที่ตอ้ งการ
ปกปอ้ ง เช่น รมิ ฝปี าก

14

8. ผง แคปซลู และลกู กลอน (powers Capsuls and Pills) สมุนไพรสามารถบดใหเ้ ป็นผงละเอยี ดแล้วชงนา้ ดื่ม
หรือโรยผสมอาหาร แตเ่ พอ่ื ความสะดวกในการรบั ประทานพกพาและเก็บไว้ได้นานขน้ึ ก็สามารถบรรจใุ นแคปซูล
หรอื ผสมน้าผงึ้ ป้ันเป็นลูกกลอนได้ สมนุ ไพรท่นี ามาบดเป็นผงตอ้ งตากให้แหง้ สนิท แล้วจึงนามาบดเป็นผงให้
ละเอียด แคปซลู การบรรจแุ คปซลู โดยซ้ือแคปซลู เปลา่ สาเรจ็ รปู มา แล้วบรรจผุ งยาลงไป ยาลูกกลอน เอายา
สมนุ ไพรใสช่ าม เติมนา้ ผ้งึ ทีละน้อย นวดใหเ้ ข้า กนั จนผงยาท้ังหมดเกาะกนั แนน่ ไมเ่ หนยี วตดิ มอื ใหส้ ังเกตปรมิ าณ
น้าผงึ้ ที่ใช้ โดยป้ันลูกกลอนด้วยมือ และถ้าติดมอื ปน้ั ไมไ่ ดแ้ สดงว่าน้าผ้ึงมากเกนิ ไป แต่ถา้ แห้งร่วนไม่เกาะกนั แสดง
ว่าน้าผึง้ น้อยไป
9. ประคบ(Compress) การประคบมักใช้สาหรบั บรรเทาอาการปวดบวมหรอื บาดเจ็บท่ีกล้ามเน้อวิธงี ่ายๆ โดยใช้
ผ้านุม่ ๆ จุ่มลงในน้าตม้ สมุนไพร นามาประคบไว้บริเวณท่บี าดเจ็บ
10. การพอก(Poultice) วธิ ีนค้ี ลา้ ยกับการประคบ แต่จะใช้ส่วนผสมสมุนไพรมาพอกบริเวณท่ีบาดเจบ็
แตจ่ ะใช้ส่วนผสมสมุนไพรมาพอกบรเิ วณที่บาดเจบ็

15

บทท่ี 3
วัสดุ อปุ กรณแ์ ละวิธกี ารศึกษา

วสั ดุ อปุ กรณ์
1. สมดุ
2. ปากกา
3. กลอ้ งดิจติ อล
4. หนงั สือ
5. ไม้บรรทดั
6. สอื่ ทางอินเตอรเ์ นต

วิธดี าเนนิ การศกึ ษา
1. สารวจพชื สมนุ ไพรท่ีพบภายในบริเวณทอ้ งถิ่นและหมู่บ้านแล้วจดบันทึก รายละเอียด
2. สอบถามผูร้ ้ใู นท้องถ่ินว่าพืชสมนุ ไพรชนดิ น้คี ืออะไรกรณีท่ไี ม่รู้
3. นาข้อมลู ท่ีได้ทั้งหมดมา จัดจาแนกประเภทและหาข้อมูลเพิม่ เตมิ จากหนังสอื และ internet ใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่มี
ความสมบรู ณ์ ถูกต้อง แม่นยา มากท่สี ดุ
4. สรปุ ผลการศึกษาคน้ ควา้
5. นาเอาพชื สมุนไพรบางชนิดมาแปรรูปเปน็ น้าสมุนไพร เพ่ือทีจ่ ะสามารถรบั ประทานไดง้ ่ายและสะดวกขน้ึ

16

บทท่ี 4
ผลการศึกษา

จากการสารวจพืชสมุนไพรท่พี บภายในบรเิ วณโรงเรยี นและหมู่บา้ นพบพืชสมุนไพรทัง้ หมด 8 ชนดิ โดย
จาแนกพืชสมนุ ไพร ตามลักษณะภายนอกพชื เป็น ไมล้ ม้ ลุก 4 ชนิดและ ไม้เลอ้ื ยหรอื ไม้เถา 4 ชนิด ซงึ่ แต่ละชนดิ มี
ลักษณะ สรรพคุณ ประโยชน์ วิธีใช้ ขนาดในการใช้ และใชก้ ับโรคทเ่ี กิดขน้ึ แตกตา่ งกนั ดงั น้ี

