รูป แบบ การจัดการ ศึกษาปฐมวัยในระบบ

ประเทศไทยถือว่าเป็นประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดทางตะวันตกตามที่กล่าวมาข้างต้น แนวคิดในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กเล็กในระดับอนุบาลนั้น เริ่มแรกของการให้การศึกษากับเด็กเล็กตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ยังเป็นการเลี้ยงดูโดยครอบครัวที่มีลักษณะเป็นครอบครัวใหญ่ เด็ก

จึงได้รับการอบรมสั่งสอนจากทั้งญาติพี่น้องและพ่อแม่ จึงนับเป็นการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ และการเรียนขึ้นอยู่กับความสมัครใจของผู้เรียน จนสมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - 4 ) เด็กที่จะได้รับการศึกษาในระดับปฐมวัยจะเป็นกลุ่มเชื้อพระวงศ์ที่จะเรียน

ในพระบรมมหาราชวังกับราชบัณฑิตหรือกลุ่มเด็กของครอบครัวที่มีฐานะดีจะมีครูมาสอนที่บ้าน ส่วนเด็กที่มาจากครอบครัวบุคคลทั่วไปจะถูกนำไปฝากเรียนที่วัด แต่เด็กผู้หญิงจะยังไม่มีโอกาสได้เรียน

ยกเว้นเด็กที่พ่อแม่ไปฝากไว้ในวังหรือตามบ้านเจ้านายเพื่อฝึกความเป็นกุลสตรีและงานอาชีพ จนมา

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บ้านเมืองเกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน เช่น

การคุกคามจากจักรวรรดินิยม การค้าขายกับต่างชาติทำให้มีการเผยแพร่ความรู้วิทยากรต่างๆตามแบบตะวันตก และพระบรมวงศานุวงศ์ที่ได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตก กลับมาเป็นผู้นำในการพัฒนาบ้านเมือง รวมทั้งนักเรียนไทยเดินทางไปศึกษาวิชาการต่างๆ จากต่างประเทศก็ได้นำแนวคิดของทางตะวันตกมาพัฒนาบ้านเมือง ปัจจัยด้านการเลิกทาสและระบบไพร่ทำให้ราษฎรจำนวนมาก

ต้องทำมาหาเลี้ยงชีพเอง จึงจำเป็นต้องมีความรู้เพื่อดำรงชีพและเกิดความต้องการเข้ารับราชการเนื่องจากมีการปรับปรุงการปกครองและการบริหารส่วนกลางที่ต้องการข้าราชการไปปฏิบัติงานตามหัวเมืองต่างๆนำไปสู่การปรับปรุงการศึกษาในทุกระดับชั้น แม้แต่การศึกษาปฐมวัยก็เริ่มมีการศึกษาที่

มีระเบียบแบบแผนมากขึ้น ในสมัยเริ่มต้น เรียกว่า "โรงเลี้ยงเด็ก" ในปีพ.ศ.2466 นับเป็นสถานรับเลี้ยงเด็กแห่งแรกในประเทศไทยโดยดำริของพระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าสวลีภิรมย์ กรมขุนสุทธาสินีนาฏ ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งสูญเสียพระธิดาไปตั้งแต่ยังเยาว์ จึงมีพระราชดำริที่จะช่วยเหลือ

เด็กด้อยโอกาส อันได้แก่ เด็กกำพร้า เด็กยากจน และเด็กเร่ร่อนให้ได้เข้ามาได้รับการศึกษาในโรงเลี้ยงเด็ก โรงเลี้ยงเด็กแห่งนี้ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเป็นผู้จัดการคนแรก โดยเนื้อหาที่เรียนเน้นด้านความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เช่น อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น รู้จักรักษาอิริยาบถ หุงข้าว ต้มแกงเป็น ขึ้นต้นไม้เป็น ว่ายน้ำเป็น ปลูกทับกระท่อมที่อยู่เป็น ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์

นอกเหนือจากการก่อตั้งโรงเลี้ยงเด็กแล้ว ได้รับแนวคิดตามแบบตะวันตกของเฟรอเบลและมอนเตสซอรี่ อันนับเป็นแนวความคิดแบบ ตะวันตกแบบแรกที่เข้ามาในประเทศไทยในรัชสมัยนี้ยังมีการจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบโรงเรียน คือ มีการจัดตั้งโรงเรียนราชกุมารและโรงเรียนราชกุมารีสำหรับเชื้อพระวงศ์ นับเป็นสถานศึกษาปฐมวัยแห่งแรกที่เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการอย่างมี

ระบบโดเน้นวิธีการสอนแบบเรียนเล่น เน้นการลงมือทำกิจกรรม ต่อมาหน่วยงานรัฐเริ่มให้ความสำคัญ

กับการศึกษากับคนทั่วไป นอกเหนือจากเชื้อพระวงศ์ จึงเริ่มมีแนวคิดแบ่งระดับการศึกษาแบบทรงเจดีย์โดได้เพิ่มการสอนในระดับมูลศึกษาอันเป็นหลักฐานเบื้องต้นของการศึกษา ในระดับสามัญศึกษาเป็นระดับก่อนประถมศึกษาที่มีพระสงฆ์เป็นผู้สอนเน้นการอ่านออกเขียนได้ และจริยธรรม ซึ่งนับว่า

ตั้งแต่นั้นมาแนวคิดทางตะวันตกก็เริ่มเข้ามามีผลต่อการศึกษาไทย อย่างไรก็ตามดูเหมือนว่า ความคาดหวังสำหรับเด็กโลกสมัยปี 2000 จะดูต่างไปจากโลกของเด็กในยุคก่อนๆ เช่น มีหลาคนคิดว่าในช่วง 7 ปี แรกของชีวิตเด็กนั้นเราควรจะต้องสอนเด็กตลอดเวลาให้รู้จักตัวหนังสือ ควรที่จะสามารถอ่านออกเขียนได้ มีแนวคิดว่าควรมีทักษะคณิตศาสตร์ หรือรู้จักใช้เทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทันกับกระแสโลก ในขณะเดียวกัน การเรียนการสอนแบบเน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง อันเป็นแนวคิดจากจอห์น ดิวอี้ ผู้มีบทบาทสำคัญ ในการเผยแพร่เรื่องนี้ ที่เน้นในเรื่องที่เกี่ยวกับพัฒนาการเด็กแบบองค์รวม มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรอีกครั้งในปี พ.ศ.2533 แนวคิดในเรื่องนี้ก็ยังคงอยู่เช่นเดิม จนประมาณปี พ.ศ.2538 เมื่อเริ่มมีการปฏิรูปทางการเมืองขึ้น วงการการศึกษาก็ได้มีการเคลื่อนไหวให้มี

