แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย อายุ 4-6 ปี กรมพลศึกษา

แบบทดสอบและเกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของนกั เรยี น ระดับมัธยมศึกษา
(อายุ 13 - 18 ป)

สํานักวทิ ยาศาสตรก ารกีฬา
กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า

พ.ศ. 2562

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของนกั เรยี น ระดบั มัธยมศกึ ษา
(อายุ 13 - 18 ปี)

ส�ำนกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า
กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

พ.ศ. 2562

คำ� นิยม

การจดั ทำ� เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายเยาวชนและประชาชนไทย ตง้ั แต่
อายุ 7 - 69 ปี ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
ไดจ้ ดั ทำ� ขน้ึ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายทเ่ี หมาะสม
ต่อบรบิ ทในปัจจุบนั ของประเทศไทย โดยคำ� นงึ ถึงการน�ำไปใชง้ านไดส้ ะดวก ไม่ใช้เคร่ืองมอื และ
อปุ กรณท์ ม่ี รี าคาแพง รวมทง้ั ประหยดั เวลาในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยมคี ณะทป่ี รกึ ษา
และคณะทำ� งาน ไดส้ รา้ งและพฒั นาแบบทดสอบ ใหม้ คี า่ ความเทย่ี งตรงและความเชอ่ื มน่ั ทมี่ คี ณุ ภาพ
เป็นท่ียอมรบั ตามหลักวชิ าการ อีกท้งั ยงั เป็นการปรับปรุงเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ส�ำหรับเยาวชนและประชาชนไทย ซ่ึงส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวง
การทอ่ งเทย่ี วและกีฬา ไดจ้ ดั ทำ� ไว้ต้งั แต่ปพี .ศ. 2555
ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ าร ครู อาจารย์ และนกั เรยี นจากสถานศกึ ษาตา่ งๆ รวมถงึ ผบู้ รหิ ารจากหนว่ ยงาน
ท่ีเก่ียวข้อง ประธานชมรมผู้สูงอายุจากจังหวัดที่ก�ำหนดทั่วประเทศ ที่ให้ความอนุเคราะห์
และชว่ ยเหลอื ในการเกบ็ ข้อมลู เปน็ อย่างด ี ทำ� ให้การจดั ท�ำเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
สำ� หรบั เยาวชนและประชาชนไทยในครง้ั นสี้ �ำเรจ็ ลลุ ว่ ง ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ ติ ร
สมาหโิ ต ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ เิ ศษคณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า รวมทง้ั คณะทำ� งานจากคณะวทิ ยาศาสตร์
การกฬี า คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
มหาวิทยาลัยมหาสารคามภาควิชาพลศึกษาและนันทนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สถาบันการพลศึกษา กรมอนามัยและทุกหน่วยงาน
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทไี่ ดท้ มุ่ เท เสยี สละ และตง้ั ใจ เพอ่ื ทจ่ี ะใหก้ ารดำ� เนนิ งานครง้ั นเ้ี ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และมคี ณุ ภาพ ทำ� ใหไ้ ดแ้ บบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายทเ่ี หมาะสม อนั จะเกดิ
ประโยชนต์ ่อการพฒั นาสมรรถภาพทางกายเยาวชนไทยต่อไป

(นายปัญญา หาญลำ� ยวง)
อธบิ ดกี รมพลศึกษา

ค�ำน�ำ

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีพันธกิจหลักในการพัฒนา
สุขภาพและสมรรถภาพทางกายของประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา
ซ่ึงเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ด�ำเนินการจัดท�ำ
แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย ตั้งแต่อายุ 7 - 69 ปี
เพอ่ื เผยแพรใ่ หแ้ กส่ ถานศกึ ษา หนว่ ยงานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและสมรรถภาพ
ทางกาย รวมถงึ ประชาชนทส่ี นใจเพอ่ื จะไดน้ ำ� แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ในแต่ละกลุ่มอายุที่สร้างและพัฒนาข้ึนอย่างเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ไปใช้เพ่ือเป็น
ประโยชน์ในการประเมินสมรรถภาพทางกายด้วยการทดสอบและประเมินผลได้เป็นไปตาม
เกณฑม์ าตรฐานเหมาะสมกบั แตล่ ะกล่มุ วยั เพอ่ื จะไดท้ ำ� ใหท้ ราบข้อมลู พื้นฐาน ด้านสมรรถภาพ
ทางกาย และสามารถนำ� ข้อมลู ดังกล่าวไปวางแผนในการสง่ เสริมพัฒนาสขุ ภาพและสมรรถภาพ
ทางกาย ซงึ่ เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน สง่ ผลใหม้ สี ขุ ภาพสมบรู ณ์
แขง็ แรงปราศจากโรคภยั ต่อไป

คณะท�ำงาน

สารบัญ

หนา้
คำ� นิยม ก
คำ� นำ� ข
สารบญั ค
สมรรถภาพทางกาย 1
• ความหมายของสมรรถภาพทางกาย 1
• สมรรถภาพทางกายทส่ี ัมพนั ธ์กบั สุขภาพ 2
• สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธก์ บั ทักษะ 4
รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5
• ชั่งน�ำ้ หนกั (Weight) 8
• วดั สว่ นสงู (Height) 9
• ดัชนมี วลกาย (Body Mass Index : BMI) 10
• นั่งงอตวั ไปข้างหนา้ (Sit and Reach) 12
• ดันพืน้ ประยกุ ต์ 30 วินาที (30 Seconds Modified Push Ups) 14
• ลุก - นัง่ 60 วินาที (60 Seconds Sit Ups) 16
• ยนื ยกเข่าขน้ึ ลง 3 นาท ี (3 Minutes Step Up and Down) 18
แบบบนั ทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำ� หรบั นกั เรียนระดบั มัธยมศึกษา
(อายุ 13 - 18 ปี) 20
ข้อปฏบิ ัติในการทดสอบสมรรถภาพทางกายส�ำหรับนกั เรยี น 21
เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรบั นกั เรียนระดับมัธยมศกึ ษา
(อายุ 13 - 18 ปี) 23
เอกสารอา้ งอิง 29
รายนามคณะท�ำงาน 32

สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness)

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายและการประเมนิ สมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย จงึ ไดจ้ ดั ทำ�
แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรับเด็กท่ีก�ำลังศึกษาในอยู่ระดับ
มัธยมศึกษา อายุระหว่าง 13 - 18 ปี เพื่อเผยแพร่ให้กับโรงเรียนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ เนอื่ งจากวยั เดก็ เปน็ วยั ทอ่ี ยใู่ นชว่ งการพฒั นาดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม
และสตปิ ญั ญา การออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าเปน็ การชว่ ยกระตนุ้ และพฒั นาระบบตา่ งในรา่ งกาย
ทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ ดก็ มกี ารเจรญิ เตบิ โตเหมาะสมตามวยั ทำ� ใหม้ รี า่ งกายทแ่ี ขง็ แรงสมบรู ณ์ และยงั ชว่ ย
สง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ทดี่ ี ดงั นนั้ การเรมิ่ ตน้ จากการประเมนิ สมรรถภาพทางกายดว้ ยแบบการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายท่ีเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและเหมาะสมตามวัย จะท�ำให้ทราบข้อมูล
พ้นื ฐานดา้ นสมรรถภาพทางกาย ซงึ่ สามารถน�ำไปใช้เปน็ ขอ้ มูลในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและภาวะ
โภชนาการใหเ้ หมาะสมกับการเจริญเติบโตและกิจกรรมตามวัยของเด็ก

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย

สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) หมายถึง สภาวะของร่างกายท่ีอยู่
ในสภาพที่ดีเพื่อช่วยให้บุคคลสามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดอัตราเส่ียงของปัญหา
สขุ ภาพทเ่ี ปน็ สาเหตจุ ากการออกกำ� ลงั กายสรา้ งความสมบรู ณแ์ ละแขง็ แรงของรา่ งกายในการเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายไดอ้ ยา่ งหลากหลาย บคุ คลทมี่ สี มรรถภาพทางกายดจี ะสามารถปฏบิ ตั ิ
กิจต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ
ไดอ้ ยา่ งดี สมรรถภาพทางกายแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพ
(health-related physical fitness) และสมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั ทกั ษะ (skill-related
physical fitness) (สุพิตร, 2549)