1. ไมล้ ้มลุก
ภาพที่ 1 ขมน้ิ
ช่อื ไทย ขมน้ิ
ชอ่ื พื้นเมือง ขมน้ิ แกง ขมน้ิ หยอก ขมิ้นหัว
(เชยี งใหม่) ขมิน้ ชนั (กลาง) ขี้มนิ้ (ใต)้ ตายอ
(กะเหรีย่ ง - กาแพงเพชร) สะยอ (กะเหรย่ี ง-
แม่ฮ่องสอน)
ชือ่ วิทยาศาสตร์ Curcuma longa
Linnaeus
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : มลี าต้นใต้ดนิ
เรยี กสว่ นท่ีเปน็ ลาตน้ ว่าเหงา้ ลาตน้ ส่วนท่ี
เหนือดนิ มคี วามสูง ประมาณ 1 เมตร ใบมี
ขนาดยาว 2 – 3 ฟุตปลายใบมน ใบมีสีเขียว
ดอกมีสขี าวแกมเหลอื ง มกั ขน้ึ รวมกันอยูเ่ ปน็
กอ ๆ เหง้าจะมเี นอ้ื สีเหลืองจัด เจริญในดนิ
ปนทรายให้เหงา้ มากกวา่ ปลูกในดนิ ธรรมดา
เจริญได้ดใี นฤดฝู น
ส่วนที่ใช้เป็นยา เหง้า
สรรพคุณและวิธีใช้
1. เมือ่ ถูกยงุ กัด จะรสู้ กึ คันและมีตุ่มข้ึน
บริเวณท่ถี กู ยงุ กัด ให้นาเหง้าขมิน้ มาขดู เอา
เนื้อขมน้ิ ทาบริเวณที่ถกู กัด จะทาให้หายคัน
และตุ่มจะยุบหายไป

17

2. นาผงเหงา้ ขมิน้ มาผสมกบั น้าฝน คนใหเ้ ขา้
กนั ใช้ทาบริเวณที่เป็นกลากเกลอื้ นเช้าและ
เย็น
3. เอาผงเหงา้ ขมิ้นมาละลายน้า ใชท้ าบริเวณ
ท่ถี กู ยุงกดั บ่อย

ภาพที่ 2 กระเทียม 18

ชอ่ื ไทย กระเทียม
ชื่อพื้นเมือง หอมเทียม (เหนือ)
หวั เทียม (ใต้)
ช่ือวิทยาศาสตร์ Allium Sativum
Linnaeus
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็น
พืชล้มลกุ มีลาตน้ ใตด้ ิน เรียกว่า หวั หัวมี
กลีบยอ่ ยหลายกลีบติดกนั แน่นเน้ือสีขาวมี
กลิน่ ฉุนการปลกู จะใชก้ ลบี กระเทยี มเปน็
พันธป์ุ ลูก ไดด้ ีในดนิ รว่ นปนทรายที่ระบาย
น้าดกี ระเทียมจะลงหวั ในชว่ งทม่ี ีอากาศ
หนาว ดงั นนั้ จึงปลกู ไดด้ ีเฉพาะในภาคเหนือ
และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศ
ไทย สว่ นทีใ่ ช้เปน็ ยา หวั
สรรพคุณและวธิ ีใช้
1. นาใบมีดสะอาดขดู ผิวหนังสว่ นท่ี
เป็นเกลื้อน และฝานหวั กระเทียมทาถลู งไป
ทาอย่างน้ี เชา้ – เย็น ตดิ ต่อกันประมาณ
10 วนั
2. ฝานหวั กระเทยี มทาบรเิ วณท่ี
เปน็ กลาก เช่นเดยี วกับข้อ 1
3. ปอกหวั กระเทียมเอาเฉพาะเนอ้ื
ใน 5 กลีบ หั่นซอยใหล้ ะเอยี ดกนิ หลงั
อาหารทุกมอ้ื สาหรับรักษาอาการ จกุ เสียด
แน่น อืดเฟ้อ

