ใบรับรอง แพทย์ ต่อ ใบขับขี่ ความดัน สูง

ตามหลักเกณฑ์เดิม เอกสารใบรับรองแพทย์จะต้องใช้ในกรณีขอใบขับขี่ชั่วคราว และการต่อใบขับขี่ 2 ปี เป็น 5 ปี แต่หลักเกณฑ์ใหม่ได้กำหนดให้การต่อใบขับขี่ 5 ปี เป็น 5 ปี จะต้องใช้ใบรับรองแพทย์เป็นเอกสารประกอบด้วย ทั้งการต่อใบขับขี่รถยนต์ ใบขับขี่มอเตอร์ไซค์ และใบขับขี่ทุกประเภท 

สรุปคือ ทำใบขับขี่ ต่อใบขับขี่ ทุกประเภท ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ แนบเอกสารไปด้วยทุกครั้ง

ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่ ต่อใบขับขี่ แบบฟอร์มหลักเกณฑ์ใหม่ จากขนส่ง ก.พ. 2564

จากประกาศทางเวปไซต์ของกรมการขนส่งทางบก ระบุว่าตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ตามรูปแบบที่แพทยสภากำหนด เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินการ ด้านใบอนุญาตขับรถ และใบอนุญาตผู้ประจำรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ครอบคลุมทั้งการขอใหม่ การเปลี่ยนชนิด การต่ออายุ และการเปลี่ยนประเภท

แบบฟอร์มใบรับรองแพทย์ (สำหรับใบอนุญาตขับรถ)

แบบฟอร์มใบรับรองแพทย์ (สำหรับใบอนุญาตขับรถ) จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของผู้ขอใบรับรองแพทย์ และส่วนของแพทย์ โดยมีรายละเอียดในแต่ละส่วนดังนี้

ส่วนที่ 1 ของผู้ขอใบรับรองสุขภาพ (ผู้ขอใบรับรองแพทย์)

  • ชื่อ-นามสกุล 
  • สถานที่อยู่ (ที่สามารถติดต่อได้)
  • หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน (สำหรับชาวต่างชาติ ใช้หมายเลขบัตรประจำตัวในพาสปอร์ต)
  • ประวัติสุขภาพ ได้แก่ โรคประจำตัว, อุบัติเหตุและผ่าตัด, เคยเข้ารับการรักษาในรพ., โรคลมชัก, และประวัติอื่นๆที่สำคัญ (ถ้ามี) 
  • ในกรณีมีโรคลมชัก ให้แนบประวัติการรักษาจากแพทย์ผู้รักษาว่าท่านปลอดจากอาการชักมากกว่า 1 ปี เพื่ออนุญาตให้ขับรถได้
  • ลงชื่อ และ วัน เดือน ปี ที่ขอใบรับรองแพทย์

ส่วนที่ 2 ของแพทย์

  • สถานที่ตรวจ และ วัน เดือน ปี ที่ขอใบรับรองแพทย์
  • ชื่อแพทย์ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ชื่อสถานพยาบาล และที่ตั้งของสถานพยาบาล
  • ได้ตรวจร่างกาย (ชื่อผู้ขอใบรับรองแพทย์)
  • น้ำหนักตัว ความสูง ความดันโลหิต และชีพจร
  • สภาพร่างกายทั่วไป
  • ขอรับรองว่า ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพลภาพ, ไม่ปรากฎอาการของโรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน หรือปัญญาอ่อน, ไม่ปรากฎอาการของการติดยาเสพติดให้โทษ และอาการของโรคพิษสุราเรื้อรัง
  • ไม่ปรากฎอาการและอาการแสดงของโรคดังต่อไปนี้ โรคเรื้อนในระยะติดต่อ, วัณโรคในระยะอันตราย, โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฎอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม, โรคอื่นๆ(ถ้ามี)
  • สรุปความเห็นและข้อแนะนำของแพทย์ 
  • ลงชื่อ แพทย์ผู้ตรวจร่างกาย