1

สมรรถภาพทางกายท่สี มั พันธก์ ับสุขภาพ
(health-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพ หมายถงึ สมรรถภาพทางกายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การ
พฒั นาสขุ ภาพและเพมิ่ ความสามารถในการทำ� งานของรา่ งกาย ซงึ่ จะมสี ว่ นชว่ ยในการลดปจั จยั เสย่ี ง
ในการเกดิ โรคตา่ งๆ ได้ เช่น โรคหลอดเลอื ดหัวใจ โรคความดันโลหติ สูง โรคปวดหลงั ตลอดจน
ปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดจากการขาดการออกก�ำลังกาย (สพุ ิตร, 2549) ซึง่ ประกอบดว้ ย
1. ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ (muscle strength) เปน็ ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื
หรอื กลมุ่ กลา้ มเนอื้ ทอี่ อกแรงดว้ ยความพยายามในครง้ั หนงึ่ ๆ เพอื่ ตา้ นกบั แรงตา้ นทาน ความแขง็ แรง
ของกล้ามเน้ือจะท�ำให้เกิดความตึงตัว เพื่อใช้แรงในการดึงหรือยกของต่างๆ ความแข็งแรงของ
กล้ามเนอื้ จะช่วยท�ำใหร้ ่างกายทรงตวั เป็นรูปร่างขึ้นมาได้ หรอื ท่เี รียกว่า ความแขง็ แรงเพอ่ื รักษา
ทรวดทรง ซ่ึงจะเป็นความสามารถของกล้ามเน้ือท่ีช่วยให้ร่างกายทรงตัวต้านกับแรงโน้มถ่วง
ของโลกใหอ้ ยูไ่ ด้โดยไมล่ ม้ เปน็ ความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อที่ใช้ในการเคลอ่ื นไหวข้นั พนื้ ฐาน เช่น
การวิง่ การกระโดด การเขยง่ การกระโจน การกระโดดขาเดียว การกระโดดสลับเท้า เป็นตน้
ความแข็งแรงอกี ชนิดหน่ึงของกลา้ มเน้ือเรยี กว่า ความแขง็ แรง เพ่อื เคลื่อนไหวในมุมตา่ งๆ ได้แก่
การเคล่ือนไหวแขนและขาในมุมต่างๆ เพ่ือเล่นเกมกฬี า การออกก�ำลังกาย หรือการเคล่อื นไหว
ในชวี ติ ประจำ� วนั เปน็ ตน้ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ในการเกรง็ เปน็ ความสามารถของรา่ งกาย
หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายในการต้านทานแรงที่มากระท�ำจากภายนอกได้โดยไม่ล้มหรือ
สญู เสยี การทรงตัวไป
2. ความอดทนของกลา้ มเนอ้ื (muscle endurance) เปน็ ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื
ที่จะรักษาระดับการใช้แรงปานกลางได้เป็นเวลานาน โดยการออกแรงที่ท�ำให้วัตถุเคลื่อนท่ีได้
ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานานๆ หรอื หลายครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ความอดทนของกลา้ มเนอ้ื สามารถเพม่ิ มากขน้ึ ได้
โดยการเพม่ิ จำ� นวนครงั้ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั เชน่ อายุ เพศ ระดบั สมรรถภาพ
ทางกาย และชนิดของการออกกำ� ลงั กาย

2 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

3. ความออ่ นตวั (flexibility) เปน็ ความสามารถของขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ ของรา่ งกายทเ่ี คลอื่ นไหว
ได้เต็มช่วงของการเคล่ือนไหว การพัฒนาด้านความอ่อนตัวท�ำได้โดยการยืดเหยียดกล้ามเน้ือ
และเอน็ หรอื การใชแ้ รงตา้ นทานในกลา้ มเนอื้ และเอน็ ใหต้ อ้ งทำ� งานมากขนึ้ การยดื เหยยี ดของกลา้ มเนอ้ื
ทำ� ไดท้ ง้ั แบบอยกู่ บั ทห่ี รอื แบบทม่ี กี ารเคลอื่ นไหว เพอ่ื ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ ควรใชก้ ารยดื เหยยี ด
ของกลา้ มเน้ือในลกั ษณะอยู่กบั ท่ี น่ันคือ อวัยวะส่วนแขนและขาหรือล�ำตัวจะต้องเหยยี ดจนกว่า
กล้ามเนือ้ จะรู้สกึ ตงึ และอย่ใู นทา่ เหยียดกลา้ มเน้อื ในลกั ษณะนป้ี ระมาณ 10 - 15 วนิ าที
4. ความอดทนของระบบหวั ใจและไหลเวียนเลือด (cardiovascular endurance)
เปน็ ความสามารถของหวั ใจและหลอดเลอื ดทจ่ี ะลำ� เลยี งออกซเิ จนและสารอาหารตา่ งๆ ไปยงั กลา้ มเนอ้ื
ท่ใี ชใ้ นการออกแรงในขณะท�ำงาน ทำ� ให้ร่างกายทำ� งานได้เป็นระยะเวลานาน และขณะเดียวกัน
ก็น�ำสารท่ีไม่ต้องการ ซึ่งเกิดข้ึนภายหลังการท�ำงานของกล้ามเน้ือออกจากกล้ามเนื้อท่ีใช้งาน
ในการพฒั นาหรอื เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพดา้ นนจ้ี ะตอ้ งใหม้ กี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายโดยใชร้ ะยะเวลา
ติดตอ่ กนั ประมาณ 10 - 15 นาที ขนึ้ ไป
5. องคป์ ระกอบของรา่ งกาย (body composition) หมายถงึ สว่ นตา่ งๆ ทป่ี ระกอบขน้ึ
เป็นน�้ำหนกั ตัวของร่างกาย โดยแบ่งออกเป็น 2 สว่ น คอื ส่วนทเ่ี ป็นไขมัน (fat mass) และส่วนที่
ปราศจากไขมนั (fat-free mass) เชน่ กระดกู กลา้ มเนื้อ และแร่ธาตตุ ่างๆ ในร่างกาย โดยท่ัวไป
องคป์ ระกอบของรา่ งกายจะเปน็ ดชั นปี ระมาณคา่ ทท่ี ำ� ใหท้ ราบถงึ รอ้ ยละของนำ้� หนกั ทเี่ ปน็ สว่ นของ
ไขมนั ทม่ี อี ยใู่ นรา่ งกาย ซงึ่ อาจจะหาคำ� ตอบทเี่ ปน็ สดั สว่ นกนั ไดร้ ะหวา่ งไขมนั ในรา่ งกายกบั นำ�้ หนกั
ของส่วนอื่นๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น ส่วนของกระดูก กล้ามเน้ือ และอวัยวะต่างๆ การรักษา
องค์ประกอบของร่างกายให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสมจะช่วยลดโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคอ้วน
ซงึ่ โรคอว้ นจะเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการเปน็ โรคทเ่ี สย่ี งตอ่ อนั ตรายตอ่ ไปอกี มาก เชน่ โรคหลอดเลอื ด
หัวใจตีบ หวั ใจวาย และโรคเบาหวาน เปน็ ตน้

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 3

สมรรถภาพทางกายทีส่ มั พนั ธ์กับทักษะ
(skill-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั ทกั ษะ (skill-related physical fitness) เปน็ สมรรถภาพ
ทางกาย ที่เกยี่ วขอ้ งในการสนบั สนนุ ให้เกิดระดบั ความสามารถและทกั ษะในการแสดงออกของ
การเคลอื่ นไหว และการเลน่ กฬี ามปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ซง่ึ นอกจากจะประกอบดว้ ยสมรรถภาพ
ทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ ได้แก่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ความอดทนของกล้ามเนื้อ
ความอ่อนตัว ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด และองค์ประกอบของร่างกาย
แล้ว ยังประกอบด้วยสมรรถภาพทางกายในดา้ นตอ่ ไปนี้ คอื (สพุ ติ ร, 2549)

1. ความเรว็ (speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวไปสเู่ ปา้ หมายทตี่ อ้ งการ
โดยใช้ระยะเวลาสัน้ ทสี่ ุดซึง่ กลา้ มเนื้อจะต้องออกแรงและหดตวั ด้วยความเรว็ สูงสดุ
2. ก�ำลังของกล้ามเน้ือ (muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อ
ในการท�ำงานโดยการออกแรงสูงสุดในช่วงที่สั้นท่ีสุด ซึ่งจะต้องมีความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ
และความเรว็ เปน็ องค์ประกอบหลกั
3. ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว (agility) หมายถงึ ความสามารถในการเปลย่ี นทศิ ทางและ
ตำ� แหนง่ ของรา่ งกายในขณะทกี่ ำ� ลงั เคลอื่ นไหว โดยใชค้ วามเรว็ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี จดั เปน็ สมรรถภาพ
ทางกายทจี่ ำ� เปน็ ในการนำ� ไปสกู่ ารเคลอ่ื นไหวขนั้ พน้ื ฐาน สำ� หรบั ทกั ษะในการเลน่ กฬี าประเภทตา่ ง ๆ
ให้มีประสิทธิภาพ
4. การทรงตัว (balance) หมายถึง ความสามารถในการควบคุมและรักษาต�ำแหน่ง
ทา่ ทางของรา่ งกายใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะตามทตี่ อ้ งการได้ ทงั้ ขณะอยกู่ บั ทห่ี รอื ในขณะทมี่ กี ารเคลอ่ื นไหว
5. เวลาปฏกิ ริ ยิ า (reaction time) หมายถงึ ระยะเวลาทเี่ รว็ ทสี่ ดุ ทรี่ า่ งกายมกี ารตอบสนอง
หลังจากที่ได้รับการกระตุ้น ซ่ึงเป็นความสามารถของระบบประสาทเม่ือรับรู้การถูกกระตุ้น
แลว้ สามารถสงั่ การใหอ้ วยั วะทที่ ำ� หนา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเคลอื่ นไหวใหม้ กี ารตอบสนองอยา่ งรวดเรว็
6. การท�ำงานที่ประสานกัน (coordination) หมายถึง ความสัมพันธ์ในการท�ำงาน
ของระบบประสาทและระบบกล้ามเนอ้ื ในการเคลื่อนไหว ท�ำให้ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถ
ท่จี ะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางกลไกทส่ี ลบั ซบั ซ้อนในเวลาเดียวกนั อยา่ งราบรนื่ และแม่นยำ�

4 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

รายการที่ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรบั นกั เรียน สำ� หรับประชาชน สำ� หรบั ประชาชน
อายุ 7 - 18 ปี อายุ 19 - 59 ปี อายุ 60 - 69 ปี

องค์ประกอบของรา่ งกาย ดัชนมี วลกาย ดัชนมี วลกาย ดัชนีมวลกาย
(Body Composition) (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI)
1 - ชงั่ น้ำ� หนกั (Weight) - ชั่งนำ้� หนัก (Weight) - ช่งั น้ำ� หนกั (Weight)

- วดั สว่ นสงู (Height) - วดั ส่วนสูง (Height) - วัดสว่ นสงู (Height)

2 ความออ่ นตวั นง่ั งอตัวไปขา้ งหน้า นง่ั งอตวั ไปข้างหนา้ แตะมอื ด้านหลัง
(Flexibility) (Sit and Reach) (Sit and Reach) (Back Scratch)

ดันพ้ืนประยุกต์ 30 วนิ าที แรงบีบมือ -
(30 Seconds Modified Push (Hand Grip Strength) ยืน-นงั่ บนเก้าอี้ 30 วินาที
3 ความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเน้ือ Ups) ยืน-นง่ั บนเกา้ อ้ี 60 วนิ าที
(Muscle Strength and Endurance ) ลุก-นงั่ 60 วินาที

(60 Seconds Sit Ups) (60 Seconds Chair Stand) (30 Seconds Chair Stand)

ความอดทนของระบบหวั ใจ ยืนยกเข่าข้นึ ลง 3 นาที ยนื ยกเขา่ ข้นึ ลง 3 นาที ยืนยกเข่าขนึ้ ลง 2 นาที
4 และไหลเวียนเลือด (3 Minutes Step Up and Down) (3 Minutes Step Up and (2 Minutes Step Up and Down)
Down)
(Cardiovascular Endurance )

5 5 การทรงตัว - - เดินเร็วออ้ มหลัก
(Balance ) (Agility Course)

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายและรายการทดสอบ
ส�ำหรบั นกั เรียนระดบั มัธยมศกึ ษา

องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา
(อายุ 13 - 18 ป)ี
1. ชั่งน้�ำหนกั (Weight)
องคป์ ระกอบของรา่ งกาย 2. วดั สว่ นสูง (Height)
(Body Composition) นำ� คา่ ทไี่ ด้มาค�ำนวณหาค่าดัชนมี วลกาย
(Body Mass Index : BMI)

ความอ่อนตัว 3. นั่งงอตัวไปข้างหนา้
(Flexibility) (Sit and Reach))

4. ดันพ้ืนประยุกต์ 30 วนิ าที
ความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อ (30 Seconds Modified Push Ups)

(Muscle Strength and Endurance) 5. ลกุ -น่งั 60 วนิ าที
(60 Seconds Sit Ups)

ความอดทนของระบบหัวใจและ 6. ยืนยกเขา่ ขน้ึ ลง 3 นาที
ไหลเวียนเลือด (3 Minutes Step Up and Down)

(Cardiovascular Endurance)

6 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ส�ำหรับนักเรยี นระดบั มัธยมศึกษา (อายุ 13-18 ป)ี

รายการ รายการทดสอบ องค์ประกอบทีต่ ้องการวดั
ท่ี ชั่งนำ�้ หนัก
1 (Weight) เพอื่ นำ� ไปประเมินสัดส่วนของรา่ งกาย
ในสว่ นของดชั นมี วลกาย
2 วัดส่วนสงู (Body Mass Index: BMI)
(Height)
เพือ่ นำ� ไปประเมินสดั ส่วนของร่างกาย
3 นง่ั งอตัวไปข้างหน้า ในส่วนของดชั นีมวลกาย
(Sit and Reach) (Body Mass Index: BMI)

4 ดนั พืน้ ประยกุ ต3์ 0 วนิ าที เพ่ือตรวจประเมินความอ่อนตัว
(30 Seconds Modified Push Ups) ของข้อไหล่ หลงั ข้อสะโพก
และกลา้ มเน้ือตน้ ขาด้านหลัง
5 ลุก-นงั่ 60 วนิ าที เพื่อตรวจประเมินความแขง็ แรง
(60 Seconds Sit Ups) และความอดทนของกล้ามเน้อื แขน
และกลา้ มเน้ือส่วนบนของร่างกาย
6 ยืนยกเข่าขน้ึ ลง 3 นาที เพื่อตรวจประเมนิ ความแข็งแรง
(3 Minutes Step Up and Down) และความอดทนของกล้ามเนอื้ ทอ้ ง
เพอื่ ตรวจประเมนิ ความอดทน
ของระบบหวั ใจและไหลเวยี นเลอื ด

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 7

ช่งั น�้ำหนกั (Weight)

วัตถปุ ระสงค์

เพอ่ื ประเมนิ นำ้� หนกั ของรา่ งกาย สำ� หรบั นำ� ไปคำ� นวณสดั สว่ นรา่ งกายในสว่ นของดชั นมี วลกาย
(Body Mass Index: BMI)

อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการทดสอบ

เครื่องชงั่ น้�ำหนกั

วิธีการปฏบิ ตั ิ

1. ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และสวมเสื้อผ้าท่ีเบาที่สุดและน�ำส่ิงของต่าง ๆ
ทอ่ี าจจะท�ำให้น�้ำหนักเพ่ิมข้ึนออกจากกระเป๋าเส้ือและกางเกง
2. ทำ� การชั่งนำ้� หนักของผรู้ ับการทดสอบ

ระเบียบการทดสอบ

ไมท่ �ำการชง่ั น้ำ� หนักหลงั จากรบั ประทานอาหารอม่ิ ใหม่ๆ

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

บนั ทึกหน่วยของน้�ำหนกั เปน็ กโิ ลกรมั

8 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วัดส่วนสงู (Height)

วัตถุประสงค์

เพอื่ ประเมนิ สว่ นสงู ของรา่ งกาย สำ� หรบั นำ� ไปคำ� นวณสดั สว่ นรา่ งกายในสว่ นของดชั นมี วลกาย
(Body Mass Index: BMI)

อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการทดสอบ

เคร่อื งวัดสว่ นสงู

วิธกี ารปฏิบัติ

1. ใหผ้ ูร้ ับการทดสอบถอดรองเทา้
2. ท�ำการวดั ส่วนสงู ของผ้รู ับการทดสอบ ในท่ายนื ตรง

การบันทกึ ผลการทดสอบ

บันทกึ หน่วยของสว่ นสงู เปน็ เมตร

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 9

ดัชนมี วลกาย (Body Mass Index : BMI)

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อประเมินองค์ประกอบของร่างกายในด้านความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย
ระหว่างน้�ำหนักกับส่วนสูง

คุณภาพของรายการทดสอบ

คา่ ความเชอื่ ม่ัน 0.96
คา่ ความเท่ียงตรง 0.89

อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทดสอบ

1. เคร่ืองชง่ั นำ้� หนกั
2. เครอ่ื งวัดสว่ นสงู
3. เครือ่ งคิดเลข

10 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วธิ ีการปฏบิ ตั ิ

1. ใหท้ ำ� การชง่ั นำ�้ หนกั ของผรู้ บั การทดสอบเปน็ กโิ ลกรมั และวดั สว่ นสงู ของผรู้ บั การทดสอบ
เป็นเมตร

2. น�ำน�้ำหนักและส่วนสูงมาค�ำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยน�ำค่าน�้ำหนักที่ชั่งได้
เปน็ กิโลกรัมหารด้วยส่วนสงู ทว่ี ดั ไดเ้ ปน็ เมตรยกกำ� ลงั สอง (เมตร2)

ระเบยี บการทดสอบ

ในการช่งั นำ�้ หนกั และวัดส่วนสูง ใหผ้ รู้ ับการทดสอบถอดรองเทา้ และสวมชดุ ท่ีเบาที่สดุ

การบนั ทึกผลการทดสอบ

คา่ ดชั นมี วลกายมหี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั /ตารางเมตร ไดม้ าจากการชงั่ นำ� หนกั ตวั และวดั สว่ นสงู
ของผรู้ บั การทดสอบ แลว้ นำ� คา่ นำ้� หนกั ตวั ทบี่ นั ทกึ คา่ เปน็ กโิ ลกรมั แสะสว่ นสงู ทบี่ นั ทกึ คา่ เปน็ เมตร
มาแปลงเป็นค่าดชั นีมวลกายจากสมการตอ่ ไปนี้