ภาพท่ี 3 ข่า 19

ชอ่ื ไทย ขา่
ช่ือพ้นื เมือง กฎกกโรหน์ ี (กลาง)
ข่าหยวก ขา่ หลวง (เหนือ)เสะเออเดย สะเอ
เชย (กะเหรย่ี ง - แม่ฮอ่ งสอน)
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Languas
galangal Linnaeus Stuntz
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ล้มลกุ ลาต้นเปน็ ก้านกลมแข็ง ใบสีเขยี ว
แข็งหนา มดี อกจากกอขน้ึ ไปเปน็ ช่อใหญส่ ี
ขาวประสีม่วงแดง ลกู กลมขนาดลูกหวา้ ลง
หัวเปน็ ปลอ้ งๆ แง่งยาว มีสีขาวอวบ
สว่ นท่ีใชเ้ ปน็ ยา เหงา้
สรรพคุณและวิธีใช้
1. ใช้เหงา้ ขนาดเท่าหัวแม่มอื ถ้า
เปน็ เหงา้ สดจะหนักประมาณ5 กรมั ถา้ แหง้
หนักประมาร 2 กรัม ทุบใหแ้ ตกต้มเอาน้า
ด่ืมแก้ทอ้ งอดื ท้องเฟอ้ และปวดท้อง
2. เอาเหง้าข่าแกๆ่ มาลา้ งให้
สะอาด ฝานเปน็ แวน่ บาง ๆ หรอื ทุบพอแตก
นาไปแชใ่ นเหลา้ โรงทง้ิ ค้างคนื 1 คืน ทา
ความสะอาดขัดถผู วิ หนงั บริเวณที่เป็น
กลากหรอื เกล้ือนจนแดงและแสบเล็กน้อย
แลว้ อาขา่ ที่แช่ไว้ ทาบรเิ วณน้ัน จะรสู้ ึก
แสบๆ เยน็ ๆ ใชท้ าเช้าและเย็น หลงั อาบนา้
ทุกวันตดิ ต่อกันประมาณ 2 สปั ดาห์ กลาก
เกล้อื นจะจางหายไปเมื่อหายแลว้ ควรทา
ต่อไปอีก 1 สปั ดาห์ และต้มเส้ือผ้าทกุ ชน้ิ
เพอื่ ให้หายขาด

ภาพที่ 4 ตะไคร้ 20

ชือ่ ไทย ตะไคร้
ชือ่ พน้ื เมือง คาหอม (เง้ยี ว-
แม่ฮ่องสอน) ไคร(ใต)้ จะไคร(เหนือ) หวั สิง
ไค(เขมร-ปราจนี บุรี) เซดิ เกรย เหลอะเกรย
(เขมร-สรุ ินทร์)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cybopogon
Sitratus De Candolle Stapf
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไมล้ ้มลกุ อายหุ ลายปี สงู ๐.๗๕ - ๑.๒
เมตร แตกเป็นกอเหง้าใตด้ นิ มีกลิน่ เฉพาะ
ข้อและปล้องสัน้ มาก กาบใบสีขาวนวลหรือ
ขาวปนม่วง ยาวและหนาหมุ้ ข้อและปล้องไว้
แนน่ ใบ เดี่ยวเรียงสลับ กว้าง ๑-๒ ซม.
ยาว ๗๐-๑๐๐ ซม. แผน่ ใบและขอบใบสาก
และคม ออกดอกยาก
ส่วนท่ีใช้เป็นยา ต้นและราก
สรรพคุณและวิธใี ช้ : นาตะไคร้ทง้ั
ตน้ และรากมา 5 ตน้ สับใหเ้ ปน็ ทอ่ นต้มกับ
น้า 3 ส่วนและเกลอื เล็กน้อย ตม้ ให้เหลือ 1
สว่ น กินครั้งละ 4 ครง้ั กอ่ นอาหารและก่อน
นอน ตดิ ต่อกัน 3 วนั สาหรบั รกั ษาอาการ
ปวดท้อง ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ และจกุ เสยี ด
แนน่