การปฏิรูปการศึกษาขึ้นอีกครั้ง ซึ่งส่งผลทำให้มีพระราชบัญญัติการศึกษาเกิดขึ้น โดยเฉพาะที่กำหนดในมาตรา 22 ที่ให้ครูจัดการเรียนการสอน โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นการเรียนรู้ที่ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ของแต่ละคน เปลี่ยนแนวจากการเรียนการสอนแบบ

บรรยาย มาเป็นการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยใช้วิธีการสอนแบบโครงการ กระตุ้นให้เด็กรู้จักคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยครูทำหน้าที่เป็นเพียงที่ปรึกษา และคอยเพิ่มเติมในส่วนที่เด็กยังขาดหรือต้องการความช่วยเหลือ

ÃÒ§ҹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ÃٻẺ¡Òè´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»°ÁÇÑ ¢Í§ä·ÂáÅе‹Ò§»ÃÐà·È ¡Ã³ÕÈ¡Ö ÉÒ »ÃÐà·ÈÞè»Õ ¹†Ø ÊÔ§¤â»Ã ÍÍÊàµÃàÅÕ áÅйÔÇ«áÕ Å¹´ ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹àÅ¢Ò¸Ô¡ÒÃÊÀÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸¡Ô Òà รายงานการศกึ ษา รูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศึกษาประเทศญป่ี นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด ์ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ 372.2107 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ส 691 ร รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด/์ กรงุ เทพฯ : 2563. 192 หนา้ ISBN : 978-616-564-039-8 1. รูปแบบการจัดการศึกษา 2. ปฐมวยั 3. ชอ่ื เรื่อง รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศกึ ษาประเทศญี่ปุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด ์ สิ่งพมิ พ์ สกศ. อนั ดับท่ี 13/2563 พิมพค์ ร้ังที่ 1 พฤษภาคม 2563 จำนวน 2,000 เลม่ ผจู้ ดั พิมพเ์ ผยแพร่ สำนักนโยบายการพฒั นาเด็กปฐมวัย สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนสุโขทยั เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 02 668 7123 ตอ่ 2436 และ 2438 โทรสาร 02 241 5152 Website: http://onec.go.th พิมพ์ท ี่ บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด 90/6 ซอยจรญั สนทิ วงศ์ 34/1 ถนนจรญั สนิทวงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร์ เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 02 424 3249, 02 424 3252 โทรสาร 02 424 3249, 02 424 3252 รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ (ก) กรณศี กึ ษาประเทศญ่ปี ุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด ์ คำนำ วถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกจิ สภาพภมู อิ ากาศ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมอยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ แตล่ ะประเทศลว้ นตระหนกั และใหค้ วามสำคญั ในเรื่องดังกล่าว จึงเตรียมความพร้อมให้คนในประเทศท่ีจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ใหส้ ามารถรองรบั กระแสการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ไดท้ นั การณต์ งั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั การศกึ ษาปฐมวยั จึงเป็นระดับการศึกษาท่ีมีความสำคัญอย่างมาก เน่ืองจากการพัฒนาในช่วงเด็กเล็กจะเป็นช่วงที่ พฒั นาการทงั้ ทางดา้ นสมองและการเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ สามารถพฒั นาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประเทศตา่ ง ๆ จงึ ให้ ความสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ประกอบกบั องคก์ รเพอ่ื ความรว่ มมอื และการพฒั นาเศรษฐกจิ (Organization for Economic CO-operation and Development: OECD) ได้ให้ความสำคัญ กับการจัดการศึกษาปฐมวัยและการดูแลเด็กเล็ก และผลักดันให้ประเทศในกลุ่ม OECD พัฒนา กรอบแนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ประเทศไทยเป็นประเทศในกลุ่ม OECD ท่ีจัดว่ามีคุณภาพในการจัดการศึกษาระดับ ประถมศึกษาอยู่ในระดับกลาง ส่วนประเทศญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ซึ่งมีการจัด การศึกษาระดับประถมศึกษาอยู่ในระดับสูง ได้มีการทบทวนและปรับปรุงการจัดการศึกษาปฐมวัย ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา ดังนั้น การศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของทั้ง 4 ประเทศ ดงั กลา่ วจะทำใหไ้ ดข้ อ้ มลู สำคญั ในการนำมาพจิ ารณารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในบรบิ ทของไทย ทจ่ี ะพฒั นาเดก็ ใหส้ ามารถเผชญิ กบั สงั คมในศตวรรษที่ 21 ไดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. 2562 จงึ ไดร้ ว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณีศึกษา ประเทศญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ เพอื่ วเิ คราะห์ สงั เคราะหส์ ภาพและผลการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและ ประเทศญปี่ นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ และเปรยี บเทยี บการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทย กบั 4 ประเทศดงั กลา่ ว รวมทง้ั นำเสนอรปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทพ่ี งึ ประสงคข์ องประเทศไทย ในยคุ 4.0 เพอื่ จดั ทำขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาสำหรบั เดก็ ปฐมวยั ทส่ี อดคลอ้ งกบั การดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 และการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) (ข) รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญ่ปี ุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด ์ สำนักงานฯ ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ปิยะรัตน์ นุชผ่องใส และคณะนักวิจัยจากวิทยาลัยราชสุดา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ทไี่ ดศ้ กึ ษาวจิ ยั จนประสบผลสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ และขอขอบคณุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ กุ ทา่ นทไ่ี ดร้ ว่ มใหข้ อ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ใหร้ ายงานการศกึ ษาวจิ ยั มคี วามสมบรู ณ์ ยง่ิ ขนึ้ และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชนก์ บั หนว่ ยงานทกุ สงั กดั ทมี่ ภี ารกจิ ในการ ดูแล พัฒนาและจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้สามารถนำข้อมูลองค์ความรู้ รวมถึงรูปแบบ แนวทางท่ีดีในการจัดการศึกษาปฐมวัยของต่างประเทศไปประยุกต์ใช้และปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามบรบิ ทของตนไดต้ อ่ ไป (ดร.สภุ ัทร จำปาทอง) เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ (ค) กรณศี ึกษาประเทศญีป่ ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด ์ คำนำคณะผวู้ ิจยั องค์กรเพ่ือความร่วมมือและการพัฒนาเศรษฐกิจ (Organization for Economic CO-operation and Development: OECD) ได้ให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาปฐมวัยและ การดแู ลเด็กเลก็ และผลกั ดนั ให้ประเทศในกลมุ่ OECD พัฒนากรอบแนวคดิ เกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษา ปฐมวยั ประเทศไทยเปน็ ประเทศในกลมุ่ OECD ทจี่ ดั วา่ มคี ณุ ภาพในการจดั การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา อยู่ในระดบั กลาง สว่ นประเทศญีป่ ุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย นิวซแี ลนด์ จัดอยใู่ นระดับสงู ซ่งึ การพัฒนา เด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมในการเข้าสู่ประถมศึกษาจึงเป็นเร่ืองท่ีสำคัญและส่งผลต่อการพัฒนาเด็ก ในวยั ที่สงู ขนึ้ การศึกษาการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศในกลุ่มสูงแถบเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รวมทั้งประเทศไทยใช้เวลาดำเนินการ 6 เดือน ทำให้บางประเด็น มีรายละเอียดไม่เพียงพอ ซึ่งคงต้องทำการศึกษาในคร้ังต่อไป อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาดังกล่าว ทำให้ได้ทราบแนวคิด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คุณภาพครู มาตรฐานการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการนำมาพิจารณาเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยไทยให้มี พน้ื ฐานท่ดี ีในการเตบิ โตเป็นผ้ใู หญ่ท่มี ีความพร้อมตอ่ การดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ Assoc. Prof. Joseph Seyram Agbenyega จาก Monash University ประเทศออสเตรเลยี Dr. Wendy Holley จาก Massey University ประเทศนวิ ซแี ลนด์ Professor Tanaka Toshiaki จาก Kyushu Woman’s University & Kyushu Woman’s Junior College ประเทศญี่ปุ่น National Institute of Early Childhood Development (NIEC) ประเทศ สิงคโปร์ และผู้บริหารโรงเรียนอนุบาล ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ปฐมวัยในทุกประเทศดังกล่าวข้างต้น ที่ช่วยประสานงาน ให้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย เป็นอย่างดี ขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิท่ีให้คำแนะนำ และขอขอบคุณสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ท่สี นบั สนุนให้เกดิ การศกึ ษาในครงั้ น ้ี คณะผ้วู จิ ัย (ง) รายงานการศึกษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี ึกษาประเทศญปี่ นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ บทสรปุ ผ้บู รหิ าร การจัดการศึกษาปฐมวัยเปน็ ระดบั การศึกษาทม่ี ีความสำคัญอย่างมาก เน่อื งจากในชว่ งปีแรก ของชวี ติ สมองมกี ารพฒั นาเกยี่ วกบั การรบั ความรสู้ กึ และภาษาอยา่ งรวดเรว็ และพฒั นาการทางความคดิ จะมากสุดในช่วงอายุ 2-3 ปี การกระตุ้นพัฒนาการทางสมองด้านการควบคุมอารมณ์ ทักษะ ทางสังคม ภาษา และตัวเลขควรกระทำในช่วงอายุ 3 ปีแรก ประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ จึงให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ สภาพภูมิอากาศ ส่งผลให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว และเกิดส่ิงใหม่ ๆ ซ่ึงแต่ละประเทศมีความตระหนักในเร่ือง ดังกล่าว จึงเตรียมความพร้อมให้คนในประเทศท่ีจะต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงดังกล่าวในอนาคต ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ทำให้ตั้งแต่ปี 2017 เป็นต้นมา ทั้ง 4 ประเทศดังกล่าวได้มีการทบทวนและ ปรบั ปรงุ การจัดการศึกษาปฐมวยั ดังน้นั การศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของทง้ั 4 ประเทศ ดังกล่าวจะทำให้ได้ข้อมูลสำคัญในการนำมาพิจารณารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยที่จะ พัฒนาเดก็ ใหส้ ามารถเผชญิ กบั สงั คมในศตวรรษท่ี 21 เช่นเดียวกบั ประเทศตา่ ง ๆ การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและผลการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและ ประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และเปรียบเทียบการจัดการศึกษาปฐมวัย ของไทยกับ 4 ประเทศดังกล่าว