ดชั นมี วลกาย (BMI) = น�้ำหนักตวั (กิโลกรมั )
ส่วนสงู (เมตร)2

ตวั อย่าง เชน่ ผรู้ บั การทดสอบมีน�ำ้ หนกั ตัว 50 กิโลกรัม มสี ว่ นสงู 1.50 เมตร
คา่ ดชั นีมวลกาย (BMI) = 50/1.502
= 50/2.25
= 22.22 กโิ ลกรมั /ตารางเมตร

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 11

นง่ั งอตวั ไปข้างหน้า (Sit and Reach)

วัตถุประสงคก์ ารทดสอบ

เพอ่ื ประเมนิ ความอ่อนตวั ของข้อไหล่ หลัง ขอ้ สะโพก และกล้ามเน้ือต้นขาด้านหลงั

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชือ่ มน่ั 0.95
คา่ ความเทยี่ งตรง 1.00

อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการทดสอบ

กล่องเครอ่ื งมอื วัดความออ่ นตัว ขนาดสูง 30 เซนตเิ มตร
มสี เกลของระยะทางตัง้ แต่ คา่ ลบ ถึง คา่ บวก เป็นเซนติเมตร

12 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วิธกี ารปฏิบัติ

1. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ แขน ขา และหลงั (กอ่ นทดสอบใหถ้ อดรองเทา้ )
2. ผรู้ บั การทดสอบนง่ั ตวั ตรง เหยยี ดขาตรงไปขา้ งหนา้ ใหเ้ ขา่ ตงึ ฝา่ เทา้ ทงั้ สองขา้ งตงั้ ขนึ้
ในแนวตรง และให้ฝ่าเท้าวางราบชิดติดกับผนังกล่องวัดความอ่อนตัว ฝ่าเท้าวางห่างกันเท่ากับ
ความกวา้ งของชว่ งสะโพกของผ้รู ับการทดสอบ
3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกแขนทั้ง 2 ข้างข้ึนในท่าข้อศอก
เหยียดตรง และคว�ำ่ มอื ให้ฝ่ามือทัง้ สองขา้ งวางคว่ำ� ซ้อนทับกันพอดี แลว้ ย่นื แขนตรงไปข้างหน้า
แล้วให้ผู้รับการทดสอบค่อยๆ ก้มล�ำตัวไปข้างหน้าพร้อมกับเหยียดแขนท่ีมือคว�่ำซ้อนทับกันไป
วางไว้บนกล่องวัดความอ่อนตัวให้ได้ไกลท่ีสุดจนไม่สามารถก้มล�ำตัวลงไปได้อีก ให้ก้มตัวค้างไว้
3 วนิ าที แล้วกลบั มาสู่ทา่ นง่ั ตัวตรง ทำ� การทดสอบจ�ำนวน 2 ครัง้ ติดต่อกัน

ระเบียบการทดสอบ

ในการทดสอบจะตอ้ งถอดรองเทา้ ทง้ั นก้ี ารทดสอบจะไมส่ มบรู ณแ์ ละตอ้ งทำ� การทดสอบใหม่
ในกรณีที่เกดิ เหตุการณ์ตอ่ ไปนี้

1. มกี ารงอเข่าในขณะทก่ี ้มลำ� ตวั เพ่อื ยื่นแขนไปข้างหน้าใหไ้ ด้ไกลที่สุด
2. มกี ารโยกตัวตัวชว่ ยขณะท่กี ้มล�ำตัวลง

การบนั ทึกคะแนน

บันทึกระยะทางที่ทำ� ได้เป็นเซนติเมตร โดยบนั ทกึ ค่าทด่ี ีทส่ี ุดจากการทดสอบ 2 คร้งั

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 13

ดันพ้นื ประยุกต์ 30 วินาที
(30 Seconds Modified Push Ups)

วัตถปุ ระสงค์การทดสอบ

เพอ่ื วดั ความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเนอ้ื แขนและกลา้ มเนอื้ สว่ นบนของรา่ งกาย

คุณภาพของรายการทดสอบ

คา่ ความเช่อื มั่น 0.95
ค่าความเทีย่ งตรง 1.00

อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการทดสอบ

1. เบาะฟองนำ้� หรอื โฟมรองพื้น
2. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วนิ าที

14 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วิธีการปฏิบัติ

1. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบนอนควำ�่ ลำ� ตวั เหยยี ดตรงบนเบาะฟองนำ้� หรอื เบาะรองอนื่ ๆ ไขวข้ า
เก่ียวกันแลว้ งอขน้ึ ประมาณ 90 องศา
2. ฝา่ มอื ทง้ั สองขา้ งวางควำ่� ราบกบั พน้ื ในระดบั เดยี วกบั หวั ไหลใ่ หป้ ลายนวิ้ ชต้ี รงไปขา้ งหนา้
โดยให้ฝ่ามอื ทง้ั สองขา้ งหา่ งกนั เทา่ กับชว่ งไหล่ ขอ้ ศอกงอแนบอยขู่ า้ งล�ำตัว
3. ในขณะเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ ให้ผู้รับการทดสอบออกแรงดันพ้ืนยกล�ำตัวขึ้น
โดยหัวเข่าติดพ้ืน และให้แขนท้ังสองเหยียดตึง ต้ังตรงกับพื้น ล�ำตัวเหยียดตรงเป็นแนวเดียว
กบั สะโพกและตน้ ขา เขา่ ทง้ั สองขา้ งชดิ ตดิ กนั ใชเ้ ปน็ จดุ หมนุ ของการเคลอ่ื นไหว ขณะทำ� การทดสอบ
เคลื่อนไหวสะโพก และต้นขาให้ยกข้ึนท�ำมุมประมาณ 45 องศากับพ้ืน โดยให้เป็นแนวเส้นตรง
กบั ลำ� ตัว
4. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยุบข้อศอกลงให้ข้อศอกท้ังสองข้าง
งอทำ� มมุ 90 องศา ในขณะทแ่ี ขนทอ่ นบนขนานกบั พน้ื แลว้ ใหเ้ หยยี ดศอกและดนั ลำ� ตวั กลบั ขนึ้ ไป
เหยยี ดตรงอยใู่ นทา่ เดมิ นบั เปน็ 1 ครงั้ ปฏบิ ตั ติ อ่ เนอ่ื งกนั จนครบ 30 วนิ าที โดยใหผ้ รู้ บั การทดสอบ
พยายามท�ำให้ได้จำ� นวนครั้งมากทส่ี ดุ

ระเบียบการทดสอบ

1. ผทู้ ดสอบจะตอ้ งสงั เกตลำ� ตวั ของผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ตอ้ งใหเ้ หยยี ดตรงเปน็ แนวเดยี ว
กบั สะโพก และตน้ ขา แขนทง้ั สองอยใู่ นทา่ เหยยี ดขน้ึ ใหต้ งึ กอ่ นจะยบุ ขอ้ ศอกใหง้ อ เพอ่ื การดนั พน้ื
ขนึ้ - ลง
2. เขา่ ทง้ั สองขา้ งของผรู้ บั การทดสอบจะตอ้ งชดิ ตดิ กนั (หนา้ ขาสว่ นบนตอ้ งไมส่ มั ผสั พนื้
และลำ� ตัวต้องไม่แอน่ ) และงอเขา่ ยกปลายเท้าขนึ้ ใหล้ อยพ้นพนื้ และไขว้กนั อยู่ตลอดเวลา
3. ในขณะท่ียุบข้อศอกลงดันพ้ืน บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการทดสอบจะต้องลดต่�ำ
จนตน้ แขนทงั้ สองข้างขนานกบั พื้น และล�ำตวั จะต้องตรงตลอดเวลา
4. ผรู้ บั การทดสอบสามารถหยดุ พกั ระหวา่ งการทดสอบและสามารถปฏบิ ตั ติ อ่ ไดต้ ามเวลา
ทเ่ี หลือ

การบนั ทกึ คะแนน

บันทึกจ�ำนวนครั้งท่ที ำ� ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งภายในเวลา 30 วินาที โดยให้ผู้เข้ารับการทดสอบ
ปฏบิ ัตเิ พียงคร้ังเดยี ว

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 15

ลกุ -นั่ง 60 วินาที (60 Seconds Sit Ups)