2. ไม้เลอื้ ยหรือไมเ้ ถา ภาพท่ี 5 ผักบุ้ง 21

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Ipomcea aquatica Forsk
ช่ืออ่ืนๆ ผกั ทอดยอด(กรุงเทพฯ) ผกั บุง้ ไทย
(กลาง) ผกั บุ้ง(ท่วั ไป)ผกั บุง้ แดง ผักบุ้งไทย
ผักบงุ้ นา กาจร(ฉานแม่ฮ่องสอน)
ลักษณะ : ผักบงุ้ เปน็ ไมน้ ้าและเปน็ ไม้ล้มลุก
ลาตน้ เลื้อยทอดไปตามน้าหรือในทลี่ ุ่มที่มี
ความชน้ื หรอื ดินแฉะๆ ลาต้น กลวงสีเขียวมี
ขอ้ ปลอ้ งและมีรากออกตามข้อได้เปน็ ใบเดีย่ ว
ออกแบบสลับเชน่ รูปไข่รูปไข่แถบขอบขนาน
รปู หอก ใบเว้าเปน็ รูปหวั ใจ ดอกเปน็ รปู ระฆัง
ออกท่ีซอกใบแตล่ ะช่อมีดอกย่อย1-5ดอก
กลบี เรียงสีเขยี วกลบี ดอกมีท้ังสีขาว สีมว่ งแดง
สีชมพมู ่วงกลีบดอกจะติดกันเป็นรปู กรวยมสี ี
ขาวอย่ดู า้ นบนและมสี ีมว่ งหรือสชี มพกู ลมสี
สรรพคณุ ทางยา ราก ใชถ้ อนพษิ แก้ผิด
สาแดง แกโ้ รคตา แกต้ กขาวในสตรี แก้ปวด
ฟันเนื่องจากฟันเป็นรู แก้ไอเร้ือรัง แกเ้ หง่ือ
ออกมาก แก้บวม แก้พิษงูเห่า เถา ถอนพิษ
แก้พาเบ่อื เมา ถอนพิษยาท้งั ปวง แกต้ าฟาง
แก้โรคตา ยอดอ่อน ถอนพิษ รักษาริดสดี วง
ทวาร แก้เด็กเปน็ หวัด ใบ แก้พษิ ขนของบ้งุ
รักษาริดสีดวงทวาร ถอนพิษยาเบอื่ เมา แกต้ า
ฟาง แก้พษิ ฝี ปวด อักเสบ ดอกตมู รักษา
กลากเกลื้อน ท้งั ต้น รักษาตาแดง รกั ษาตา

22

ฟาง รักษาตามัว แกเ้ บาหวาน แก้ปวดศรี ษะ
แกผ้ วิ หนังผน่ื คัน แก้กลากเกลื้อน เปน็ ยา
ระบาย แก้ไข้ แกโ้ รคนอนไม่หลับ ถอนพิษ แก้
พิษเบื่อเมา

ภาพที่ 6 ตาลงึ 23

ชอ่ื ไทย ตาลึง
ชื่อพื้นเมือง ผกั แคบ(เหนือ) แค
เด๊าะ (กะเหรี่ยง- แมฮ่ ่องสอน)ชือ่
วิทยาศาสตร์ Coccinia grandis Linnaeus
Voigt
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เปน็ ไม้
เถาขนาดกลาง มอื เกาะเด่ียว ใบเดี่ยว รปู
หัวใจเวา้ เลก็ น้อย สเี ขียวเข้ม ดอกเดยี่ ว สี
ขาว ผลกลม เหมอื นแตงกวาแตเ่ ลก็ กวา่ มาก
สีเขียวลายขาว เมื่อสุกสีแดงแสด ปลกู เป็น
ผกั ขยายพันธ์ุด้วยเมลด็
ส่วนท่ีใชเ้ ป็นยา ใบ
สรรพคุณและวิธใี ช้ : ใช้ใบสดตาคั้น
เอานา้ ทาแก้พษิ แมลงสัตว์กดั ต่อย

ภาพที่ 7 อญั ชนั 24

ชอ่ื สมนุ ไพร อญั ชัน
แดงชนั (เชียงใหม)่ เออื้ ง

ช่อื อน่ื ๆ ชนั (เหนอื ) เอื้องจัน แดง
จนั อังจัน(เหนือ)