ใบรับรอง แพทย์ ต่อ ใบขับขี่ ความดัน สูง

ใบรับรองแพทย์ สำหรับทำใบขับขี่ ต่อใบขับขี่

ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่ ขอได้ที่ไหน

ใบรับรองแพทย์ (สำหรับใบอนุญาตขับรถ) ที่จะใช้ประกอบในการทำใบขับขี่ หรือต่อใบขับขี่นั้น ต้องเป็นใบรับรองแพทย์ตามแบบที่แพทยสภารับรอง (แบบฟอร์มเดียวกับของกรมการขนส่งทางบก) สามารถขอได้ที่โรงพยาบาล หรือคลินิกแพทย์ทุกแห่ง ที่รับออกใบรับรองแพทย์ โดยแจ้งว่าขอใบรับรองแพทย์สำหรับทำใบขับขี่

ใบรับรองแพทย์ สามารถใช้ได้นานเท่าไหร่

ใบรับรองแพทย์ตามแบบฟอร์มของแพทยสภา ซึ่งใช้สำหรับขอใบอนุญาตขับรถ ทำใบขับขี่ ต่อใบขับขี่ รวมถึงในกรณีที่ขอใบรับรองแพทย์ ใช้สมัครเรียน สมัครสอบ และสมัครงาน จะกำหนดให้ใบรับรองแพทย์ฉบับนี้ใช้ได้ 1 เดือน นับแต่วันที่ออกใบรับรองแพทย์

ต่อใบขับขี่ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ กรมขนส่งทางบกได้มีการออกกฎหมายระบุไว้ว่า การต่อใบขับขี่ หรือทำใบขับขี่ ต้องมีใบรับรองแพทย์ประกอบ เป็นหลักฐาน เป็นการแสดงว่าผู้ขับขี่ต้องไม่มีโรคประจำตัว หรือมีอาการ ที่ทำให้ รู้สึกว่าเป็นอันตรายในการขับขี่รถยนต์ และต้องไม่มีจิตวิปริต ที่ส่งผลต่อการขับขี่รถยนต์ และเนื่องจากวัยการขับขี่ของผู้ขับขี่ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อายุมากขึ้นอาจจะส่งผลต่อการขับขี่ ซึ่งจะต้องให้แพทย์เป็นผู้เช็คอาการ ประเมิน และออกใบรับรอง เพื่อเป็นเอกสารประกอบการขอใบขับขี่ ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป โดยใช้แบบฟอร์มดังข้างล่างนี้

ใบรับรอง แพทย์ ต่อ ใบขับขี่ ความดัน สูง

ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ส่วนที่ผู้ขอรับรองสุขภาพด้วยตนเอง เช็คเรื่อง โรคประจำตัว ,เคยมีอุบัติเหตุ หรือผ่าตัดหรือไม่ ,เคยเข้ารักษาในโรงพยาบาลอะไรไม ,มีประวัติการเป็นโรคลมชักไหม ,ประวัติอื่นๆที่สำคัญ
กับ
ส่วนของแพทย์ในการตรวจรับรอง เช็คเรื่อง ตรวจความดันโลหิต ปรอทชีพจร ,เป็นโรคเรื้อนในระยะติดต่อ หรือในระยะที่ปรากฎ อาการ ที่รู้สึกว่าเป็นที่รังเกียจแก่สังคมไหม ,เป็นวัณโรคในระยะอันตรายหรือไม่ ,เป็นโรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฎอาการเป็นที่รังเกียจสังคมไหม ,อื่นๆ หรือโรคทางจิตเวชที่ร้ายแรง

โดยแพทย์จะเป็นคนสรุปและลงความเห็นเองว่าเห็นสมควร ให้สามารถออกใบขับขี่ หรือต่อใบขับขี่ได้หรือไม่ แพทย์จะเล็งเห็นถึงความสามารถในการขับขี่ของผู้ที่จะขอใบขับขี่นั้น เพื่อไม่ให้เป็นพิษเป็นภัยต่อสังคม เกิดผู้ขับขี่เกิดอาการทางโรคขึ้นมาตอนขับขี่ อาจจะเกิดอุบัติเหตุ ทำให้ส่งผลเสีย ต่อชีวิต สุขภาพ และทรัพย์สิน ต่อผู้ขับขี่เอง และผู้ที่ใช้ถนน ด้วย

ซึ่งใบรับรองแพทย์ที่แพทย์ออกให้มีผลใช้ 1 เดือน ต้องเอาใบรับรองไป ทำใบขับขี่ภายใน 1 เดือนเท่านั้น

