โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

เรื่องที่ 1 การจัดทําโครงการขยายอาชีพเพื่อนําเสนอแหล่งทุน

Show

          โครงการเป็นเอกสารภาพรวมของแผนธุรกิจ เพื่อใช้นำเสนอต่อสังคมในการเผยแพร่ความคิด หรือใช้นำเสนอเพื่อขอความช่วยเหลือ สนับสนุนเงินทุน ซึ่งประกอบด้วยสาระที่แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่าของการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย

1. ชื่อโครงการ

2. เหตุผล หลักการ

3. เป้าประสงค์

4. วัตถุประสงค์

5. ผลได้ของโครงการ

6. วิธีดำเนินงาน

7. งบประมาณดำเนินการ

8. ผลดำเนินโครงการ

การเขียนโครงการ

1. การเขียนชื่อโครงการ โดยทั่วไป มี 3 องค์ประกอบ คือ (1) ข้อความบ่งบอกว่าทำอะไร (2) ข้อความว่าเป็นของใครและ(3) นำเสนอใคร “โครงการขยายอาชีพเกษตรอินทรีย์ ชุมชนบ้านคลองหาด นำเสนอขอการสนับสนุนจากทางอำเภอคลองหาด”

2. การเขียน ความสำคัญและหลักการ  เป็นสาระส่วนที่บอกความสำคัญของการจัดทำโครงการและหลักการดำเนินการ ซึ่งมีโครงสร้างการเขียน ดังนี้

2.1 โครงสร้างการเขียนความสำคัญ การเขียนความสำคัญในการขยายอาชีพ ควรจะเป็นสาระสำคัญในธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วย

      2.1.1 เขียนบ่งบอกสภาวะแวดล้อมอาชีพ ได้แก่

(1) สภาพที่ดิน สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการดำเนินโครงการ

(2) ผลิตผลอะไรที่เหมาะสมในการผลิต

(3) ลักษณะคุณภาพผลผลิตที่ลูกค้าต้องการ

(4) ลูกค้าเป็นใคร อย่างไร

(5) ขายให้กับใคร ส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นอย่างไร

(6) จะสามารถเข้าไปยึดตลาดส่วนแบ่งตลาดได้ร้อยละเท่าไร

           2.1.2 เขียนสรุปให้เห็นความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ

(1) การสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชน

(2) การมีส่วนร่วมสร้างความพอเพียงด้านต่าง ๆ ให้กับชุมชน

2.2 การเขียนหลักการ เป็นข้อความต่าง ๆ เพื่อบ่งบอกว่า โครงการจะทำอะไร ให้ใคร ทำแค่ไหน และทำอย่างไร ดังนี้

          2.2.1 จะทำอะไร ให้ใคร ดังตัวอย่าง

(1) มุ่งเน้นผลิตผักผลไม้ระบบเกษตรอินทรีย์ ขายให้กับกลุ่มผู้รักษาสุขภาพ

         2.2.2 ทำอย่างไรดังตัวอย่าง

(1) ให้ความสำคัญกับการประยุกต์ระบบนิเวศธรรมชาติเข้าสู่ระบบการเกษตร

          2.2.3 ทำที่ไหน ดังตัวอย่าง

(1) การดำเนินงาน จะเริ่มต้นที่แปลงเกษตรของผู้ทำแล้วส่งเสริมการเรียนรู้ขยาย เครือข่ายการปลูกผักอินทรีย์ออกไป

2.3 ตัวอย่างการเขียนเหตุผลและหลักการ

3. การเขียนเป้าหมายโครงการ

          3.1 โครงสร้างการเขียนเป้าหมายโครงการ ประกอบด้วย

          3.2 การเขียนข้อความเป้าหมายโครงการ ควรพิจารณาสิ่งต่อไป

(1) ข้อความบ่งชี้ว่าทำอะไร ต้องเป็นเรื่องสำคัญ เป็นหัวเรื่องหลักของโครงการ

(2) ปริมาณงานที่ระบุต้องมีข้อความสามารถทำได้จริง

(3) ระยะเวลาสำเร็จต้องเหมาะสมกับปริมาณงาน และมีความเป็นไปได้จริงที่จะทำสำเร็จ

            3.3 ตัวอย่างข้อความเป้าหมายโครงการ

4. การเขียนวัตถุประสงค์โครงการ

            เป็นข้อความที่ขยายภาพของเป้าหมายโครงการให้มองเห็นภาระงานที่จะต้องทำให้สำเร็จ โดยมีรายละเอียดการคิด การเขียน