วัตถุประสงค์การทดสอบ

ทดสอบความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อทอ้ ง

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

คา่ ความเชือ่ มน่ั 0.89
ค่าความเท่ยี งตรง 0.92

อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทดสอบ

1. เบาะฟองน�ำ้ หรอื โฟมรองพืน้
2. นาฬกิ าจับเวลา 1/100 วนิ าที

16 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วิธกี ารปฏบิ ตั ิ

1. ให้ผู้รับการทดสอบนอนหงาย ชันเข่าขึ้นให้เข่าทั้งสองงอเป็นมุมประมาณ 90 องศา
ฝ่าเท้าทั้งสองข้างวางราบกับพ้ืนโดยวางชิดกัน ให้ส้นเท้าท้ังสองข้างวางเป็นเส้นตรงในแนว
ระดับเดยี วกัน แขนทง้ั สองเหยียดตรงในทา่ คว่�ำมือวางแนบไวข้ า้ งล�ำตัว
2. ใหผ้ ู้ช่วยทดสอบนง่ั อย่ทู ป่ี ลายเทา้ ของผรู้ ับการทดสอบ และใช้เขา่ ทงั้ สองวางแนบชิด
กบั เท้าทง้ั สองของผูร้ ับทดสอบ ใชม้ อื ท้งั สองจับยดึ ไวท้ ่ีบริเวณใต้ขอ้ พบั เขา่ ของผรู้ ับการทดสอบ
ป้องกนั ไม่ให้ลำ� ตวั ขา และเท้าเคลอื่ นที่
3. เม่ือไดย้ นิ สัญญาณ “เร่มิ ” ใหผ้ ู้รับการทดสอบยกล�ำตวั ข้ึนเคล่ือนไปสทู่ า่ น่ังกม้ ล�ำตวั
พร้อมกับยกแขนท้ังสองข้างเหยียดตรงไปข้างหน้าให้ปลายนิ้วมือไปแตะที่เส้นตรงที่อยู่ในแนว
ระดบั เดยี วกบั สน้ เทา้ ทง้ั สองขา้ ง แลว้ นอนลงกลบั สทู่ า่ เรม่ิ ตน้ ใหส้ ะบกั ทง้ั สองขา้ งแตะพน้ื นบั เปน็
1 ครงั้ ปฏบิ ตั ติ อ่ เนอ่ื งกนั จนครบเวลา 60 วนิ าที โดยใหผ้ รู้ บั การทดสอบพยายามทำ� ใหไ้ ดจ้ ำ� นวนครงั้
มากทสี่ ุด
4. ผรู้ บั การทดสอบสามารถหยดุ พกั ระหวา่ งการทดสอบและสามารถปฏบิ ตั ติ อ่ ไดต้ ามเวลา
ท่ีเหลือผลการทดสอบใหน้ บั จ�ำนวนครั้งที่ทำ� ไดอ้ ย่างถกู ต้องต่อเน่ือง

ระเบยี บการทดสอบ

ในการทดสอบจะไมน่ บั จ�ำนวนครัง้ ในกรณีต่อไปนี้
1. มือท้ังสองไม่ได้วางแตะท่ีพน้ื ข้างลำ� ตวั เหมอื นกับทา่ เร่มิ ตน้
2. ในขณะกลับลงไปสทู่ ่าเร่มิ ตน้ สะบักทง้ั สองขา้ งไมแ่ ตะพ้นื
3. ปลายน้วิ มอื ทงั้ สองขา้ งย่ืนไปแตะไม่ถงึ เส้นท่อี ยู่แนวเดียวกบั ระดับสน้ เทา้ ได้
4. ผรู้ บั การทดสอบใชม้ อื ในการชว่ ยยกตวั ขน้ึ เชน่ ใชม้ อื ดงึ หรอื เกย่ี วสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย
หรอื กางเกงท่ีสวมใส่หรอื ใช้ส่วนใดส่วนหนึง่ ของแขนดันพืน้ เพื่อช่วยในการยกล�ำตัวขึ้น

การบนั ทึกคะแนน

บนั ทกึ จำ� นวนครง้ั ทป่ี ฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งในเวลา 60 วนิ าที โดยใหผ้ รู้ บั การทดสอบปฏบิ ตั ิ
เพยี งคร้งั เดยี ว

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 17

ยืนยกเขา่ ข้ึนลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down)

วัตถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ

เพอื่ ประเมนิ ความอดทนของระบบหวั ใจและไหลเวยี นเลอื ด

คณุ ภาพของแบบทดสอบ

ค่าความเช่อื มัน่ 0.89
ค่าความเทีย่ งตรง 0.88

อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการทดสอบ

1. นาฬกิ าจับเวลา 1/100 วินาที
2. ยางหรือเชอื กยาว สำ� หรับกำ� หนดระยะความสงู ของการยกเขา่

18 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

วิธกี ารปฏบิ ัติ

1. ให้ผู้รับการทดสอบเตรียมพร้อมในท่ายืนตรง เท้าสองข้างห่างกันเท่ากับความกว้าง
ของชว่ งสะโพกของผู้รบั การทดสอบ ใหม้ ือทั้งสองข้างจับไว้ที่เอว
2. ก�ำหนดความสูงส�ำหรับการยกเข่าของผู้รับการทดสอบแต่ละคน โดยก�ำหนดให้
ผู้รับการทดสอบยกเข่าข้ึนสูงให้ต้นขาขนานกับระดับพื้น (เข่างอท�ำมุมกับสะโพก 90 องศา)
ให้ใชย้ างเสน้ หรอื เชือกขงึ ไว้เพอื่ เปน็ จดุ อ้างอิงระดบั ความสงู สำ� หรบั การยกเขา่ ในแตล่ ะครงั้
3. เม่ือได้ยินสัญญาณ “เร่ิม” ให้ผู้รับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงจนแตะกับยางท่ีขึงไว้
(ต้นขาขนานกับระดับพื้น ก่ึงกลางต้นขาสัมผัสกับแนวยางเส้นหรือเชือกที่ขึงไว้) แล้ววางลง
สลับกบั การยกขาอีกข้างขนึ้ ปฏิบัติเช่นเดียวกนั นับเป็น 1 ครง้ั ให้ยกเขา่ ขนึ้ - ลง สลบั ขวา - ซา้ ย
อยู่กับที่ (ห้ามว่ิง) ปฏิบัติต่อเนื่องกันไปจนครบ 3 นาที โดยให้ผู้รับการทดสอบพยายามยก
ใหไ้ ด้จำ� นวนครัง้ มากท่สี ุดเทา่ ทจี่ ะทำ� ได้

ระเบียบการทดสอบ

การทดสอบจะไมส่ มบูรณ์ในกรณดี งั ตอ่ ไปนี้
1. ผ้รู บั การทดสอบยกเขา่ แต่ละขา้ งสูงไมถ่ ึงระดับแนวยางเส้นหรือเชือกทขี่ ึงก�ำหนดไว้
2. ผเู้ ขา้ รับการทดสอบใช้การวงิ่ ยกเขา่ สูงแทน

การบนั ทกึ คะแนน

บันทึกจ�ำนวนคร้ังที่สามารถยกเข่าถึงระดับความสูงท่ีก�ำหนดให้ ภายในเวลา 3 นาที
โดยนบั จ�ำนวนครัง้ จากขาทยี่ กทีหลังสมั ผสั พ้ืน ให้ผรู้ บั การทดสอบปฏบิ ตั เิ พยี งครง้ั เดียว

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 19

แบบบันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สาํ หรบั นักเรียน ระดับมัธยมศกึ ษา (อายุ 13 - 18 ป)

ชอ่ื -สกลุ ............................................................................................ เพศ ชาย หญงิ
วัน เดือน ป เกิด ..................../.................../....................... อายุ ..............ป ....... เดอื น..............
อาชีพ.....................................................................................................................................
โรคประจาํ ตวั ไมมี มี (โปรดระบุ) ...............................................................................

รายการทดสอบ ผลการทดสอบ
ชีพจรขณะพกั (ครัง้ /นาท)ี
ความดันโลหิต (มม.ปรอท)
1. นา้ํ หนกั (กิโลกรัม)
2. สว นสูง (เมตร)
3. ดัชนมี วลกาย (กิโลกรมั /ตารางเมตร)
4. น่ังงอตัวไปขางหนา (เซนตเิ มตร)
5. ดนั พน้ื ประยุกต 30 วนิ าที (ครัง้ )
6. ลุกนั่ง 60 วินาที (ครง้ั )
7. ยนื ยกเขาขนึ้ ลง 3 นาที (ครงั้ )

ลงชอ่ื .............................................................
เจาหนา ทผ่ี ทู ดสอบ

วนั ท่ที ําการทดสอบ............/............../..............

20 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

ข้อปฏบิ ตั ิในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ส�ำหรับนักเรยี น

1. ครูต้องเตรียมเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และสถานที่ ท่ีจะใช้ในการทดสอบ จะต้องส�ำรวจ
และเตรียมการให้พร้อม โดยค�ำนึงถึงทั้งจ�ำนวน การมีมาตรฐาน และคุณภาพของเคร่ืองมือ
ท่ีใชใ้ นการทดสอบ รวมทั้งความปลอดภยั อปุ กรณแ์ ละสถานท่ี
2. การจัดเตรียมแบบฟอร์มหรือแบบบันทึกผลการทดสอบท่ีจะใช้ในการบันทึกข้อมูล
ทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบเปน็ สงิ่ สำ� คญั มากทคี่ รจู ะตอ้ งเตรยี มและเขยี นชอ่ื นกั เรยี นไวใ้ หค้ รบ พรอ้ มทง้ั
ทำ� การชง่ั นำ�้ หนกั และวดั สว่ นสงู ไวล้ ว่ งหนา้ กอ่ นทำ� การทดสอบจรงิ 1 - 2 สปั ดาห์ เมอื่ ดำ� เนนิ การ
ทดสอบครกู จ็ ะสามารถบนั ทึกข้อมลู ได้ทันทีโดยไมต่ ้องเสยี เวลา
3. ให้ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้กับนักเรียนทุกคน หรือการตรวจสุขภาพโดยแพทย์
หากนกั เรยี นมปี ญั หาสขุ ภาพหรอื สภาพรา่ งกายทสี่ ง่ ผลตอ่ การทดสอบสมรรถภาพ อาทิ ปว่ ยเปน็
โรคที่เปน็ อันตรายเม่อื ออกกำ� ลงั กาย เชน่ โรคหวั ใจ หอบหืด หรือเปน็ โรคท่ีแพทย์ไดว้ ินิจฉยั แล้ว
ว่าไม่สามารถออกก�ำลังกายได้ครูต้องยกเว้นการทดสอบ หรือหากจะทดสอบก็ให้ท�ำในรายการ
ท่ีไม่ส่งผลท่ีเป็นอันตรายตอ่ สขุ ภาพ เชน่ รายการวัดความออ่ นตวั เปน็ ตน้
4. ครจู ะต้องตรวจเครือ่ งแต่งกายของนกั เรยี นผ้เู ข้ารับการทดสอบใหม้ คี วามพร้อม และ
กอ่ นการทดสอบสมรรถภาพทางกายใหน้ กั เรยี นทกุ คนอบอนุ่ รา่ งกาย โดยการยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้
แลว้ เพม่ิ การวง่ิ อยกู่ บั ท่ี หมนุ แขน เหยยี ดแขน บดิ ลำ� ตวั หรอื เคลอื่ นไหวแขน ขา ลำ� ตวั โดยวธิ อี น่ื ๆ
ทง้ั นเ้ี พ่อื เป็นการกระตนุ้ ให้ระบบตา่ งๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกลา้ มเนอ้ื ใหม้ คี วามพรอ้ ม
หลงั จากการปฏบิ ตั อิ บอนุ่ รา่ งกายเสรจ็ สนิ้ ควรใชเ้ วลาสนั้ ๆ ในการอธบิ ายวตั ถปุ ระสงคใ์ หน้ กั เรยี น
เขา้ ใจวา่ การทดสอบนเ้ี ปน็ การวดั และประเมนิ ผลความสามารถของเดก็ แตล่ ะคน ไมใ่ ชก่ ารแขง่ ขนั กนั
ดังนัน้ นกั เรียนทกุ คนจะปฏบิ ัตใิ หด้ ีท่ีสดุ เพ่อื จะไดท้ ราบขอ้ มลู สขุ ภาพทถี่ ูกต้องของตนเอง
5. วางแผนการดำ� เนนิ งานในการทดสอบสมรรถภาพทางกายใหเ้ รยี บรอ้ ย จะตอ้ งกำ� หนด
รปู แบบและลำ� ดบั ขน้ั ตอนการทดสอบในแตล่ ะรายการ เชน่ การกำ� หนดสถานทที่ ดสอบ การกำ� หนด
ลำ� ดบั รายการทจ่ี ะท�ำการทดสอบ การน�ำผรู้ ับการทดสอบเขา้ ออกฐาน เพ่ือปอ้ งกันมใิ ห้เกดิ การ
สับสนวุ่นวาย การเตรียมการในลักษณะน้ีจะช่วยท�ำให้การด�ำเนินการทดสอบเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพไม่เสียเวลา ไม่สับสน ข้อมูลที่ได้จากการทดสอบก็จะมีความความแม่นตรง
และเช่อื ถือได้

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 21

6. กอ่ นทำ� การทดสอบสมรรถภาพทางกายในแตล่ ะรายการ ครตู อ้ งสาธติ วธิ กี ารทดสอบ
ให้นักเรียนดูและให้นักเรียนผู้รับการทดสอบได้ทดลองปฏิบัติในรายการนั้น ๆ ก่อน แล้วให้
ซกั ถามในกรณที มี่ ขี อ้ สงสยั และอธบิ ายการบนั ทกึ คะแนนในแตล่ ะรายการดว้ ย สำ� หรบั รายละเอยี ด
ของการทดสอบในแต่ละรายการนั้นก็ให้ปฏิบัติตามวิธีทดสอบท่ีได้บอกรายละเอียดไว้แล้ว
ในรายการทดสอบน้นั ๆ
7. ในระหว่างท�ำการทดสอบสมรรถภาพทางกาย จะไม่อนุญาตใหเ้ ด็กนักเรียนทเ่ี ขา้ รบั
การทดสอบคนอืน่ ๆ ท่ียงั ไม่ถึงรอบทดสอบของตนเองไปทำ� กิจกรรมการออกกำ� ลังกายหรือเลน่
อน่ื ๆ นอกเหนอื จากการทดสอบในรายการนน้ั ๆ เพราะการออกกำ� ลงั กายและการไปเลน่ ของเดก็
จะมผี ลต่อข้อมูลทไ่ี ด้
8. หากจ�ำเป็นจะต้องมีผู้ช่วยในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย จะต้องมั่นใจว่า
ได้ท�ำความเข้าใจเก่ียวกับรายละเอียดและวิธีด�ำเนินการของการทดสอบในแต่ละรายการกับ
ผชู้ ว่ ยทดสอบเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ ทงั้ นเ้ี พอื่ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ และทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู
ท่ถี กู ต้อง
9. ควรมีการให้ความรู้เบื้องต้นด้านการปฐมพยาบาลแก่ผู้ช่วยทดสอบด้วย เพราะหาก
เกิดอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บของผู้รับการทดสอบในระหว่างท�ำการทดสอบ จะได้ช่วยแก้ปัญหา
ไม่ให้ส่งผลในระดับความรุนแรงเพ่ิมข้ึน และในระหว่างการทดสอบหากเด็กได้รับอุบัติเหตุจาก
การทดสอบ หรอื มอี าการผดิ ปกตขิ องรา่ งกายในรายการใดรายการหนง่ึ ครจู ะต้องให้เด็กคนนัน้
หยดุ ทำ� การทดสอบทนั ทแี ลว้ หาเวลามาทำ� การทดสอบเพม่ิ เตมิ ภายหลงั เมอื่ เดก็ หายเปน็ ปกตดิ แี ลว้
10. สง่ิ ทจี่ ะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ คอื หากครผู สู้ อนปฏบิ ตั อิ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ กจ็ ะตอ้ งเลอื กปฏบิ ตั ิ
วธิ เี ดยี วกนั กบั การทดสอบทกุ ครง้ั เนอื่ งจากแบบทดสอบมจี ำ� นวนหลายรายการ หากสถานศกึ ษา
มนี กั เรยี นจำ� นวนมากจะมปี ญั หาในการใชเ้ วลาทดสอบ ครผู สู้ อนอาจจะแบง่ การทดสอบออกเปน็
2 วัน หรืออาจแบ่งฐานการทดสอบ โดยแบ่งฐานหรือรายการทดสอบที่มีความหนักสลับเบา
ไม่ควรให้มรี ายการที่มคี วามหนกั หรือความเบาไวใ้ นวนั เดยี วกัน ควรมกี ารแบง่ ฐานดังนี้ วนั ที่ 1
ท�ำการทดสอบในรายการ วัดความอ่อนตัว กับลุกน่ัง 60 วินาที และวันท่ี 2 ท�ำการทดสอบ
ในรายการ ดันพ้ืนประยุกต์ 30 วินาที กบั ยืนยกเขา่ ขนึ้ ลง 3 นาที

22 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับนกั เรียน
ระดบั มัธยมศกึ ษา (อายุ 13 - 18 ปี)

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 23

24 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรับมัธยมศกึ ษา (อายุ 13 - 18 ปี)

อายุ เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการดัชนมี วลกาย (Body Mass Index : BMI) / (กิโลกรัม / ตารางเมตร)
(ปี)
เพศชาย เพศหญงิ อ้วน
ผอมมาก ผอม สมส่วน ท้วม อ้วน ผอมมาก ผอม สมสว่ น ทว้ ม
13 12.02 ลงมา 12.03 - 17.42 17.43 - 21.60 21.61 - 25.76 25.77 ขน้ึ ไป 12.74 ลงมา 12.75 - 17.36 17.37 - 21.64 21.65 - 25.85 25.86 ขน้ึ ไป

14 12.53 ลงมา 12.54 - 17.65 17.66 - 21.95 21.96 - 26.26 26.27 ขนึ้ ไป 13.19 ลงมา 13.20 - 18.05 18.06 - 22.93 22.94 - 26.91 26.92 ขน้ึ ไป

15 12.72 ลงมา 12.73 - 18.65 18.66 - 23.24 23.25 - 27.41 27.42 ข้ึนไป 13.65 ลงมา 13.66 - 19.65 19.66 - 23.80 23.81 - 27.89 27.90 ขนึ้ ไป

16 13.30 ลงมา 13.31 - 18.57 18.58 - 23.60 23.61 - 28.20 28.21 ขน้ึ ไป 13.88 ลงมา 13.89 - 20.06 20.07 - 24.34 24.35 - 28.47 28.48 ขึ้นไป

17 13.88 ลงมา 13.89 - 19.06 19.07 - 23.87 23.88 - 28.69 28.70 ขึ้นไป 13.92 ลงมา 13.93 - 19.81 19.82 - 24.44 24.45 - 28.91 28.92 ข้นึ ไป

