เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) คือ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมลักษณะการนั่งทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น นั่งอยู่หน้าคอมในท่าเดิมเป็นเวลานาน ขาดการเคลื่อนไหวค้างในท่าเดิมนานๆหรือไม่เปลี่ยนอิริยาบถจนทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็งก่อให้เกิดการปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและทำให้เกิดอาการได้ อาการออฟฟิศซินโดรมเกิดขึ้นได้กับทุกอาชีพโดยส่วนใหญ่มักจะพบได้มากในอาชีพพนักงานประจำ หรือที่เรียกกันว่าพนักงานออฟฟิศ สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ผิดแบบซ้ำๆอยู่เป็นประจำ เช่น การนั่งที่ผิดวิธีสรีระของร่างกาย รวมไปถึงพฤติกรรมการเล่นโทรศัพท์มือถือและอยู่ในอิริยาบถเดิมเป็นเวลานานๆ โดยขาดการเคลื่อนไหวของร่างกาย และถูกสะสมมากขึ้นทำให้เกิดออฟฟิศซินโดรมได้

ออฟฟิศซินโดรมมีอาการอย่างไร? หรือสังเกตได้ยังไง?

ออฟฟิศซินโดรมมักจะมีอาการเริ่มต้นจากการปวดกล้ามเนื้อเบาๆลามไปจนถึงกระดูกทับเส้น หากใครที่เริ่มมีอาการปวดเมื่อยจากการนั่งทำงาน และสงสัยว่าจะเป็นออฟฟิศซินโดรม สามารถสังเกตอาการได้ดังนี้

  1. ปวดกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น บริเวณช่วงหัวไหล่ คอ บ่า ท้ายทอย ช่วงหลังส่วนบนหรือส่วนล่าง ปวดข้อมือ ปวดเข่าหรือข้อเท้า ปวดสะโพกหรือต้นขา อาการปวดมักจะปวดเป็นบริเวณกว้างและร้าวไปบริเวณอื่นใกล้เคียง
  2. มีอาการข้างเคียงของระบบประสาท เช่น แขนขาชา ตาพร่ามัว ปวดไมเกรน ชาบริเวณมือและแขน หากมีการกดทับที่เส้นประสาทนานเกินไปอาจมีอาการอ่อนแรงจากส่วนต่างๆของร่างกายร่วมด้วย
  3. อาการด้านตา เช่น ปวดตา เมื่อยล้าตา มีอาการแสบตา ระคายเคือง ตราพร่ามัว สู้แสงไม่ได้ น้ำตาไหล
  4. อาการแสดงทางผิวหนังมีอาการคันตามลำตัว เป็นผดผื่น
  5. อาการด้านทางระบบทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก ไอ จาม คล้ายเป็นภูมิแพ้ หายใจลำบาก แน่นหน้าอก แสบคอ คอแห้ง

หากปล่อยให้การอักเสบเรื้อรังไว้นานอาจทำให้กลายเป็นการอักเสบเรื้อรังจนทำให้เป็นหมอนรองกระดูกเคลื่อนหรือเกิดอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้

    5. หากมีอาการหนัก ไม่สามารถห่างมือถือได้ ควรปรึกษาจิตแพทย์ ซึ่งถ้าใครมีอาการหนักมาก ๆ ทางการแพทย์อาจจะใช้วิธีการรักษาแบบ Cognitive Behavior Therapy (CBT) ที่นิยมใช้รักษาคนมีอาการวิตกกังวล และอาการกลัวในระดับต่างๆ ด้วยการปรับเปลี่ยนความคิด เปลี่ยนแปลงความเชื่อเฉพาะตัว ให้เรารู้สึกเป็นอิสระมากขึ้นเมื่อไม่มีโทรศัพท์มือถือ

ถ้าคุณคือคนที่เล่นโซเชียลหนักหรือต้องทำงานออนไลน์ตลอดเวลา ไม่ว่าจะคอยเช็คอีเมล์ลูกค้า ตอบแชทเจ้านาย จนกลายเป็นคนติดโทรศัพท์มือถือแบบไม่รู้ตัว ในบางครั้งก็เริ่มหลงลืมคนข้างๆ มีอาการสมาธิสั้น เครียดสะสม หรือซึมเศร้า นั่นคือสัญญาณที่ไม่ดีแล้วนะ

เพราะความพัฒนาของโลกดิติตอลที่ทำให้อะไรๆหลายๆอย่างในชีวิตของคุณง่ายขึ้น แต่ความสะดวกสบายที่ได้ก็แลกมาพร้อมกับพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป จากการสำรวจข้อมูลปี 2560 พบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือของคนไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น 5 เท่า ซึ่งในทางตรงกันข้ามก็จะมีผู้คนที่จะมีอาการเจ็บป่วยมากขึ้นจากการจดจ่ออยู่กับหน้าจอโทรศัพท์มือถือนานเกินไปเช่นกัน ดังนั้นมันจึงเป็นเหตุผลที่เราควรตระหนักว่าเราใช้งานโทรศัพท์มือถือเกินความจำเป็นหรือเปล่า เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคต่างๆ

อาการที่บอกว่าคุณกำลังติดโทรศัพท์มือถือ

เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้
เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้

 1. หมกมุ่นกับโซเชียล

ถึงแม้จะไม่มีเรื่องด่วนแต่คุณก็จะหยิบมือถือขึ้นมาดูตลอดเวลา หรือหากพบเจอเรื่องอะไรก็ตามในแต่ละวัน คุณก็เลือกที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดทุกอย่างลงในโซเชียล นั่นถือเป็นสัญญาณที่บอกแล้วว่าคุณกำลังติดโทรศัพท์มือถือ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อสุขภาพกายและใจของคุณแย่ลง อย่างเช่น 