รวมทั้งนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีพึงประสงค์ของ ประเทศไทยในยคุ 4.0 โดยการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากบทความ รายงานวจิ ยั คมู่ อื ระเบยี บ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง กับการจัดการศึกษาปฐมวัย และการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครูโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั เจา้ หนา้ ทที่ ที่ ำงานดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั ของจงั หวดั และสำนกั งานเขต จากนั้นนำขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ซึ่งสรุปผลการศึกษาได้ดงั น้ ี 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญปี่ ุ่น สถานศกึ ษาปฐมวัยในประเทศญป่ี นุ่ ประกอบด้วย ศูนย์ดแู ลเดก็ เลก็ โรงเรยี นอนุบาล และ สถานศึกษาท่ีให้บริการดูแลเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล เรียกว่า Kodomoen โดยศูนย์ดูแลเด็กเล็ก อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสุขภาพ สวัสดิการและแรงงานภายใต้กฎหมายสวัสดิการเด็ก โรงเรียนอนุบาลอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีภายใต้กฎหมายสถานศึกษา Kodomoen อยู่ในความรับผิดชอบของทั้ง 2 กระทรวงแบ่ง ตามระดับอายุภายใต้กฎหมายการศึกษาเด็กปฐมวัยและการดูแลเด็กและประกาศท่ีออกโดยจังหวัด รับเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าเรียนรวมได้หากมีระดับ รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ (จ) กรณีศึกษาประเทศญ่ปี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ ความรุนแรงไม่มาก แนวคิดในการจัดการศึกษาปฐมวัยแบ่งได้ 5 ด้าน คือ 1) การพัฒนาด้าน สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ไม่เน้นการสอนอ่านออกเขียนได้แต่จะสอดแทรกไปกับการเล่น 2) การดำรงชีวิตอิสระและการมีลักษณะนิสัยที่จำเป็นในการดำรงชีวิต 3) ครูต้องมีความเชี่ยวชาญ ในการทำแผนการสอน การสอน การบันทึกผล 4) รัฐบาลกลางและท้องถิ่นหรือจังหวัดต้องกำหนด มาตรฐานเพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนครูในการทำงาน กำหนดทิศทางของกิจกรรมทางการศึกษา 5) การวิจัยที่เชื่อมโยงกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การทำงานร่วมกันระหว่างครูกับอาจารย์ใน มหาวิทยาลัย หลักสูตรหรือกรอบแนวทางการจัดการศึกษาปฐมวัยมีเป้าหมายเพ่ือปูพ้ืนฐานในการ ดำรงชีวิต ให้เด็กได้รับประสบการณ์ท่ีสนุกสนาน ได้ทำงานร่วมกับครอบครัว และปูพ้ืนฐานสำหรับ การเรียนในระดับที่สูงข้ึน เนื้อหาของหลักสูตรแบ่งเป็น 5 ด้าน ดังน้ี 1) ด้านสุขภาพ 2) ด้าน สมั พนั ธภาพ 3) ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม 4) ด้านภาษา 5) ดา้ นการแสดงออก การจดั ประสบการณก์ ารเรียน การสอนใช้กิจกรรมการเล่น ครูเล่นกับเด็กเหมือนเพ่ือน กระตุ้นให้เด็กเล่น ไม่สั่งการ ไม่ปกป้องเด็ก จนเกินไป ให้เด็กได้เล่น สัมผัสในพื้นท่ีธรรมชาติ สนุกสนานกับการลองผิดลองถูก ครูเลือกเร่ืองที่จัด ประสบการณ์ให้สอดคล้องกับฤดูกาล ครูหรือผู้ดูแลเด็กจะต้องสอบเพื่อให้ได้ใบประกอบวิชาชีพ สถานศึกษาจัดสถานที่ให้พ่อแม่หรือผู้ปกครองได้มาทำกิจกรรมหรือสามารถสังเกตการสอนของครูได้ การจัดการศึกษาปฐมวัยส่วนใหญ่เอกชนเป็นผู้ลงทุนและดำเนินการมากกว่ารัฐบาล โดยควบคุม การดำเนินการผ่านกฎหมาย และให้การสนับสนุนบางส่วน อย่างไรก็ตาม ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2019 การใช้บริการศูนย์ดูแลเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจัดเป็นบริการที่พ่อแม่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย การเข้า เรียนต่อในระดับประถมศึกษาไม่ต้องมีการสอบเข้าแต่จะมีการประสานข้อมูลพัฒนาการของเด็ก ระหวา่ งโรงเรียนอนบุ าลกับโรงเรียนประถมศึกษา 2. การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศสิงคโปร ์ สถานศึกษาเด็กปฐมวัยในประเทศสิงคโปร์ประกอบด้วย ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก และโรงเรียน อนบุ าล รบั เดก็ ตง้ั แตอ่ ายุ 2 เดือนถงึ 6 ปี โดยศนู ยด์ ูแลเด็กอยใู่ นความรับผิดชอบของกระทรวงสงั คม และพัฒนาครอบครัวภายใต้กฎหมายศูนย์ดูแลเด็ก โรงเรียนอนุบาลอยู่ในความรับผิดชอบของ กระทรวงศึกษาธกิ ารภายใตก้ ฎหมายการศึกษา มกี ารตั้งหนว่ ยงานเพื่อกำหนดระเบยี บ พัฒนาวชิ าชพี และความกา้ วหนา้ ของครปู ฐมวยั และกำกบั ดแู ลการศกึ ษาปฐมวยั โดยเฉพาะ เรยี กวา่ Early Childhood Development Agency (ECDA) และมีการจัดตั้งสถาบันระดับชาติด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย เรยี กว่า National Institute of Early Childhood Development (NIEC) หลกั สูตรปฐมวัยพัฒนา โดยกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า Nurturing Early Learners (NEL) หรือ NEL Framework สำหรับจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กวัย 4-6 ปี ซึ่งมีหลักการสำคัญคือ 1) การส่งเสริม พัฒนาการและการเรียนรู้แบบองค์รวม 2) การเรียนรู้แบบบูรณาการ 3) ผู้ใหญ่เป็นผู้สนับสนุน การเรียนรู้ที่น่าสนใจแก่เด็ก 4) การเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์ 5) การเล่นเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้แบ่งได้ 8 ด้าน ได้แก่ 1) รู้จักว่าสิ่งใดถูกส่ิงใดผิด 2) รู้จักให้และแบ่งปันผู้อื่น (ฉ) รายงานการศกึ ษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศึกษาประเทศญปี่ นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด์ 3) มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อ่ืน 