18 13.97 ลงมา 13.98 - 18.97 18.98 - 23.86 23.87 - 28.73 28.74 ขึ้นไป 14.18 ลงมา 14.19 - 19.85 19.86 - 24.62 24.63 - 29.40 29.41 ขึ้นไป

สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า, 2562

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับมัธยมศึกษา (อายุ 13 - 18 ปี)

อายุ เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการนัง่ งอตวั ไปขา้ งหนา้ (Sit and Reach) / (เซนติเมตร)
)ป(ี ตำ่� มาก
เพศชาย ดีมาก ตำ่� มาก เพศหญงิ ดี ดมี าก
13 5 ลงมา ต่ำ� ปานกลาง ดี ต�่ำ ปานกลาง
14 5 ลงมา 23 ขนึ้ ไป
15 7 ลงมา 6 - 10 11 - 15 16 - 20 21 ขน้ึ ไป 5 ลงมา 6 - 11 12 - 16 17 - 22 24 ขึ้นไป
16 7 ลงมา 27 ขน้ึ ไป
17 7 ลงมา 6 - 11 12 - 16 17 - 22 23 ขนึ้ ไป 7 ลงมา 8 - 13 14 - 18 19 - 23 28 ขึน้ ไป
18 8 ลงมา 8 - 13 14 - 19 20 - 24 25 ขน้ึ ไป 7 ลงมา 8 - 14 15 - 20 21 - 26 29 ข้นึ ไป
8 - 13 14 - 19 20 - 25 26 ขึ้นไป 8 ลงมา 9 - 14 15 - 21 22 - 27 30 ขน้ึ ไป
8 - 13 14 - 20 21 - 27 28 ขึ้นไป 8 ลงมา 9 - 15 16 - 21 22 - 28
9 - 15 16 - 21 22 - 28 29 ข้นึ ไป 9 ลงมา 10 - 15 16 - 22 23 - 29

สำ� นกั วิทยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า, 2562

25

26 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับมธั ยมศึกษา (อายุ 13 - 18 ป)ี

อายุ เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการดนั พน้ื ประยุกต์ 30 วนิ าที (30 Seconds Modified Push Ups) / (คร้ัง)
)ป(ี
เพศชาย ดมี าก ต่�ำมาก เพศหญิง ดี ดมี าก
ต�ำ่ มาก ต�ำ่ ปานกลาง ดี ต่ำ� ปานกลาง

13 11 ลงมา 12 - 19 20 - 26 27 - 33 34 ข้ึนไป 10 ลงมา 11 - 17 18 - 23 24 - 29 30 ขน้ึ ไป

14 13 ลงมา 14 - 20 21 - 27 28 - 35 36 ขึ้นไป 11 ลงมา 12 - 17 18 - 24 25 - 30 31 ข้นึ ไป
15 14 ลงมา 15 - 22 23 - 29 30 - 37 38 ขน้ึ ไป 12 ลงมา 13 - 19 20 - 26 27 - 33 34 ขึ้นไป
16 15 ลงมา 16 - 22 23 - 29 30 - 36 37 ขน้ึ ไป 14 ลงมา 15 - 21 22 - 28 29 - 36 37 ขน้ึ ไป
17 16 ลงมา 17 - 24 25 - 32 33 - 40 41 ขน้ึ ไป 15 ลงมา 16 - 22 23 - 29 30 - 36 37 ข้ึนไป
18 18 ลงมา 19 - 25 26 - 32 33 - 40 41 ขึ้นไป 18 ลงมา 19 - 24 25 - 31 32 - 37 38 ข้ึนไป

สำ� นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า, 2562

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรบั มธั ยมศึกษา (อายุ 13 - 18 ป)ี

อายุ เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการลุก-นง่ั 60 วินาที (60 Seconds Sit Ups) / (ครง้ั )
)ป(ี ตำ�่ มาก
เพศชาย ดมี าก ตำ่� มาก เพศหญงิ ดี ดมี าก
13 18 ลงมา ต่�ำ ปานกลาง ดี ต่ำ� ปานกลาง
14 19 ลงมา 41 ขึ้นไป
15 20 ลงมา 19 - 27 28 - 37 38 - 46 47 ข้นึ ไป 15 ลงมา 16 - 23 24 - 32 33 - 40 43 ขึ้นไป
16 21 ลงมา 45 ขึ้นไป
17 22 ลงมา 20 - 29 30 - 38 39 - 48 49 ขนึ้ ไป 15 ลงมา 16 - 24 25 - 33 34 - 42 47 ขน้ึ ไป
18 22 ลงมา 21 - 30 31 - 39 40 - 49 50 ขนึ้ ไป 18 ลงมา 19 - 26 27 - 35 36 - 44 48 ขึ้นไป
22 - 31 32 - 40 41 - 49 50 ขึ้นไป 19 ลงมา 20 - 28 29 - 37 38 - 46 49 ขึ้นไป
23 - 31 32 - 41 42 - 50 51 ขึน้ ไป 21 ลงมา 22 - 30 31 - 39 40 - 47
23 - 31 32 - 41 42 - 51 52 ข้ึนไป 22 ลงมา 23 - 31 32 - 40 41 - 48

สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา, 2562

27

28 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรับมธั ยมศึกษา (อายุ 13 - 18 ปี)

อายุ เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการยนื ยกเข่าข้นึ ลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down) / (ครงั้ )
)ป(ี
เพศชาย ดมี าก ต่�ำมาก เพศหญงิ ดี ดีมาก
ต่�ำมาก ต�ำ่ ปานกลาง ดี ต่�ำ ปานกลาง

13 98 ลงมา 99 - 123 124 - 149 150 - 168 169 ขน้ึ ไป 96 ลงมา 97 - 117 118 - 139 140 - 151 152 ขึ้นไป

14 104 ลงมา 105 - 129 130 - 154 155 - 170 171 ขน้ึ ไป 100 ลงมา 101 - 123 124 - 146 147 - 159 160 ขึน้ ไป
15 104 ลงมา 105 - 130 131 - 155 156 - 172 173 ขน้ึ ไป 101 ลงมา 102 - 124 125 - 147 148 - 164 165 ข้นึ ไป
16 106 ลงมา 107 - 131 132 - 156 157 - 175 176 ขน้ึ ไป 102 ลงมา 103 - 125 126 - 149 150 - 171 172 ขึน้ ไป
17 108 ลงมา 109 - 135 136 - 161 162 - 180 181 ขนึ้ ไป 104 ลงมา 105 - 129 130 - 153 154 - 174 175 ขึ้นไป
18 108 ลงมา 109 - 135 136 - 162 163 - 187 188 ขน้ึ ไป 107 ลงมา 108 - 131 132 - 156 157 - 180 181 ขน้ึ ไป

ส�ำนกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, 2562

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า. 2560. แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6
(พ.ศ.2560 - 2564). พมิ พค์ รัง้ ที่ 1. ส�ำนกั งานกิจการโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผา่ นศกึ , กรงุ เทพฯ.
คณะกรรมการสง่ เสริมกฬี าและการออกก�ำลงั กายเพื่อสุขภาพในสถาบันการศึกษา ส�ำนกั งาน
กองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน
สมรรถภาพทางกาย ท่ีสมั พนั ธ์กับสุขภาพส�ำหรบั เด็กไทย อายุ 7-18 ป.ี พมิ พค์ รัง้ ที่ 2.
พ.ี เอส.ปริน้ ท์, นนทบุร.ี
วลั ลยี ์ ภทั โรภาส, สพุ ติ ร สมาหโิ ต และคณะ. 2553. เกณฑม์ าตรฐานและการพฒั นา โปรแกรม
คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ประเมนิ ผลสมรรถภาพทางกายสำ� หรบั เดก็ ไทย ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา
อายุ 4 - 6 ป.ี รายงานการวจิ ัย, พ.ี เอส.ปรน้ิ ท์, นนทบรุ ี.
นฤมล พงศ์นธิ สิ วุ รรณ. 2545. การศกึ ษาเกณฑป์ กติสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ
ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาอายุ 10 - 12 ป.ี วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท,
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. กรุงเทพฯ.
ศราวธุ รุ่งเรือง. 2545. การศึกษาเกณฑป์ กติสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษา อายุ 13 - 15 ป.ี วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ.
สพุ ิตร สมาหิโต. 2541. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย KASETSART Youth Fitness Test.
พรานนกการพมิ พ,์ กรงุ เทพฯ.
______2548 . การสรา้ งแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพสำ� หรบั ผสู้ งู อาย.ุ
ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.
______2549. การสรา้ งแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายทสี่ มั พันธ์
กบั สขุ ภาพส�ำหรับเดก็ ไทย อายุ 7 - 18 ป.ี รายงานการวิจยั , พี.เอส.ปริน้ ท,์ นนทบรุ ี.
สำ� นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . 2554. แผนยทุ ธศาสตร์
สุขภาพดวี ิถชี ีวิตไทย พ.ศ. 2554-2563. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. โรงพมิ พ์สำ� นกั พระพทุ ธศาสนา,
กรุงเทพฯ.
สำ� นกั พฒั นาการพลศกึ ษา สขุ ภาพ และนนั ทนาการ กรมพลศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2541.
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นประถมศกึ ษา ระดบั อายุ 7 – 9 ป.ี
รายงานการวจิ ัย, โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด, กรงุ เทพฯ.