ชื่อวิทยาศาสตร์Clitorea ternatea L.
ชื่อพ้อง

Fabaceae
ชื่อวงศ์ (Leguminosae-

Papilionoideae)
ไม้ล้มลกุ เลื้อยพัน นยิ มปลูกเป็นไม้ประดบั
ตามร้วั หรือซุ้ม เถากลมเล็กเรียว สีเขยี วออ่ น เถา
ออ่ น ก่ิงอ่อน หูใบ กา้ นใบ แกนใบประกอบกลบี เลย้ี ง
มีขนน่มุ แตกกิ่งก้านตามข้อใบ เถายาว 1-5 เมตร ใบ
ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลบั ใบยอ่ ย 2-3 คู่
ใบบาง สีเขียว แต่ละใบมี ใบย่อย 5-9 ใบ
สรรพคุณ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตวั
เพราะมีสารท่ชี อ่ื ว่า “แอนโทไซยานิน”
(Anthocyanin) ซึ่งมีหนา้ ท่ีไปชว่ ยกระตนุ้ การ
ไหลเวียนของโลหติ ทาใหเ้ ลือดไปเล้ียงส่วนตา่ ง ๆ ได้
ดมี ากขนึ้ เช่น ไปเลย้ี งบรเิ วณรากผม ซง่ึ ช่วยทาใหผ้ ม
ดกดา เงางาม หรือไปเล้ยี งบริเวณดวงตาจงึ ช่วยบารุง
สายตาไปดว้ ยในตัว หรอื ไปเล้ยี งบรเิ วณปลายน้วิ มือ
ซ่งึ กจ็ ะชว่ ยแก้อาการเหน็บชาได้ด้วย นั่นก็คือช่วยลด
ความเส่ียงของการเกดิ เส้นเลือดอดุ ตันได้

ภาพที่ 8 บอระเพด็ 25

ช่ือบอระเพ็ด
สามญั HEART-LEAVED MOONSEED
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tinospora crispa (
L.) Miers ex Hook.f. & Thoms
วงศ์ : Menisspermaceae
ชอ่ื อน่ื : เครือเขาฮอ จุ่งจงิ เจตมลู หนาม
เจตมูลยาน เถาหัวดว้ น หางหนู
ทางพฤกษศาสตร์ :บอระเพด็ เป็นพันธไุ์ มเ้ ถา
เล้อื ยเนือ้ อ่อน แต่ถา้ อายุมากเนื้อของลาตน้ อาจแข็งได้
เถาอ่อนผิวเรียบสีเขียว เถาแก่สีนา้ ตาลอมเขยี ว ผิว
ขรขุ ระ เปน็ ปมุ่ ๆ เถากลมโตขนาดนิว้ มือ ประมาณ 1-
1.5 ซม. ยางมรี สขมจดั ขนึ้ เกาะต้นไมอ้ น่ื มกั จะมรี าก
อากาศคลา้ ยเชือกเสน้ เล็กๆ ห้อยลงมาเป็นสาย ใบ
เดี่ยวเป็นแบบสลบั ใบเปน็ รูปไข่ป้อม โคนใบหยักเว้าลกึ
เปน็ รปู หวั ใจ
สรรพคุณ ใช้เถาเป็นยาแก้ไข้ ขบั เหง่ือ แก้
กระหายนา้ แก้รอ้ นใน โดยนาเถาสดขนาดยาว 2 คืบ
ครง่ึ (30-40 กรัม) ต้มค้ันเอานา้ ดื่ม หรอื ต้มเค่ียวกบั นา้
3 สว่ นจนเหลอื 1 ส่วน ดืม่ กอ่ นอาหารวันละ 2 คร้งั
เช้าเยน็ หรือเม่ือมีไข้ นอกจากน้ใี ช้เป็นยาขมเจริญ
อาหารด้วย ปัจจุบันองคก์ ารเภสัชกรรมผลติ ทงิ เจอร์
บอระเพ็ด เพอื่ ใช้แทน Tincture Gentian ซ่งึ เปน็
ส่วนผสมของยาธาตุที่ต้องนาเข้าจากตา่ งประเทศ การ
ทดลองในสตั ว์พบว่านา้ สกัดเถาสามารถลดไขไ้ ด้