5. การเขียนผลได้ของโครงการ

           การเขียนผลได้ของโครงการเป็นการเขียนสิ่งที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากโครงการอย่างมีเหตุมีผล ด้วยการนำวัตถุประสงค์โครงการมาวิเคราะห์กำหนดผลได้

6. การเขียนวิธีดำเนินงาน เป็นการเขียนเรียงลำดับในแต่ละจุดประสงค์ โดยมีขั้นตอนการเขียนดังนี้

6.1 ยกข้อความ วัตถุประสงค์และผลได้โครงการมาเป็นตัวตั้ง

6.2 ดำเนินการวิเคราะห์ผลได้แต่ละตัวเพื่อกำหนด กิจกรรม/ขั้นตอนวิธีการดำเนินงานที่เกิดผลได้

6.3 ระบุเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของงาน

6.4 กำหนดระยะเวลาดำเนินงานที่เป็นจริง

7. การเขียนงบประมาณดำเนินการ  เป็นการนำกิจกรรม/ขั้นตอนดำเนินการมาวิเคราะห์รายละเอียดของรายจ่าย แล้วบรรจุในโครงการ

8. การเขียนผลดำเนินโครงการ  เป็นการนำผลได้มา คิดวิเคราะห์ว่า ถ้าการดำเนินงานเกิดผลได้ตามที่กำหนด จะมีผลที่เกิดอะไรบ้าง และมีผลกระทบอย่างไรที่ทำให้มองเห็นคุณค่าของโครงการ

8.โครงการขยายอาชีพ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ปฏิบัติการจัดทำแผนและโครงงานขยายอาชีพได้

ขอบข่ายเนื้อหา

เรื่อง การจัดทำโครงการขยายอาชีพ เพื่อนำเสนอแหล่งทุน

สื่อประกอบการเรียนรู้

1. ใบความรู้ เรื่อง เหตุผลของการทำโครงการขยายอาชีพ

2. ใบความรู้ เรื่อง การเขียนโครงการขยายอาชีพ

หน้าแรก

ย้อนกลับ

หน้าถัดไป

8.1 การจัดทำโครงการขยายอาชีพเพื่อนำเสนอแหล่งทุน

เรื่อง การจัดทำโครงการขยายอาชีพเพื่อนำเสนอแหล่งทุน

ใบความรู้ เรื่อง เหตุผลของการทำโครงการขยายอาชีพ

ในการเรียนรู้ที่ผ่านมาเป็นเรื่องของการทำแผนธุรกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ให้ความสำคัญกับการใช้เหตุผล การกำหนดทิศทางธุรกิจให้มีความพอดีและมีภูมิคุ้มกัน การกำหนดแผนปฏิบัติการสร้างความรอบรู้และขับเคลื่อนแผนสู่ความสำเร็จอย่างมีคุณธรรม ซึ่งเป็นเรื่องภายในของผู้ประกอบการขยายอาชีพเท่านั้น แต่การทำธุรกิจที่จะต้องขยายตัวออกไปจำเป็นต้องใช้ทุนเพิ่มเติมหรือต้องได้รับความช่วยเหลือจากภาครัฐหรือเอกชน การให้ความช่วยเหลือดังกล่าวผู้ให้ต้องการทราบรายละเอียดการดำเนินงาน มีผลลัพธ์เป็นอย่างไร มีผลที่เกิดอะไรบ้าง และกระทบต่อสังคมชุมชนอย่างไร คุ้มค่าที่จะให้การสนับสนุนหรือไม่ หรือมีโอกาสที่จะสร้างกำไร นำรายได้มาคืนสถาบันทางการเงินได้หรือไม่

ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนโครงการขยายอาชีพ เพื่อนำเสนอขอรับความช่วยเหลือหรือสร้างความเชื่อมั่นให้กับแหล่งทุน

ใบความรู้ เรื่อง การเขียนโครงการขยายอาชีพ

โครงการเป็นเอกสารภาพรวมของแผนธุรกิจ เพื่อใช้นำเสนอต่อสังคมในการเผยแพร่ความคิด หรือใช้นำเสนอเพื่อขอความช่วยเหลือ สนับสนุนเงินทุน ซึ่งประกอบด้วยสาระที่แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่าของการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย

1. ชื่อโครงการ

2. เหตุผล หลักการ

3. เป้าประสงค์

4. วัตถุประสงค์

5. ผลได้ของโครงการ

6. วิธีดำเนินงาน

7. งบประมาณดำเนินการ

8. ผลดำเนินโครงการ

1. การเขียนชื่อโครงการ

โดยทั่วไป มี 3 องค์ประกอบ คือ (1) ข้อความบ่งบอกว่าทำอะไร (2) ข้อความว่าเป็นของใครและ(3) นำเสนอใคร “โครงการขยายอาชีพเกษตรอินทรีย์ ชุมชนบ้านคลองหาด นำเสนอขอการสนับสนุนจากทางอำเภอคลองหาด”

2. การเขียน ความสำคัญและหลักการ

เป็นสาระส่วนที่บอกความสำคัญของการจัดทำโครงการและหลักการดำเนินการ ซึ่งมีโครงสร้างการเขียน ดังนี้

2.1 โครงสร้างการเขียนความสำคัญ การเขียนความสำคัญในการขยายอาชีพ ควรจะเป็นสาระสำคัญในธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วย

2.1.1 เขียนบ่งบอกสภาวะแวดล้อมอาชีพ ได้แก่

(1) สภาพที่ดิน สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการดำเนินโครงการ

(2) ผลิตผลอะไรที่เหมาะสมในการผลิต

(3) ลักษณะคุณภาพผลผลิตที่ลูกค้าต้องการ

(4) ลูกค้าเป็นใคร อย่างไร

(5) ขายให้กับใคร ส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นอย่างไร

(6) จะสามารถเข้าไปยึดตลาดส่วนแบ่งตลาดได้ร้อยละเท่าไร

2.1.2 เขียนสรุปให้เห็นความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ

(1) การสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชน

(2) การมีส่วนร่วมสร้างความพอเพียงด้านต่าง ๆ ให้กับชุมชน

2.2 การเขียนหลักการ เป็นข้อความต่าง ๆ เพื่อบ่งบอกว่า โครงการจะทำอะไร ให้ใคร ทำแค่ไหน และทำอย่างไร ดังนี้

2.2.1 จะทำอะไร ให้ใคร ดังตัวอย่าง

(1) มุ่งเน้นผลิตผักผลไม้ระบบเกษตรอินทรีย์ ขายให้กับกลุ่มผู้รักษาสุขภาพ

2.2.2 ทำอย่างไรดังตัวอย่าง

(1) ให้ความสำคัญกับการประยุกต์ระบบนิเวศธรรมชาติเข้าสู่ระบบการเกษตร

2.2.3 ทำที่ไหน ดังตัวอย่าง

(1) การดำเนินงาน จะเริ่มต้นที่แปลงเกษตรของผู้ทำแล้วส่งเสริมการเรียนรู้ขยาย เครือข่ายการปลูกผักอินทรีย์ออกไป

2.3 ตัวอย่างการเขียนเหตุผลและหลักการ

การตัดสินใจดำเนินการจัดทำเกษตรอินทรีย์ มีเหตุผลมาจาก

1. สภาพที่ดินของหมู่บ้านคลองหาด เป็นที่ดินเปิดป่าใหม่ เพื่อทำพืชไร่มาเพียง 5 ปี เกษตรกรไม่รู้จักและไม่เคยใช้สารพิษฆ่าแมลงและปราบวัชพืชเข้ามาใช้เป็นพื้นที่สะอาดปราศจากสารพิษ

2. ถ้าหากดำเนินการผลิตพืชผัก ผลไม้ในระบบเกษตรอินทรีย์ จะทำให้ผลิตผลที่ได้มา สะอาดไม่มีสารพิษตกค้าง

3. ผักผลไม้ที่ตลาดต้องการ จะเป็นผลผลิตที่ไร้สารพิษ มีการเจริญเติบโตไปตามธรรมชาติ และรสชาติเป็นไปตามสายพันธุ์

4. ขณะนี้กลุ่มผู้รักสุขภาพมีจำนวนมากขึ้น เนื่องมาจากการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยของอาหาร ทำให้กลุ่มคนกลุ่มนี้สนใจซื้ออาหารไร้สารพิษบริโภคมากขึ้นโดยลำดับ

5. มีผู้ค้าอาหารสุขภาพเข้ามารับซื้อถึงไร่นา จำนวนไม่จำกัด เพื่อกระจายสินค้าเข้าสู่ร้านค้าอาหารสุขภาพ