อาการนอนไม่หลับ ที่คุณและใครหลายๆคนก็น่าจะเคยเจอมาแล้ว เนื่องจากแสงหน้าจอโทรศัพท์มือถือที่เราเล่นกันอยู่ในทุกวันรบกวนระบบสมอง และยังมีข้อมูลข่าวสารในโลกออนไลน์ที่มีผลต่อความรู้สึกนึกคิด

โรคซึมเศร้าได้อีกด้วย เพราะมีผลวิจัยที่ยืนยันได้ว่าผู้คนในปัจจุบันมีความเสี่ยงเป็นโรคทางด้านจิตใจและเกี่ยวข้องกับประสาทค่อนข้างมาก จากการติดโทรศัพท์มือถือทำให้ผู้คนเกิดอาการอ่อนไหวง่าย ไม่มั่นใจ ไม่กล้าเจอผู้คน รู้สึกไม่เป็นที่ยอมรับ จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ 

เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้
เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้

2. อาการตาแห้ง ตาล้า

หากคุณเพ่งหรือจ้องหน้าจอโทรศัพท์มือถือนานเกินไป จนทำให้มีอาการตาแห้ง ตาล้า นั่นเพราะว่ากล้ามเนื้อบริเวณรอบดวงตาของคุณทำงานหนักเกินไป หรือแม้ว่าคุณกระพริบตาน้อยเกินไป ก็ส่งผลให้ตาของคุณแห้งได้ ดังนั้นคุณควรจะป้องกันด้วยการสวมแว่นปรับแสงอัตโนมัติทุกครั้งที่ต้องจ้องหรือเพ่งหน้าจอเป็นเวลานาน เนื่องจากเลนส์ของตัวแว่นจะช่วยตัดแสงสีฟ้าที่เป็นตัวอันตรายต่อดวงตา ถ้าหากคุณไม่ป้องกันก็อาจจะส่งผลให้คุณมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคต่างๆได้ เช่น

โรควุ้นตาเสื่อม เป็นอาการมองเห็นจุดเล็กๆลอยผ่านไปมา โดยปกติจะพบในผู้สูงอายุและผู้ที่ใช้สายตาจดจ้องที่โทรศัพท์มือถือที่มีรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและแสงสีฟ้าเป็นเวลานานๆ 

โรคมะเร็ง แสงจากหน้าจอโทรศัพท์มือถือของคุณมีทั้งรังสีและคลื่นสนามแม่เหล็กที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า การใช้โทรศัพท์มือถือเป็นระยะเวลานานจึงมีโอกาสที่ทำให้เกิดเนื้องอก และเติบโตไปเป็นมะเร็งได้

เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้
เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้

3. อาการปวดคอ บ่า ไหล่ห่อ คอยื่นตลอดเวลา

เกิดจากการที่ความดันในหมอนรองกระดูกมากดทับไขสันหลัง หรือการที่คุณก้มหน้า ค้อมตัว จดจ่อก้มดูหน้าจอโทรศัพท์มากเกินไป ทำให้คอ บ่า และไหล่เกิดอาการเกร็งจนเลือดไหลเวียนไม่สะดวก หากอาการหนักมากขึ้นก็อาจส่งผลให้เกิดโรคที่ร้ายแรงขึ้นได้ เช่น

โรค Text Neck Syndrome ซึ่งจมีอาการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า และไหล่ เป็นอาการเจ็บ ชา ร้าวจากคอไปถึงมือ หรือที่เรียกกันว่าโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทส่วนคอ 

เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้
เล่นโทรศัพท์มากเกินไป วิธีแก้

4. ปวดข้อมือ ปวดนิ้ว นิ้วล็อค

อาการพวกนี้เกิดจากการใช้มือกด จิ้ม สไลด์หน้าจอเป็นเวลานานด้วยท่าเดิมซ้ำๆ จนทำให้เปลือกหุ้มเส้นเอ็นเกิดการอักเสบ ตีบลง หรือขาดความยืดหยุ่น จึงไม่สามารถยืดหรืองอได้ คุณสามารถป้องกันได้ด้วยการบริหารมือด้วยยางยืดบริหารมือ เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้สะดวก และยังช่วยคลายความเครียดได้อีกด้วย ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ก็สามารถใช้งานได้หมดเลยนะ

ถ้าคุณเริ่มมีอาการใดอาการหนึ่งแล้วแปลว่ามันเป็นสัญญาณเตือนให้คุณลดการใช้งานโทรศัพท์มือถือลงบ้าง เพราะคุณติดโทรศัพท์มือถือมากไปแล้ว คุณสามารถปรับพฤติกรรมได้ในตอนนี้ก่อนที่โรคร้ายจะมาถึง เพียงลดการใช้งานมือถือในแต่ละวันลงบ้าง เช่น ลองใช้นาฬิกาปลุกแทนโทรศัพท์มือถือ เก็บมือถือตอนกินข้าว ไม่ใช้มือถือระหว่างขับรถ หรือถ้าหากจำเป็นต้องใช้จริงๆก็ควรป้องกันด้วยการสวมแว่นกรองแสงหรือแว่นปรับแสงอัตโนมัติทุกครั้ง เพราะอย่างน้อยก็ช่วยในการตัดแสงสีฟ้าที่เป็นผลให้จอประสาทตาของคุณเสื่อมได้ ลองใช้ชีวิตแบบไม่ต้องมีมือถือตลอดเวลาบ้าง ลอง