26

บทที่ 5
สรุป อภปิ ลายผล ขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผลการศึกษา
จากการสารวจพืชสมนุ ไพรที่พบภายในบรเิ วณโรงเรยี นบา้ นเขากรวดและหม่ใู นบ้านเขากรวด ระหวา่ ง

เดือน 15 พฤศจิกายน 2560 ถงึ เดอื น 20 พฤศจกิ ายน 2560 พบพืชสมนุ ไพรทง้ั หมด 8 ชนิด โดยจาแนกพืช
สมนุ ไพร ตามลกั ษณะภายนอกพืชเป็น ไม้ลม้ ลุก 4 ชนิด ไม้เล้ือย 4 ชนดิ จากการศึกษาพืชสมนุ ไพรที่พบใน
โรงเรยี นและทอ้ งถิ่นมีท้ังหมด 8 ชนดิ มผี ลการศึกษาดังนี้

ตารางท่ี 1 สรปุ ลกั ษณะ สรรพคณุ ประโยชน์ วธิ ีการใช้ และขนาดในการใชข้ องพืช

สมนุ ไพรประเภท ชือ่ สมนุ ไพร สว่ นทใี่ ช้เป็น วธิ ีใช้ สรรพคณุ

ไมล้ ม้ ลกุ ยา รกั ษาแผลสด

1 ขมน้ิ เหง้า นาเหงา้ มาตาจนละเอียดค้นั เอานา้ ใส่ แกก้ ลากเกลอ้ื น

แผลสด แก้ท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ และ
ปวดท้อง
2 กระเทียม หัว ขดู ผิวหนงั สว่ นที่เปน็ เกลอ้ื นทงิ้ ฝานหวั รกั ษาอาการทอ้ งอดื
ทอ้ งเฟ้อจกุ เสียดแนน่
กระเทียมทาถลู งไป

3 ขา่ เหง้า ใช้เหง้ามาทุบให้แตกตม้ เอานา้ ด่ืม

4 ตะไคร้ ต้น สับตน้ และรากต้มกบั นา้ 3สว่ นใส่เกลอื

เลก็ น้อยจนเหลอื 1 สว่ นเอานา้ ดื่ม

ตารางที่ 2 สรปุ ลกั ษณะ สรรพคุณ ประโยชน์ วธิ กี ารใช้ และขนาดในการใช้ของพชื

สมุนไพรประเภทไม้ ชือ่ สมนุ ไพร ส่วนทีใ่ ชเ้ ปน็ วธิ ีใช้ สรรพคณุ

เล้อื ย ยา แกพ้ ิษแมลงสัตว์กดั ตอ่ ย
แกพ้ ษิ แมลงสตั ว์กดั ต่อย
1 ตาลึง ใบ ใชใ้ บสดตาคน้ั เอานา้ ทาแก้พษิ แกเ้ หน็บชา เส้นเลอื ดอุด
ตัน
2 ผักบุ้ง ใบ ใชใ้ บคัน้ เอาน้าทา เปน็ ยาแกไ้ ข้ ขับเหงือ่ แก้
กระหายนา้ แกร้ ้อนใน
3 อัญชนั ดอก นาดอกมาคั้น เอานา้ ด่มื

