การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

คำสั่งเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (if-else)

                จากคำสั่ง if ที่ผ่านมาจะใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ใช้บอกว่าจะเลือกทำหรือไม่ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำตามคำสั่งหรือ statement หลัง if ในกรณีที่คอมพิวเตอร์จะต้องเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่งโดยตรวจสอบเงื่อนไขที่กำหนด จะใช้คำสั่ง if-else โดยถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่งหลัง if แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะทำคำสั่งหลัง else โดยมีรูปแบบดังนี้

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

         ตัวอย่าง โปรแกรมคำนวณราคาต้นทุนสินค้า ถ้าหากผลิตมากกว่า 10 ชิ้นจะราคาชิ้นละ 7 บาท แต่ถ้าไม่เกิน 10 ชิ้นจะราคาชิ้นละ 8 บาท

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณต้นทุนสินค้าด้วยคำสั่ง if-else
                    ตัวอย่าง โปรแกรมตรวจสอบว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ ซึ่งทำได้โดยเอา 2 ไปหาร แล้วดูว่าหารได้ลงตัวหรือไม่ (mod) ถ้าหากหารได้ลงตัวเศษจะเป็น 0 หมายความว่าเป็นเลขคู่ ดังนี้

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

               โปรแกรมตรวจสอบว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ โดยใช้คำสั่ง if-elseจากโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ จะสังเกตเห็นได้ว่าการตรวจสอบเงื่อนไขนั้นสามารถเขียนเป็นนิพจน์ได้

                คำสั่งเลือกทำที่มีมากกว่าสองทางเลือก (if-else if -else)
ในการใช้คำสั่งเลือกทำ ถ้าหากมีเงื่อนไขให้เลือกมากกว่าสองทางเลือก เราจะเพิ่มคำสั่ง else if เข้ามาด้วย ซึ่งมีรูปแบบดังนี้

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

การใช้คำสั่งเลือกทำแบบหลายทางเลือก การทดสอบเงื่อนไขจะทดสอบตั้งแต่บนลงล่าง ตัวอย่างเช่น

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

                 ถ้ามีข้อมูลอยู่ในตัวแปร x , y , z เครื่องจะแจ้งว่าค่าใดเป็นค่าที่มากที่สุด โดยในขั้นตอนแรกจะเปรียบเทียบว่า x มากกว่า y และ x มากกว่า z หรือไม่ ถ้าจริงคอมพิวเตอร์จะบอกว่า x มีค่ามากที่สุด ถ้าไม่ใช่ จะเปรียบเทียบว่า y มากกว่า x และ y มากกว่า z หรือไม่ ถ้าจริงคอมพิวเตอร์จะบอกว่า y มีค่ามากที่สุด ถ้าไม่ใช่คอมพิวเตอร์จะบอกว่า z มีค่ามากที่สุด
                ตัวอย่าง โปรแกรมที่มีคำสั่งเลือกทำหลายทางเลือก โดยให้ใส่ค่าคะแนนตั้งแต่ 0-100 แล้วบอกว่าผลการสอบเป็นอย่างไร

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ตัวอย่างโปรแกรมคิดผลการสอบ

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

         คำสั่ง 2 ทางเลือกเป็นพื้นฐานของคำสั่งเงื่อนไขในภาษาคอมพิวเตอร์นั้น คำสั่งประเภทนี้จะต้องมีเงื่อนไขการตัดสินใจ เพื่อใช้หาคำตอบว่าจะไปทางไหน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะไปทำคำสั่งทางหนึ่ง  แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะไปทำคำสั่งอีกทางหนึ่ง ผังการทำงานของคำสั่ง 2 ทางเลือก

If…else คำสั่ง if…else นี้ จะต้องใช้เงื่อนไขเพื่อใช้เลือกว่าจะทำคำสั่งไหน ตามรูปที่ 6-4 แสดง ผังการทำงานของคำสั่ง if…else ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะไปทำคำสั่งที่ 1 แต่เงื่อนไขเป็นเท็จก็จะไปทำคำสั่งที่ 2 ซึ่งไม่มีโอกาสที่จะทำทั้งสองคำสั่งได้เลย

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

มีรูปแบบบางอย่างที่ผู้ใช้จะต้องจำให้ได้ สำหรับคำสั่ง if…else  ซึ่งมีดังนี้

  1. เงื่อนไจจะต้องอยู่ในวงเล็บเท่านั้น
  2. ไม่มีเครื่องหมาย ; หลังจบคำสั่ง if และ else แต่เมื่อจบคำสั่งที่ 1 และ คำสั่งที่ 2 จะต้องมีเครื่องหมาย ;  ตามปรกติ ดังแสดงในรูปที่ 6-5

if (i= =3)

a++;
Else

a–;

รูปที่ 6-5 แสดงตัวอย่างของคำสั่ง if…else

  1. หลังคำสั่ง if หรือ else อาจจะมีหรือไม่มีคำสั่งก็ได้
  2. ทั้งคำสั่งที่ 1 และคำสั่งที่ 2 สามารถมีได้เพียง 1 คำสั่งเท่านั้น แต่ถ้าผู้ใช้ต้องการให้มีหลายคำสั่ง จะต้องใส่เข้าไปในวงเล็บ หรือแบบ Compound Statement ดังแสดงในรูปที่ 6-6