6. ผลการศึกษาติดตามส่วนแบ่งของตลาด อาหารสุขภาพพบว่า ขณะนี้มีผักผลไม้เข้าสู่ตลาด เพียงร้อยละ 0.25 ของพืชผักผลไม้ที่ปลูกในระบบเคมี เท่านั้น

จึงอาจสรุปได้ว่า ส่วนแบ่งของตลาดยังสูงมาก สามารถทำแล้วขายได้ จะเป็นโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนบ้านคลองหาดได้พัฒนาเศรษฐกิจเข้าสู่ความพอเพียงตามอัตภาพของแต่ละครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการได้

จากเหตุผลดังกล่าว จึงอาจสรุปหลักการดำเนินงานได้ดังนี้

1. เป็นการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการผลิตผัก ผลไม้ในระบบอินทรีย์ขายให้กับกลุ่มผู้รักษาสุขภาพ

2. การดำเนินงานให้ความสำคัญกับการประยุกต์ระบบนิเวศธรรมชาติเข้าสู่ระบบการเกษตร

3. การดำเนินงานจะเริ่มต้นที่แปลงเกษตรของผู้นำแล้วส่งเสริมการเรียนรู้ขยายเครือข่ายการปลูกผักอินทรีย์ออกไป

3. การเขียนเป้าหมายโครงการ

3.1 โครงสร้างการเขียนเป้าหมายโครงการ ประกอบด้วย

3.2 การเขียนข้อความเป้าหมายโครงการ ควรพิจารณาสิ่งต่อไป

(1) ข้อความบ่งชี้ว่าทำอะไร ต้องเป็นเรื่องสำคัญ เป็นหัวเรื่องหลักของโครงการ

(2) ปริมาณงานที่ระบุต้องมีข้อความสามารถทำได้จริง

(3) ระยะเวลาสำเร็จต้องเหมาะสมกับปริมาณงาน และมีความเป็นไปได้จริงที่จะทำสำเร็จ

3.3 ตัวอย่างข้อความเป้าหมายโครงการ

4. การเขียนวัตถุประสงค์โครงการ

เป็นข้อความที่ขยายภาพของเป้าหมายโครงการให้มองเห็นภาระงานที่จะต้องทำให้สำเร็จ โดยมีรายละเอียดการคิด การเขียน ดังนี้

4.1 วิเคราะห์เป้าหมาย กำหนดภาระงานที่ควรทำแล้วทำให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมายโครงการได้ เช่น

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

4.2 วิเคราะห์ภาระงาน กำหนดลักษณะบ่งชี้ความสำเร็จ ดังตัวอย่างนี้

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

4.3 เขียนวัตถุประสงค์โครงการตามโครงสร้างนี้

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

5. การเขียนผลได้ของโครงการ

การเขียนผลได้ของโครงการเป็นการเขียนสิ่งที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากโครงการอย่างมีเหตุมีผล ด้วยการนำวัตถุประสงค์โครงการมาวิเคราะห์กำหนดผลได้ที่ควรจะเกิดตามตัวอย่างวัตถุประสงค์ที่ 1

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

เป็นการเขียนเรียงลำดับในแต่ละจุดประสงค์ โดยมีขั้นตอนการเขียนดังนี้

6.1 ยกข้อความ วัตถุประสงค์และผลได้โครงการมาเป็นตัวตั้ง

6.2 ดำเนินการวิเคราะห์ผลได้แต่ละตัวเพื่อกำหนด กิจกรรม/ขั้นตอนวิธีการดำเนินงานที่เกิดผลได้

6.3 ระบุเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของงาน

6.4 กำหนดระยะเวลาดำเนินงานที่เป็นจริง

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

7. การเขียนงบประมาณดำเนินการ

เป็นการนำกิจกรรม/ขั้นตอนดำเนินการมาวิเคราะห์รายละเอียดของรายจ่าย แล้วบรรจุในโครงการ ดังตัวอย่าง

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ

8. การเขียนผลดำเนินโครงการ

เป็นการนำผลได้มา คิดวิเคราะห์ว่า ถ้าการดำเนินงานเกิดผลได้ตามที่กำหนด จะมีผลที่เกิดอะไรบ้าง และมีผลกระทบอย่างไรที่ทำให้มองเห็นคุณค่าของโครงการ ดังตัวอย่างนี้

โครงงาน ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