4 บอระเพด็ เถา โดยนาเถาสดขนาดยาว 2 คืบครง่ึ (30-

40 กรัม) ต้มค้ันเอานา้ ดม่ื

27

อภปิ รายผลการศึกษาค้นคว้า

จากตารางท่ี 1 – 2 สรุป ลกั ษณะ สรรพคุณ ประโยชน์ วธิ ีการใช้ และขนาดในการใชข้ องพืชสมนุ ไพรทง้ั
10 ชนดิ พบว่าพืชสมุนไพรแต่ละชนดิ มี ลักษณะ สรรพคณุ ประโยชน์ วิธีการใช้ และขนาดในการใช้ ทีแ่ ตกต่างกนั
แต่ท่ีเหมือนกันคอื ชว่ ยรกั ษาอาการเจ็บปว่ ย เลก็ ๆน้อยๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ในชีวติ ประจาวนั ท้ังยงั ช่วยประหยัด
คา่ ใชจ้ า่ ยในการซือ้ ยาตามร้านขายยามารับประทานซึ่ง สรรพคุณทางยาเหมือนกนั การใชพ้ ืชสมนุ ไพรชนิดใดรักษา
โรคใดนัน้ ต้องใชใ้ หถ้ กู กับโรคใหถ้ ูกกบั ชนิดของ พชื สมนุ ไพร ไม่อย่างนนั้ อาจจะก่อใหเ้ กดิ อันตรายหรือมผี ล
ข้างเคยี งต่อผู้ใช้ ซึง่ นา่ จะเป็นการรักษาแต่เป็นการเพ่ิมอนั ตรายเสียอีก การใช้ไม่ควรทีจ่ ะใช้นานจนเกนิ ไป ถ้า
อาการเจ็บป่วยไม่ดีข้นึ หรอื มีความผดิ ปกตหิ ลงั ใช้ควรทจ่ี ะตอ้ งไปปรกึ ษาแพทยท์ ันทีและท่ีสาคญั ควรที่ จะช่วยกนั
อนุรักษ์พชื สมุนไพรไว้ เพราตอนนคี้ ่อนขา้ งหายาก ซ่งึ สามารถปลูกไวท้ ีบ่ า้ น ง่ายต่อการรักษาโรคตา่ งๆ เล็กน้อย ๆ
ที่เกดิ ขึ้นได้

ดงั นน้ั ถา้ รวู้ ่าในโรงเรยี นหรือท้องถ่ินท่ีเราอาศัยอยู่มีพชื สมุนไพรกี่ชนดิ มีอะไรบา้ ง รู้ ลกั ษณะสรรพคณุ
ประโยชน์ วิธีการใช้ ขนาดในการใช้ กส็ ามารถทจ่ี ะใช้ความรู้ทไี่ ด้นัน้ นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ถา้ เกิดคนใน
ครอบครวั ในชมุ ชน โรงเรยี นเกดิ เจ็บๆปว่ ยเลก็ น้อยๆ ได้กส็ ามารถรักษาไดท้ ันที และ ชว่ ยบรรเทาความเจ็บปวด
กอ่ นไปถงึ มือแพทย์

ข้อเสนอแนะ

1. ควรทจ่ี ะสารวจและศึกษาพชื สมนุ ไพรในพน้ื ท่ี ท่ีกว้างมากกวา่ น้ี เพราะพนื้ ท่ีอ่ืน ๆ อาจจะมีสมนุ ไพรอีกหลาย
ชนดิ ทไี่ ม่รู้จักและมปี ระโยชน์

2. ควรท่ีจะมีการส่งเสริมการปลกู พืชสมนุ ไพรในโรงเรียนใหม้ าก ๆ

3. ควรที่จะใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับพชื สมนุ ไพรใหม้ ากข้นึ กบั นักเรียน และคนในท้องถนิ่

4. ควรที่จะใหค้ นในชมุ ชนช่วยกันอนรุ ักษพ์ ืชสมนุ ไพรในท้องถน่ิ ไวใ้ ห้มาก ๆ

28

บรรณานุกรม

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี กระทรวงศึกษาธกิ าร. ( 2547 ). คมู่ ือหนงั สือสาระ
การเรยี นรูพ้ ืน้ ฐานชุดวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่อง พชื สตั ว์ การดารงชวี ติ ของมนุษย์
สงิ่ มีชีวติ กับสิ่งแวดลอ้ มชว่ งชัน้ ที่ 2 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 . กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์
คุรสุ ภาลาดพร้าว.

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี กระทรวงศึกษาธกิ าร. ( 2548 ). หนงั สอื เรยี นสาระ
การเรียนรู้พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 .
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ( 2549 ). แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
สาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน . กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี . [ ระบบออนไลน์ ]. แหล่งทม่ี า
http://www.dlf.ac.th/dltv/dltv-uploads/libs/html/1806/index.html ( 20 มกราคม 2550)
http://www.zoothailand.org/index.asp ( 21 ตุลาคม 2551 )
http://school.obec.go.th/padad/scien32101/Animal/2Animal.html ( 25 ตลุ าคม 2550 )
http://play.kapook.com/photo/search-cat-view-45-1 (24 มกราคม 2551)

29