โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ

โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ PDF

Uploaded by

Pui Saranya

42%(12)42% found this document useful (12 votes)

22K views24 pages

Document Information

click to expand document information

Original Title

โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ.pdf

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share on Facebook, opens a new window

    Facebook

  • Share on Twitter, opens a new window

    Twitter

  • Share on LinkedIn, opens a new window

    LinkedIn

  • Share with Email, opens mail client

    Email

  • Copy Link

    Copy Link

Did you find this document useful?

42%42% found this document useful, Mark this document as useful

58%58% found this document not useful, Mark this document as not useful

Is this content inappropriate?

Report this Document

Download now

SaveSave โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ.p... For Later

42%(12)42% found this document useful (12 votes)

22K views24 pages

โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ PDF

Original Title:

โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ.pdf

Uploaded by

Pui Saranya

Full description

SaveSave โครงงานคณิตศาสตร์ การรับน้ำหนักของรูปทรงฐานต่างๆ.p... For Later

42%42% found this document useful, Mark this document as useful

58%58% found this document not useful, Mark this document as not useful

Embed

Share

Print

Download now

Jump to Page

You are on page 1of 24

Search inside document

You're Reading a Free Preview
Pages 6 to 8 are not shown in this preview.

Buy the Full Version

You're Reading a Free Preview
Pages 12 to 22 are not shown in this preview.

Buy the Full Version

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share on Facebook, opens a new window
  • Share on Twitter, opens a new window
  • Share on LinkedIn, opens a new window
  • Share with Email, opens mail client
  • Copy Link

Quick navigation

  • Home

  • Books

  • Audiobooks

  • Documents

    , active


                          โครงงาน คณิตศาสตร์


เรื่อง    ประยุกต์  ( การนำรูปทรงเลขาคณิตมาประยุกต์ทำโมบาย)


 


 จัดทำโดย


1.               น.ส.  วัชริดา  อนุวารย์      เลขที่ 45                             6.    น.ส.


2.               น.ส.  จันทร์จิรา  ศรีวงษา    เลขที่                               7.    น.ส.      


3.               น.ส.  จุฑามาศ  ศรีหาคุณ    เลขที่                               8.    นาย


4.               น.ส. ประไพพรรณ   พลเยี่ยม   เลขที่                         9.    นาย


5.               น.ส.                                                                          10.   นาย


 


(ลืมอ่า ชื่อ วันจันทร์บอกด้วยนะ จำได้แค่นี้ )


 


 


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2    โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา 


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 27


 


 


ครูที่ปรึกษา   อาจารย์  ณัฐวรรณ 


 


               


                                                                     คำนำ


         โครงงานคณิตศาสตร์ชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งคณะผู้จัดทำมีความสนใจในเรื่อง การประยุกต์โมบาย จึงได้ศึกษาค้นคว้าและหาข้อมูลเพื่อจะนำมาทำโครงงานชิ้นนี้คณะผู้จัดทำได้หวังว่า โครงงานคณิตศาสตร์ชิ้นนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้สนใจ และเพื่อนๆเยาวชนในโรงเรียนเป็นอย่างมาก


                                                                                                                                                      คณะผู้จัดทำ


 


บทที่1 บทนำ


ที่มาและความสำคัญของโครงงาน


     รูปเลขาคณิตสามมิติมีอยู่หลายแบบด้วยกัน


     ปริซึม (Prism)    ทรงกระบอก (Cylinder)     พีระมิด (Pyramid)    กรวย (Cone)     ทรงกลม (Sphere)


จาก   รูปเลขาคณิตสามมิติข้างต้น  สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆมากมาย เหตุนี้ทำให้กลุ่มของเราได้นำ                 รูปเลขาคณิตสามมิติมาประยุกต์ทำเป็นโมบาย  เพื่อสื่อการสอน ในวิชาคณิตศาสตร์  และเพื่อให้ผู้ศึกษาเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น


 


วัตถุประสงค์


1.               เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ รูปเรขาคณิตสามมิติ


2.               เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการ ทำโมบาย


3.               เพื่อนำรูปเรขาคณิตมาประยุกต์ ใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด


4.               เพื่อเรียนรู้ที่จะสร้างความคิดที่แปลกใหม่ สร้างโมบายสวยๆ ได้ตามที่ใจปรารถนา


 


 

เนื้อหาทางคณิตศาสตร์

รูปเรขาคณิตสามมิติ


    ปริซึม (Prism) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานทั้งสองข้าง เป็นรูปเหลี่ยมที่ เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้าน เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน


    ทรงกระบอก (Cylinder) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานทั้งสองข้างเป็นรูปวงกลม ที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น ด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลม ที่เท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ


     พีระมิด (Pyramid) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยม ใด ๆ ที่มียอดแหลม ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอด ร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น


    กรวย (Cone) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลม ที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเป็น ส่วนของเส้นตรง


     ทรงกลม (Sphere) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุด บนผิวโค้ง อยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เป็นระยะเท่ากัน


 


 


 


ขอบเขตของการศึกษา


     ศึกษาในเรื่อง ของรูปเรขาคณิตสามมิติ  รูปแบบการพับ  ขั้นตอนการทำโมบายต่างๆ


 


 บทที่2 ทฤษฎี/เอกสารที่เกี่ยวข้อง


    การทำโมบายในแบบต่างๆ http://www.thaifranchisecenter.com/document/show.php?docuID=150   ,   เนื้อหา  ในเว็บ   http://www.thaigoodview.com/node/132600?page=0%2C8


, รูปแบบการทำเรขาคณิต    http://group.wunjun.com/kroodee/topic/484455-18330


 


 บทที่3  วิธีดำเนินงาน


1.               จัดตั้งกลุ่มโครงงานตามที่อาจารย์แนะนำ ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกทั้งหมด 10 คน มีการประชุมหารือในช่วงเวลาที่อาจารย์กำหนดให้ โดยได้แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกแต่ละคน


2.               ดำเนินการตามหน้าที่ ที่แบ่งเอาไว้


3.               สรุปผลในการดำเนินงาน


4.               จัดทำรายงานโครงงานคณิตศาสตร์


5.               นำเสนอโครงงานคณิตศาสตร์


 


 


วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา


1.               กระดาษสี หลายๆสี


2.               กาวลาเท็กซ์


3.               กระดาษแข็งแบบบาง


4.               ด้ายสีขาวหรือสีอื่นๆ


5.               รูปแบบเรขาคณิตสามมิติ


6.               กรรไกร


7.               ดินสอ


8.               ที่เจาะรู


 


วิธีการศึกษา


ทางกลุ่มได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานก่อนกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน ดังนี้


1. ความหมาย หลักการ จุดประสงค์ ประเภท ขั้นตอน และตัวอย่างของการทำโครงงานคณิตศาสตร์

2. ลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติต่างๆ

3. วิธีการสร้าง, ทำโมบาย ในแบบต่างๆ


 


ขั้นตอนการดำเนินงาน


1.               ไปศึกษาในเว็บไซด์ต่างๆ


2.               นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง


3.               ส่งข้อมูลให้สมาชิก ที่ได้รับมอบหมายทำแผ่นพับ


 


 


 


บทที่4 ผลการศึกษา



 


รูปเรขาคณิตสามมิติปริซึม

   

 






โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


 

ปริซึม (Prism) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานทั้งสองข้าง เป็นรูปเหลี่ยมที่ เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้าน เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


การเรียกชื่อของปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม ดังตัวอย่าง

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


ทรงกระบอก

 

 

 

 

 

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ

 

 

 


 

 

         ทรงกระบอก (Cylinder) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานทั้งสองข้างเป็นรูปวงกลม ที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น ด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลม ที่เท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ

 

 

 

 

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ

 

 

 

พีระมิด (Pyramid) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยม ใด ๆ ที่มียอดแหลม ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอด ร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น

การเรียกชื่อของพีระมิด จะเรียกตามฐานของพีระมิด ดังตัวอย่าง

                                    

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ
 




โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


 

 

 

 

 

                                    

กรวย (Cone) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลม ที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเป็น ส่วนของเส้นตรง

 

 

 

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ


 


 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ทรงกลม (Sphere) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุด บนผิวโค้ง อยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เป็นระยะเท่ากัน

จุดคงที่

เรียกว่า

จุดศูนย์กลาง

ระยะทางที่เท่ากัน

เรียกว่า

รัศมี


 




โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ

 



ตัวอย่างการพับ รูปเรขาคณิตสามมิติ

http://www.mediafire.com/?h6bo7757fmtpvmg
( ตามนี้เลยนะ เอาลงไม่ได้ )

 


 


                      เราจะประยุกต์จา โมบายกระดาษสี



(รูปภาพวิธีการทำตามลิงค์นี้นะ) http://www.thaifranchisecenter.com/document/show.php?docuID=150   



โมบายเป็นอุปกรณ์ตกแต่งภายในอย่างหนึ่งที่ทำให้บ้านเรามีบรรยากาศที่น่าอยู่มากขึ้น ดูมีชีวิตชีวา เราสามารถสร้างห้องภายในบ้านของเราให้มีบรรยากาศไปในแนวที่เราต้องการ โมบายสามารถทำได้จากวัสดุหลายชนิดแล้วแต่จะเลือก วันนี้เราจะทำจากกระดาษ ก็ใช้กระดาษสีธรรมดา หรือจะดัดแปลงใช้กระดาษสีแบบอื่นเช่น แบบที่มีความมันเงาก็ได้ ก็จะดูสวยไปอีกแบบแต่ราคากระดาษก็จะแพงตามไปด้วยครับ

วัสดุที่ต้องใช้


1.               กระดาษสี หลายๆสี


2.               กาวลาเท็กซ์


3.               กระดาษแข็งแบบบาง


4.               ด้ายสีขาวหรือสีอื่นๆ


เครื่องไม้เครื่องมือ


1.               กรรไกร


2.               ดินสอ


3.               ที่เจาะรู


 


 


 


วิธีทำ




ก่อนอื่นต้องใช้ดินสอร่างแบบลงบนกระดาษแข็งเพื่อทำรูปสัตว์ต่างๆ มีปลาหมึกตัวใหญ่ ปลาหลายๆชนิด ปลาดาว ร่างแบบแบบฟรีแฮนด์ ได้เลยครับ วาดออกมาประมาณแปดตัวขนาดและแบบต่างๆกันตามต้องการ จากนั้นใช้กระดาษแข็งนี้วาดแบบลงกระดาษสีอีกครั้ง ทำแบบละ 2 แผ่น อย่าลืมสลับด้านซ้าย - ขวาด้วยนะครับ จากนั้นใช้กรรไกรตัดออกมาให้มีขนาดโตกว่ากระดาษแข็งเล็กน้อย



นำกระดาษสีที่ตัดเสร็จแล้วมาพับขอบเข้าไปเล็กน้อยแล้วฉีกออกให้เป็นรอยฉีกตลอดแนวขอบ ทำทั้งสองด้าน



นำกระดาษสีมาทากาวประกบกันโดยมีกระดาษแข็งอยู่ตรงกลาง จัดให้ขอบกระดาษสีที่มีรอยฉีกเหลื่อมกัน เมื่อเรามองจะเห็นสีขอบเป็นสีขาวๆตามแนวขอบกระดาษ ตัดกระดาษสีอื่นที่โทนสีตัดกันทำเป็น ลูกตา ลวดลาย



ส่วนปลาหมึกทำแยกเป็นสองชิ้น ชิ้นบนกับชิ้นล่าง ชิ้นบนให้ใช้กรรไกรตัดบากตรงกลางส่วนที่เป็นหนวด ส่วนชิ้นล่างบากตรงกลางส่วนหัว เมื่อนำมาสวมกัน เมื่อมองจากด้านบนจะเห็นเป็นรูปเลขบวก (ดูรูปถัดไป) ใช้ที่เจาะรูเจาะปลายหนวดปลาหมึก



นำปลาสีและขนาดต่างๆมาผูกร้อยกับด้ายสลับกัน ต้องทดลองแขวนเพื่อหาสมดุลย์ ตรงนี้ค่อยๆทำนะครับ หากไม่ได้สมดุลย์จริงๆอาจทำปลาเพิ่ม