และนอกจากนี้ ยังมีอีก 3 โรค สำคัญ ที่ไม่ควรขับรถ ได้แก่เบาหวาน , ความดัน และลมชัก ซึ่งอยู่ในขั้นตอนพิจารณาในเรื่องดังกล่าว

และจะต้องมีการ ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย ทดสอบการมองเห็นสี ตามที่กำหนด ,ทดสอบสายตาทางลึก ,ทางกว้าง ,ทดสอบปฏิกิริยาทางเท้า

นอกจากนี้ ผู้ขับขี่ รถมอเตอร์ไซค์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 400 ซีซี จะต้องผ่านการอบรม และทดสอบการขับขี่ตามเกณฑ์ เพื่อเป็นความสามารถในการขับขี่

ต่อใบขับขี่ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ ไหม 2565 ขอตอบตรงนี้ว่าต้องใช้ตามที่ระบุไว้ข้างต้น

ใบรับรองแพทย์ ต่อใบขับขี่ มีอายุกี่วัน

มีผลแค่ 30 วันเท่านั้น (หรือ1 เดือน) ถ้าออกใบรับรองแล้วต้อง ไปทำเรื่องต่อใบขับขี่ภายใน 30 วัน

ใบรับรองแพทย์ใบขับขี่ใช้ตอนไหน

ใช้ตอนขอใบออกใบอนุญาติการขับขี่รถยนต์ หรือต่อใบขับขี่รถยนต์

ต่อใบขับขี่ 5 ปี เป็น 5 ปี ใช้ใบรับรองแพทย์ไหม

จำเป็นต้องใช้ใบรับรองแพทย์

ใบรับรองแพทย์ ต่อใบขับขี่ขอที่ไหน

จะต้องเป็นแบบฟอร์มทางกรมขนส่งทางบกกำหนด ขอได้ที่แพทย์สภา โรงพยาบาลต่างๆ หรือคลินิค ทั่วๆไป แจ้งว่าทำใบรับรองแพทย์ เพื่อทำการสำหรับทำใบขับขี่

ใบรับรองแพทย์ความดันสูงต่อใบขับขี่ได้ไหม

โรคอันตรายห้ามทำใบขับขี่อยู่ระหว่างการพิจารณา โรคเบาหวานระยะฉีดอินซูลิน โรคความดันโลหิตสูง หรือผู้ป่วยผ่าตัดสมอง

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ขับรถได้ไหม

9. โรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เสี่ยงต่อการเกิดอาการรุนแรงกะทันหัน โดยเฉพาะเมื่อต้องพบเจอกับความเครียดบนท้องถนน หากความดันขึ้นสูงมากๆ ก็อาจถึงขั้นหน้ามืดเป็นลม หรือที่ร้ายกว่านั้นคือเกิดเส้นเลือดในสมองแตกได้ ซึ่งเป็นอันตรายต่อทั้งผู้ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนนคนอื่นๆ

ต่อใบขับขี่ใช้ใบรับรองแพทย์อะไร

Q : ต่อใบขับขี่ใช้ใบรับรองแพทย์หรือไม่ A : 1. ต่อใบขับขี่ชนิดชั่วคราว (2 ปี) ใช้ใบรับรองแพทย์ และบัตรประจำตัวประชาชน ใบขับขี่ฉบับเดิม(ถ้ามี) 2. ต่อใบขับขี่ชนิดส่วนบุคคล (5 ปี) ไม่ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ ใช้บัตรประจำตัวประชาชน และใบขับขี่ฉบับเดิม

ใบรับรองแพทย์ทำใบขับขี่อยู่ได้กี่วัน

ปัญหาอยู่ที่ ใบรองแพทย์ เนื่องจากหลายท่านไม่ทราบว่าใบรับรองแพทย์ที่สามารถใช้เป็นหลักฐานประกอบการสมัครนั้น ต้องมีอายุจากวันที่ออกเอกสาร จนถึงวันที่สมัคร ไม่เกิน 30 วัน บางท่านเข้าใจว่าต้องมีอายุไม่เกิน 1 เดือน ซึ่งไม่ถูกต้อง เนื่องจากกรมการขนส่งทางบกยึดตามจำนวนวัน เป็นสำคัญ เช่น ได้คิวเข้ารับการทดสอบวันที่ 31 มีนาคม จะ ...