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 29

ส�ำนกั งานพฒั นาการกฬี าและนันทนาการ. 2551. เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของนักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา อายุ 7 - 12 ป.ี โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั , กรงุ เทพฯ.
ส�ำนักวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา. 2555.
คมู่ อื แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สำ� หรับเดก็ ไทย
อายุ 4 - 6 ปี. ส�ำนักพิมพส์ มั ปชญั ญะ, นนทบุร.ี
สำ� นักวทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา. 2555.
คู่มอื แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย สำ� หรับเดก็ ไทย
อายุ 7 - 18 ป.ี ส�ำนักพิมพ์สัมปชญั ญะ, นนทบุร.ี
สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า. 2559.
คมู่ อื แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรบั ประชาชน
อายุ 19 - 59 ป.ี พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. บรษิ ทั โอเคแมส จ�ำกดั , กรุงเทพฯ.
ส�ำนักวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า. 2559.
คู่มือแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สำ� หรับผสู้ งู อายุ
อายุ 60 - 89 ป.ี พมิ พ์ครงั้ ที่ 2. บริษทั โอเคแมส จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.
แสงเดือน ทองเคร่ืองหยอด. 2545. เกณฑ์ปกตสิ มรรถภาพทางกายของนกั เรยี น
ช้นั ประถมศึกษา ปที ี่ 4 ถงึ ปีที่ 6 อ�ำเภอหว้ ยกระเจา จงั หวดั กาญจนบรุ .ี วทิ ยานพิ นธ์
ปรญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ กรงุ เทพฯ.
American Collage of Sport Medicine. 2003. ACSM Fitness Book. 3rd edition.
Human Kinetics, Champaign, IL.
American Collage of Sport Medicine. 2010. ACSM’s Guidelines for Exercise
Testing and Prescription. 8th edition. Lippincott Williams & Wilkins,
Philadelphia, PA.
American College of Sports Medicine. 2014. ACSM’s Health-Related Physical
Fitness Assessment Manual. 4th Edition. Wolters Kluwer Health,
Philadelphia, PA.
American Collage of Sport Medicine. 2014. ACSM’s Exercise for Older Adults.
1st Edition.Lippincott Williams & Wilkins, Philadelphia, PA.
American College of Sports Medicine. 2017. ACSM’s Guidelines for Exercise
Testing and Prescription. 10th Edition. Wolters Kluwer Health,
Philadelphia, PA.

30 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

Charles Corbin. 2010. Fitness for Life: Elementary School Guide for Wellness
Coordinators. Human Kinetics, Champaign, IL.
Edward, T.H. and Frank, B.D. 1992. Health Fitness Instructor’s Handbook. 2nd ed.
Human Kinetics, Champaign, IL.
Morrow Jr, James R. et al. 2011. Measurement and Evaluation in Human
Performance. 5th Edition. Human Kinetics, Champaign, IL.
Kirkendall, D.R., Gurber, J.J. and Johnson, R.E. 1987. Measurement and
Evaluation for Physical Education. 2nd ed. Brown, IA.
Rikli, R.E. and Jones, C.J. 2013. Senior Fitness Test Manual. 2nd Edition.
Human Kinetics, Champaign, IL.
Safrit, M.J. 1990. Introduction of Measurement in Physical Education and
Exercise Science. 2nd Edition. Mosby Company, Missouri.
Samahito, S. 1998. The Use of Kasetsart Motor Fitness Test for Establishing
Norms for 6 Year Old Children; 13th Asian Game Scientific Congress:
Congress Proceeding. New Thai Mitre Publishing Company, Bangkok,
Thailand.
Samahito, S. et al. 2007. Construction of Health Related Physical Fitness Test
and Norms for Thai Children of Age 7 - 18, Proceedings of Universiade
Bangkok.
_____. 2007 FISU Conference; University Sport: Sport Creates Man… Man
Develops Nationhood. Bangkok, Thailand.
Vivian, H. 2006. Advanced Fitness Assessment and Exercise Prescription.
5thedition. Human Kinetics, Champaign, IL.
Vivian, H. and Ann, G. 2014. Advanced Fitness Assessment and Exercise
Prescription. 7th Edition. Human Kinetics, Champaign, IL.

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 31

คณะท�ำงาน
การจดั ทำ� แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

สำ� หรับเยาวชน และประชาชนไทย ของกรมพลศกึ ษา

ทีป่ รึกษา ผทู้ รงคณุ วุฒิพิเศษ คณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา
อธบิ ดีกรมพลศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
รองอธบิ ดีกรมพลศกึ ษา ผู้ทรงคุณวฒุ พิ เิ ศษ คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
หวั หนา้ คณะ ผู้ตรวจราชการกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เพิม่ ศักด์ิ สุรยิ จนั ทร์ ผู้อำ� นวยการส�ำนักวทิ ยาศาสตร์การกฬี า
กรมพลศกึ ษา
คณะท�ำงาน ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นวิทยาศาสตร์การกฬี า
1. รศ.ดร.สพุ ิตร สมาหโิ ต กรมพลศึกษา
คณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา
2. รศ.วลั ลยี ์ ภัทโรภาส มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
คณะศกึ ษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. นางสาวดารณี ลิขติ วรศกั ด ์ิ ผอู้ �ำนวยการกล่มุ พฒั นาเทคโนโลยีทางการกีฬา
4. นางสาววนิดา พนั ธ์สอาด ผ้อู ำ� นวยการกล่มุ เวชศาสตร์การกฬี า
ผู้อ�ำนวยการกลุม่ พัฒนาสมรรถภาพทางกาย
5. นางสาวชัชฎาพร พทิ กั ษ์เสถยี รกลุ ผู้อำ� นวยการกลมุ่ วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ
รักษาการผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ วจิ ัยและพัฒนา
6. ดร.กภ.อำ� พร ศรียาภัย สำ� นักวทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา

7. ผศ.ดร.ศริ ิชัย ศรพี รหม

8. นางสาวเนาวรัตน์ เหลืองรัตนเจริญ
9. นางสาวนสุ รา ปภังกรกจิ
10. นายสิรวิชญ์ ณิชาโชตสิ ฤษฏ์
11. นางสาวฉัตรดาว อนกุ ลู ประชา
12. นางไอย์นิชากรณ ์ พนั ธง์ ามตา

32 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

13. ผศ.ดร.สิรพิ ร ศศมิ ณฑลกุล คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
14. ดร.สรายทุ ธ ์ นอ้ ยเกษม คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
15. อาจารยน์ นั ทวัน เทยี นแกว้ คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
16. ดร.พรพล พมิ พาพร คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
17. ดร.อจั ฉรียา กสิยะพัท คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่
18. อาจารย์ปรญิ ญา ส�ำราญบ�ำรุง คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
19. อาจารยพ์ งศธร ศรีทับทิม คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่
20. ผศ.คมกรชิ เชาวพ์ านชิ คณะศกึ ษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
21. ผศ.ดร.ธารนิ ทร์ ก้านเหลือง คณะศกึ ษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
22. ผศ.ดร.ต่อศักดิ์ แกว้ จรสั วไิ ล คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
23. ดร.สพุ รทพิ ย์ พูพะเนยี ด คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
24. ดร.ธีรนนั ท ์ ตันพานชิ ย ์ คณะศกึ ษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
25. ดร.ศศธิ ร ศรพี รหม คณะศกึ ษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
26. อาจารยน์ ติ ยา เรืองมาก คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมูบ่ ้านจอมบึง
27. ผศ.ดร.กาญจนา กาญจนประดิษฐ์ สถาบนั การพลศกึ ษา วิทยาเขตกระบ่ี
28. ผศ.ดร.พัชร ี ทองค�ำพานิช สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี
29. ดร.สพุ ชิ ชา วงศ์จันทร ์ กองกจิ กรรมทางกายเพอื่ สุขภาพ กรมอนามัย
30. ดร.ปุณยวีร ์ วชริ วรรณาภาส การกีฬาแห่งประเทศไทย
31. นายอรรคพงษ ์ ไมตรจี ิตต ์ ส�ำนกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา
32. นางณัฏฐวี แสงอรุณ สำ� นักวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา

ของนกั เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายุ 13 - 18 ปี 33

32. นางณฏั ฐว ี แสงอรุณ ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
33. นายภุชงค์ บญุ รกั ษ์ ส�ำนกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา
34. นางสาวสาวิตร ี กล่ินหอม ส�ำนักวทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
35. นายชลิตพล สืบใหม่ สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา
36. นายอัชรฐั ยงทวี สำ� นักวทิ ยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา
37. นายธิติวฒั น ์ นอ้ ยคำ� เมอื ง สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
38. นายศิวณตั ิ เพชรย้อย สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา
39. นางสาวทพิ ย์วมิ ล สงิ ห์เอีย่ ม สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา
40. นายสราวธุ แก้วไพล สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา
41. นายณพล หอมจนั ทร ์ ส�ำนกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา

34