If(i==3)
{
J++;
d–;
printf(“%d%d”,j,d);
}/*if*/
Else
{
j–;
d++;
printf(“%d%d”,j,d);
}/*else*/

If (i==3)

{
B++;
Printf(“%d”,b);
}/*if*/

Else
Printf(“%d”,j);

If   คำสั่ง if ก็คือ คำสั่ง if…else แต่ที่ไม่มี else เพราะคำสั่งทางเป็นเท็จไม่มี หรือจากรูปที่ 6-4 ไม่มีคำสั่งที่ 2 นั่งเอง ซึ่งก็คือจะต้องเป็นจริงเท่านั้นจึงจะทำคำสั่งได้ จากรูปที่ 6-7แสดงให้ เห็นการเปลี่ยนจากคำสั่ง if…else เป็นคำสั่ง if

Nested if เป็นคำสั่ง if…else มีคำสั่ง if…else หรือคำสั่ง if ซ้อนอยู่ด้านในอีกทีหนึ่งผังการทำงานของ Nested if และชุดคำสั่งได้แสดงในรูปที่ 6-8 ซึ่งการซ้อนนั้นสามารถมีได้ไม่จำกัด แต่ถ้ามีมากกว่า 3 ชั้น จะทำให้การทำความเข้าใจในโปรแกรมนั้นยาก
ในโปรแกรม 6-3  คือโปรแกรมที่ปรับปรุงจากโปรแกรมที่ 6-2 โดยใช้คำสั่ง Nested if เพื่อให้โปรแกรมนั้นสามารถแสดงผลได้ถูกต้องมากที่สุด

if(เงื่อนไขที่ 1)

else
คำสั่งที่ 3

if(เงื่อนไขที่ 2)
คำสั่งที่ 1
else
คำสั่งที่ 2

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ก.      ผังการทำงาน

ข.         ข.ชุดคำสั่ง
รูปที่ 6-8 แสดงผังการทำงาน และคำสั่งของ Nested i

โปรแกรม 6-4 คำสั่ง Nedsted if

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด
การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ปัญหาของคำสั่ง else
                ปัญหาของคำสั่ง 2 ทางเลือกนั้นก็คือ การจับคู่ระหว่างคำสั่ง if กับคำสั่ง else ปัญหานี้ อาจจะเกิดขึ้นมาจากความไม่เข้าใจของผู้ใช้ ซึ่งส่งผลให้โปรแกรมที่เขียนทำงานไม่ตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการการจับคู่ของ 2 คำสั่งนี้คือ ภาษา C จะจับคู่ระหว่างคำสั่ง if กับ else ที่ใกล้กันที่สุดเป็นคู่กัน  วิธีการปกป้องคือ ให้เขียนชุดคำสั่งเป็นแบบ Compound statement

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ก ชุดคำสั่ง

ข. ผังการทำงาน
รูปที่ 6-9 แสดงการจับคู่ที่ไม่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้

การเลือกทำแบบทางเดียว ควร ใช้คำสั่ง ใด

ก. ชุดคำสั่ง

ข. ผังการทำงาน
รูปที่ 6-10 แสดงการจับคู่ที่ถูกต้องตามความต้องการของผู้ใช้

คำสั่งใดที่ใช้สำหรับสร้างเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว

คำสั่ง if ใช้สำหรับให้ทำคำสั่ง เฉพาะกรณีที่เงือนไขทางเลือก เป็นจริง และไม่ต้องทำอะไร เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบคำสั่ง if. if (เงื่อนไขทางเลือก)

คำสั่งใดที่ใช้ในการทำงานแบบทางเลือก

โดยโครงสร้างแบบทางเลือก ประกอบด้วย คำสั่ง if คำสั่ง if-else และคำสั่ง switch ส่วนโครงสร้างแบบวนซ้ำ ประกอบด้วย คำสั่ง for คำสั่ง while และ คำสั่ง do-while โครงสร้างทั้งสองแบบจะช่วยให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาที่มีเงื่อนไขที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้โครงสร้างแบบลำดับเพียงอย่างเดียว

คำสั่งใดที่ใช้สำหรับสร้างเงื่อนไขแบบหลายทางเลือก

คำสั่ง if else เป็นคำสั่งมีการเพิ่มเงื่อนไข else if เข้ามาสำหรับการสร้างเงื่อนไขแบบหลายทางเลือก นั่นหมายถึงในบล็อคของคำสั่งจะทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่ต้องกับเงื่อนไขก่อนหน้าแต่ตรงกับเงื่อนไขปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีคำสั่ง else ซึ่งเป็นบล็อคของคำสังที่จะทำงานถ้าหากไม่มีเงื่อนไขใดเป็นจริงเลย มาดูตัวอย่างของการใช้คำสั่ง if-else.

ข้อใดคือคำสั่งทำซ้ำ

Loop. คำสั่งวนลูป ความหมายของลูป(loop) ลูป(loop)ในที่นี้มีความหมายว่า การวนซ้ำซึ่งการวนซ้ำในทางภาษาคอมพิวเตอร์ คือ การทำคำสั่งหรือชุดคำสั่งนั้นซ้ำกันหลายๆครั้ง