4) มีความอยากรู้อยากเห็นเพ่ือสำรวจส่ิงรอบตัว 5) มีความสามารถ ในการฟงั และพดู 6) มคี วามสขุ ในชวี ติ 7) มพี ฒั นาการและทกั ษะในการทำงานของรา่ งกาย 8) มคี วามรกั ครอบครัว เพื่อน ครู โรงเรียน ทั้งนี้ สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรประกอบด้วย สุนทรียศาสตร์และ การแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ การคน้ หาโลกรอบตวั ภาษาและการรหู้ นงั สอื พฒั นาการดา้ นกลา้ มเนอื้ และการเคล่ือนไหว ความรู้ด้านการคำนวณ พัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้มีหลักการที่เรียกว่า iTech ได้แก่ การวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวม (Integrated Approach to Learning) เช่น เรือ่ งราว โครงงาน ครูเปน็ ผ้อู ำนวยความสะดวกในการ เรยี นรู้ (Teachers as Facilitators of Learning) การใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรผู้ า่ นการเลน่ อย่างมีความหมาย (Engaging Children in Learning Through Purposeful Play) การให้เดก็ ไดเ้ รียนร้ผู า่ นการสัมผัส และการกระทำในสภาพจริง (Authentic Learning Through Quality Interactions) การให้เด็ก สร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์เดิม (Children as Constructors of Knowledge) การพัฒนา แบบองคร์ วม (Holistic Development) กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำกรอบการประกันคุณภาพสำหรับการศึกษาปฐมวัย เรียกว่า Singapore Pre-school Accreditation Framework (SPARK) เพ่ือรับรองและสนับสนุนผู้บริหาร สถานศึกษาปฐมวัยให้มีความพยายามในการพัฒนาการเรียนการสอน การบริหาร และการจัด ประสบการณ์ให้เด็กได้พัฒนาแบบองค์รวมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีเมื่อโตข้ึน องค์ประกอบของเกณฑ์ ประกันคุณภาพ แบ่งได้ 7 ด้าน ดังน้ี 1) ความเป็นผูน้ ำ 2) แผนและการบริหารจดั การ 3) การจดั การ บุคคล 4) แหล่งทรัพยากร 5) หลักสูตร 6) การสอน 7) สุขภาพ สุขอนามัย และความปลอดภัย ครปู ฐมวยั ตอ้ งสำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาดา้ นปฐมวยั และผดู้ แู ลเดก็ จะตอ้ งผา่ นการอบรมในหลกั สตู ร ท่ีได้รับการรับรอง นอกจากน้ี รัฐบาลส่งเสริมให้ครูปฐมวัยเข้าอบรมเพื่อเรียนรู้ภาษาแม่ท้ังสามภาษา ได้แก่ ภาษาจีน มาเลย์ และทมิฬ มีการจัดทำคู่มือเกี่ยวกับแนวทางการจัดหลักสูตรอนุบาลสำหรับ พ่อแม่ เรียกว่า Nurturing Early Learners-A Curriculum Framework for Kindergartens in Singapore: A Guide for Parents ซง่ึ อธิบายผลลัพธ์ท่สี ำคัญในแต่ละขั้น แนวทางการจัดหลกั สูตร ธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก พ่อแม่จะสนับสนุนได้อย่างไร การแบ่งปันข้อมูลกับครู เป็นต้น ทำให้เกิดความเชอ่ื มโยงระหวา่ งบา้ นกับโรงเรยี น การเข้าเรียนในระดับประถมไม่มีการสอบเขา้ 3. การจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศออสเตรเลยี สถานศึกษาปฐมวัยในประเทศออสเตรเลียประกอบด้วย ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก โรงเรียน อนุบาล สถานรับเล้ียงเด็กสำหรับครอบครัว และสถานบริการดูแลเด็กนอกเวลาเรียน สถานศึกษา ปฐมวัยรับเด็กต้ังแต่อายุ 2-6 ปี และรับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษเข้าเรียนรวม โดยจัดทำหลักสูตร ปฐมวัย เรียกวา่ The Early Learning Framework (EYLF) ซง่ึ กำหนดผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ไู ว้ 5 ขอ้ คอื 1) เด็กสามารถรู้สึกถึงอัตลักษณ์ของตนเอง 2) เด็กมีความรู้สึกเช่ือมโยงและช่วยเหลือในโลกของ ตนเอง 3) เด็กมีความรู้สึกเป็นสุข 4) เด็กมีความม่ันใจและเป็นผู้มีส่วนร่วม 5) เด็กสามารถส่ือสาร รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ (ช) กรณีศกึ ษาประเทศญ่ีปุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ี หลักสูตรมีสาระสำคัญ 3 ประการ คือ 1) การรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง (Belonging) คือรู้ว่า ตนเองอยู่ไหนกับใครบ้าง การเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวชุมชน 2) การเป็น ตวั ของตวั เอง (Being) คอื การคน้ หาความหมายหรอื สงิ่ ทอี่ ยากเปน็ ไดท้ ำสง่ิ ทตี่ อ้ งการ 3) การพฒั นาตน (Becoming) คือการเปลี่ยนแปลงของตัวตน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและความสัมพันธ์ในระหว่าง ช่วงวัยเด็กตอนต้น สำหรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้จะใช้การสอนผ่านการเล่นซึ่งครูมีบทบาท สำคัญในการสนับสนุนการเล่นและการเรียนรู้ของเด็ก การต่อยอดการเรียนรู้ของเด็กโดยไม่เข้าไป ควบคุมหรือไปมีบทบาทในการเล่นแทนที่เด็ก นอกจากนี้ ครูจะต้องรู้ว่าจะสอนอะไร (Intentional teaching) ทำไมต้องสอนเรื่องนี้ จะใช้ส่ืออะไรในการสอน ต้องมีการวางแผนและเตรียมความพร้อม ก่อนที่จะสอน การประเมินผลการเรียนรู้จะเป็นการรายงานพัฒนาการของเด็กให้ผู้ปกครองทราบ ทุกภาคการศึกษา แต่ครูจะมีการเก็บรวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กเป็นระยะ โดยการสังเกต การจดบันทกึ ถ่ายรูปผลงานเด็ก ถา่ ยวิดีโอเวลาเด็กทำกจิ กรรม มีการจดั ทำแฟ้มสะสมงาน ประเทศออสเตรเลียจัดทำกรอบมาตรฐานคุณภาพระดับชาติสำหรับเด็กปฐมวัย เรียกว่า National Quality Framework for Early Childhood and Care (NQF) ซึ่งประเมินคุณภาพ การจัดการศกึ ษา 7 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) โปรแกรมการศึกษาและการปฏิบตั ิ 2) สขุ ภาพและความปลอดภยั ของเดก็ 3) สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ 4) การจดั เตรยี มบคุ ลากร 5) ความสมั พนั ธก์ บั เดก็ 6) การทำงาน ร่วมกันของครอบครัวและชุมชน 7) ระบบการจัดการและการเป็นผู้นำ นอกจากนี้ กรอบมาตรฐาน คุณภาพระดับชาติสำหรับเด็กปฐมวัยได้กำหนดให้ครูอนุบาลต้องลงทะเบียนแต่ไม่ได้บังคับในทุกรัฐ และจะต้องได้รับการตรวจสอบประวตั ิ รัฐบาลออสเตรเลียให้การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการพัฒนา การเรียนรู้ของเด็ก เช่น การทำโปรแกรมกิจกรรมในแต่ละวัน การให้ข้อคิดเห็นในการจัดการเรียนรู้ เปน็ ตน้ จากรายงานการประเมนิ คณุ ภาพในปี 2018 พบวา่ สถานศกึ ษาปฐมวยั ร้อยละ 52 มีมาตรฐาน ระดับ 5 คือมีความเป็นเลิศ ร้อยละ 33 มีมาตรฐานเกินระดับชาติ ร้อยละ 45 เทียบเท่ามาตรฐาน ระดบั ชาติ การเขา้ เรยี นตอ่ ในระดบั ประถมศกึ ษาไมม่ กี ารสอบเขา้ แตจ่ ะมกี ารเตรยี มเดก็ ในการเปลย่ี นผา่ น ไปสู่ระดบั ช้นั ท่สี งู ขึน้ มีการประสานขอ้ มูลของเดก็ ระหวา่ งโรงเรยี นอนบุ าลและโรงเรยี นประถมศึกษา 4. การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศนวิ ซแี ลนด์ สถานศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศนวิ ซีแลนดป์ ระกอบด้วย ศูนย์ดแู ลเด็กเล็ก โรงเรยี นอนุบาล บา้ น Te Kura และ Play Centres/Play Group รบั เด็กต้ังแตแ่ รกเกิดถึง 5 ปี และรับเด็กทีม่ คี วาม ต้องการพิเศษเข้าเรียนรวม ประเทศนิวซีแลนด์จัดทำหลักสูตรปฐมวัยเรียกว่า Te Whariki และ ปรับปรุงเมื่อปี 2017 มีหลักการสำคัญ คือ 1) การสร้างความเข็มแข็ง 2) การพัฒนาแบบองค์รวม 3) การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน 4) ความสัมพันธ์ สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) การอยู่ดีมีสุข (Wellbeing) 2) การเป็นส่วนหนึ่ง (Belonging) 3) การสนับสนุน (Contribution) 4) การสื่อสาร (Communication) 5) การสำรวจ (Exploration) โดยมีผลลัพธ์ (ซ) รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณศี ึกษาประเทศญีป่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ การเรียนรูค้ ือ เดก็ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อื่นรวมทง้ั ความปลอดภัย รู้จักการตนเองและ ควบคมุ อารมณ์ สามารถเช่อื มโยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล สถานทแ่ี ละสง่ิ ต่าง ๆ ในโลก การแสดง ตนเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาสถานที่ของตน การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ การปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่าง เท่าเทียม มีทักษะในการเล่นกับผู้อ่ืน เข้าใจและภูมิใจในความสามารถของตน การส่ือสารโดยใช้ ท่าทาง ภาษาพูด การฟังหรือเล่าเรื่องราว มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับอักษร สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ การแสดงความรูส้ ึก มจี นิ ตนาการ การหาเหตุและผลเพ่อื แก้ปัญหา ครูจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่านการเล่น และมีการกำหนดกิจกรรมการเล่นแบบกลุ่ม จำนวน 23 กิจกรรม ได้แก ่ งานไม้ ดนิ เหนียว กิจกรรมดนตรี การแปะกระดาษชน้ิ เลก็ ใหเ้ ป็นรปู ภาพ การเล่นทำอาหาร การเลน่ ดนิ ทราย การไปทศั นศกึ ษา การเลน่ นำ้ เปน็ ตน้ การประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ ชว้ ธิ กี ารสงั เกต มกี ารรวบรวม ผลการเรียนรู้และจัดทำเป็นเล่ม เรียกว่า Learning Stories ครูหรือผู้ปกครองจะเขียนส่ิงสำคัญ ทเ่ี ดก็ ทำได้ มกี ารถา่ ยรูป วิดีโอ มีการรายงานผลโดยใช้ระบบออนไลน์ ข้อมูลตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวกบั แนวทาง การประเมินผล ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์สำหรับครู ผู้ปกครอง สามารถดูได้ในเว็บไซต์ของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร รัฐบาลนิวซีแลนดจ์ ดั ใหม้ ีหนว่ ยตรวจสอบคณุ ภาพ เรียกวา่ Education Review Office (ERO) ซึ่งในการประเมินคุณภาพจะพิจารณา 2 ตัวช้ีวัด ได้แก่ 1) ตัวช้ีวัดด้านผลลัพธ์ เป็น การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งห้าข้อ 2) ตัวชี้วัดด้านกระบวนการ ประกอบด้วย ด้านผู้เรียน และการเรียนรู้ ด้านการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ การประเมินเพื่อการปรับปรุงผู้นำ การมีส่วนร่วม และการปรับปรุงการให้บริการและการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ครูจะต้องได้รับใบรับรอง หรือใบประกอบวิชาชีพ เมื่อสำเร็จการศึกษาสาขาปฐมวัยต้องผ่านการประเมินคุณสมบัติการเป็นครู จาก New Zealand Qualification Authority (NZQA) ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ ครจู ากสภาการสอน (Teaching Council) และต้องได้รับใบรับรองว่าไม่มีประวัติด่างพร้อยจากหน่วยงานของตำรวจ การเขา้ เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาไม่มกี ารสอบ มกี ารเตรยี มเด็กเพื่อเปลยี่ นผา่ นไปสู่ระดับประถมศกึ ษา 5. การจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย สถานศึกษาปฐมวัยของไทยประกอบด้วย ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ท่ีเรียกช่ือหลากหลายตาม กระทรวงที่รับผิดชอบ โดยศูนย์ดูแลเด็กเล็กจะอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนอนบุ าล ประถม/มัธยม ที่จัดการศึกษาระดับอนุบาล อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร รับเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 6 ปี ดำเนินการจัดการศึกษาภายใต้พระราชบัญญัติ การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2562 โดยมีหลักการสำคญั คอื ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการ ของเด็กทุกคน การเลี้ยงดูและการศึกษาเน้นเด็กเป็นสำคัญ คำนึงถึงพัฒนาการและการพัฒนาเด็ก แบบองค์รวมผ่านการเล่น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต ปฏิบัติตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย มีความสุข สร้างความรู้ความเข้าใจ และร่วมมือกับพ่อแม่ รายงานการศึกษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ (ฌ) กรณีศกึ ษาประเทศญปี่ ่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด ์ ครอบครัว ชุมชน หลักสูตรปฐมวัยแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี และอายุ 3-6 ปี ซ่ึงม ี จุดมุ่งหมายและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์คล้ายคลึงกัน สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย 1) เรื่องราว เกย่ี วกบั ตัวเด็ก 2) เรอ่ื งราวเก่ียวกบั บคุ คลและสถานท่แี วดล้อมเดก็ 3) ธรรมชาตริ อบตวั 4) สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใช้แนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น การจัดประสบการณ์ตรง ให้เด็กได้เลือก และลงมือทำ เน้นเด็กเป็นสำคัญ กิจกรรมแบบบูรณาการ มีการประเมินพัฒนาการ อย่างต่อเนื่อง รัฐบาลเห็นชอบการจัดทำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพื่อเป็นเครื่องมือ ประเมินคุณภาพของสถานศึกษาปฐมวัยทุกสังกัด มีองค์ประกอบ 3 มาตรฐาน ได้แก่ การบริหาร จัดการอย่างเป็นระบบ ครูและผู้ดูแลเด็ก คุณภาพของเด็กปฐมวัย ท้ังน้ี ครูปฐมวัยจะต้องสำเร็จ การศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี สาขาปฐมวัยหรือท่ีเก่ียวข้อง โดยได้รับการอบรม/เรียนด้านปฐมวัย ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมง สำหรับผู้ดูแลเด็กต้องผ่านการอบรมจากหลักสูตรท่ีได้รับการรับรอง รัฐบาล กำหนดบทบาทของพอ่ แม่ ผปู้ กครองให้มสี ว่ นรว่ มในการสนับสนุนทรัพยากร พฒั นาหลักสตู ร การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ มีสิทธิรับรู้ข่าวสารและผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบตั ิตามคำแนะนำของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย 6. การเปรยี บเทยี บการจัดการศึกษาปฐมวยั จากการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ประเทศญป่ี นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์และไทย พบว่าส่วนใหญ่สถานศึกษาเด็กปฐมวัยประกอบด้วย ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก และ โรงเรียนอนุบาล หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาปฐมวัย คือกระทรวงด้านการพัฒนาสังคม รับผิดชอบศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ส่วนกระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบโรงเรียนอนุบาล ยกเว้นประเทศ ออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์ท่ีมีกระทรวงศึกษาธิการเพียงหน่วยงานเดียวรับผิดชอบ ส่วน ประเทศไทยมีจำนวนหน่วยงานที่รับผิดชอบเกิน 2 หน่วยงาน ส่วนใหญ่เร่ิมให้บริการการศึกษาตั้งแต่ ทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี ยกเว้นประเทศออสเตรเลยี เรม่ิ ใหบ้ รกิ ารตั้งแต่อายุ 2-3 ปี และประเทศ สิงคโปร์ซ่ึงเร่ิมท่ีเด็กอายุ 2 เดือน และวัยอนุบาลจะเร่ิมเมื่อเด็กอายุ 4-6 ปี เกือบทุกประเทศ การสมคั รเขา้ เรยี นจะดำเนนิ การโดยพอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครองทส่ี ามารถสมคั รไดโ้ ดยตรงกบั ทางสถานศกึ ษา ยกเว้นประเทศญ่ีปุ่นศูนย์ดูแลเด็กต้องสมัครผ่านสำนักงานเขตของแต่ละจังหวัด ส่วนโรงเรียนอนุบาล พ่อแม่สามารถสมัครได้โดยตรงท่ีโรงเรียน ประเทศสิงคโปร์สถานศึกษาของรัฐพ่อแม่สามารถ ลงทะเบียนสมัครเข้าเรียนทางออนไลน์ของกระทรวงศึกษาธิการ สำหรับสถานศึกษาของเอกชน สามารถสมัครได้ท่ีสถานศึกษาโดยตรง สำหรับช่วงเวลาให้บริการพบว่า ประเทศญ่ีปุ่นและประเทศ สิงคโปร์มีระยะเวลาขั้นต่ำใกล้เคียงกันคือ ในศูนย์ดูแลเด็กเล็กใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 8 ชั่วโมงต่อวันและ ในระดับอนุบาลไมต่ ่ำกวา่ 4 ช่วั โมงต่อวัน ในประเทศนิวซีแลนดแ์ ละประเทศไทยมีระยะเวลาใกล้เคียง กันคือประมาณ 7 ช่ัวโมงต่อวัน ส่วนประเทศท่ีกำหนดระยะเวลาขั้นต่ำน้อยที่สุดคือประเทศ ออสเตรเลียกำหนดไว้ 3 ชว่ั โมงต่อวัน (ญ) รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศึกษาประเทศญี่ปนุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด์ กลไกสำคญั ในการขับเคลือ่ นการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในทุกประเทศคือ การออกกฎหมาย โดยจะมีกฎหมายหรือระเบียบเฉพาะสำหรับจัดการศึกษาปฐมวัย เช่น School Education Law, Article 2 และ Act on Child Education and Child Care Support ของประเทศญี่ปนุ่ ระเบียบ การจัดการศึกษาปฐมวัยของ The Early Childhood Education Agency (ECDA) ของประเทศ สิงคโปร์ Early Childhood Services Regulations 2008 ของประเทศนิวซีแลนด์ และพระราช- บัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 ของประเทศไทย เป้าหมายของหลักสูตรของทุกประเทศ ท่ีเหมือนกันคือเร่ืองการให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่มีความสุข สนุกสนาน แต่อาจจะแตกต่างกัน ในระดบั ความสำคัญ ในสปี่ ระเทศใหค้ วามสำคญั ในเรอื่ งการอยู่ร่วมกับผ้อู ่ืน ทกั ษะการส่อื สาร ยกเว้น ประเทศไทยท่ีเน้นพัฒนาการโดยรวมทุกด้าน เน้ือหาของหลักสูตรพบว่า ประเทศญ่ีปุ่นและประเทศ นิวซีแลนด์มีความคล้ายคลึงกัน ประเทศออสเตรเลียเน้นการให้เด็กได้รู้จักตนเอง การมีอยู่ของตนเอง ท่ีเป็นส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อม ประเทศสิงคโปร์ยังเน้นในเรื่องการอ่านออก การคิดคำนวณและ สนุ ทรยี ศาสตร์ ประเทศไทยเนน้ ทตี่ วั เดก็ และสงิ่ แวดลอ้ มของเดก็ ทกุ ประเทศระบใุ หค้ รจู ดั ประสบการณ ์ การเรียนรู้ผ่านการเล่น (Play-Based Approach) ท้ังส่วนใหญ่กำหนดให้ครูปฐมวัยต้องมีใบรับรอง วชิ าชีพครูปฐมวัย ยกเว้นประเทศไทยท่ใี ชใ้ บรับรองวชิ าชีพครทู ัว่ ไป ส่วนผ้ดู ูแลเด็กเล็กไม่มีใบประกอบ วิชาชีพที่ต้องต่ออายุเหมือนใบประกอบวิชาชีพท่ัวไปแต่จะต้องผ่านการอบรมจากสถาบันท่ีได้รับ การรับรองและ/หรือสอบผ่านจะได้ใบรับรองเพื่อทำงานในศูนย์ดูแลเด็กได้ ในแต่ละประเทศจะมี สัดส่วนครูต่อเด็กใกล้เคียงกันคือ ครู 1 คน ต่อเด็กจำนวน 3-4 คน และในประเทศออสเตรเลีย นวิ ซแี ลนด์ กำหนดให้มีการตรวจสอบประวตั คิ รูปฐมวยั เมอื่ พจิ ารณาในดา้ นมาตรฐานสถานศกึ ษาพบวา่ ประเทศญปี่ นุ่ และนวิ ซแี ลนด์ ใชก้ ฎหมาย เป็นเกณฑ์ในการกำกบั มาตรฐานสถานศกึ ษาปฐมวยั ในขณะทปี่ ระเทศสิงคโปร์ ออสเตรเลยี และไทย มหี นว่ ยงานดา้ นประกนั คณุ ภาพมาดำเนนิ การตรวจสอบและรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา อยา่ งไรกต็ าม ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สำหรับการเข้าเรียนระดับ ประถมศึกษา ประเทศญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไม่มีการสอบเข้า แต่จะมีการเตรียม เดก็ เพ่ือเปลย่ี นผ่านไปสโู่ รงเรยี นประถมศึกษาและเดก็ จะเรียนในเขตท่อี ยูอ่ าศยั 7. รปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ไทยทพ่ี งึ ประสงคใ์ นยคุ 4.0 จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ร่วมกับเป้าหมายประเทศไทย 4.0 และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยควรมีการทบทวนเพื่อเตรียมพร้อมเด็กที่จะเติบโตและเผชิญกับ ความเปลีย่ นแปลงในอนาคต โดยรูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยในยุค 4.0 อาจสรุปไดด้ งั นี้ 1. กระทรวงทีร่ บั ผิดชอบในการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ควรมีจำนวนไมม่ ากเกินไป เพราะจะ ทำให้เกิดความซำ้ ซอ้ นในการทำงาน การใช้ทรัพยากรรว่ มกนั รวมทัง้ ความเชีย่ วชาญ รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ (ฎ) กรณีศึกษาประเทศญ่ีปนุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด ์ 2. เป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยควรระบุอย่างชัดเจนไม่หลากหลายหรือกว้างเกินไป ซ่ึงตามบริบทของเป้าหมายประเทศไทย 4.0 และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การพัฒนา เด็กปฐมวัยควรให้ความสำคัญในเร่ือง 1) เด็กมีสุขภาพดี ตระหนักถึงความปลอดภัย 2) มีความรัก ธรรมชาติ 3) การมสี ัมพันธภาพที่ดกี ับผู้อนื่ 3. สถานศึกษาปฐมวัยควรให้ความสำคัญกับพื้นท่ีภายนอกและภายในห้องเรียน การมี อุปกรณ์ สื่อ ของเล่นท่ีเพียงพอ การจัดสภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับประสบการณ์ของธรรมชาติ การมี หอ้ งสำหรับชงนม เครื่องลา้ งขวดนม เคร่ืองซักผา้ การเกบ็ และจัดทุกอยา่ งให้เปน็ ระเบียบและสะอาด รวมท้งั การจดั อาหารว่างและอาหารกลางวนั ควรสง่ั จากผูป้ ระกอบการทีไ่ วใ้ จได้ การใหบ้ รกิ ารรถรบั สง่ ควรปรบั สภาพภายในรถใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งานของเดก็ ปฐมวยั เชน่ ทีน่ ง่ั เข็มขัดนริ ภยั เปน็ ต้น 4. เน้ือหาของหลักสูตรสำหรับเด็กปฐมวัยที่จะเติบโตในยุค 4.0 ควรมีสาระสำคัญ เกี่ยวกบั 1) การจักตนเอง รูว้ า่ เปน็ ส่วนหน่ึงของครอบครัว สังคมและประชากรโลก 2) การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติ ความสำคัญของธรรมชาติและส่ิงมีชีวิตรอบตัว 3) การมีสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อ่ืน การรู้จัก ใจเขาใจเรา การร่วมมือกันทำกิจกรรม 4) การปฏิบัติตนให้มีสุขภาพที่ดีและปลอดภัยท้ังตัวเราและ ต่อผอู้ ่นื รวมทั้งการรกั ษากฎ กตกิ า 5) การส่ือสาร การถาม การบอกเล่าเรื่อง การฟงั ผู้อนื่ 5. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ควรใช้การเรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างอิสระและการเล่น อย่างมีวัตถุประสงค์ (Play-Based Learning Approach) การทำโครงงาน (Project-Based Learning) การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพ่ือให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ตลอด เวลา การจัดประสบการณ์ตรงให้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน การให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ท้ังน้ี ในทุกกิจกรรมเด็กควรทำอย่างมีความสุข รวมท้ังเด็กท่ีมีความต้องการ พเิ ศษ 6. การประเมินผลไม่ใช้การสอบขอ้ เขียนแตเ่ ปน็ การสังเกตพฒั นาการของเด็ก โดยการจด บนั ทึกพฤตกิ รรม ผลงานของเดก็ การบนั ทกึ วิดโี อ การสอบถามพอ่ แม ่ 7. ครูควรจบการศึกษาระดับปริญญาตรีและได้รับใบประกอบวิชาชีพ ผู้ดูแลเด็กควร สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและได้รับการอบรม มีใบประกอบวิชาชีพ มีการอบรม ครู/ผดู้ แู ลเดก็ ทกุ 5 ปี เพือ่ ใหม้ สี มรรถนะในการพัฒนาเดก็ และจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ครปู ฐมวยั ควรได้รับเงนิ เดอื นท่สี อดคลอ้ งกับภาระความรบั ผดิ ชอบ ควรมกี ารตรวจประวตั คิ รู/ผู้ดูแลเด็ก 8. ครูไม่ควรคาดหวังหรือบอกให้พ่อแม่ต้องไปทำกิจกรรมเฉพาะเพ่ือพัฒนาเด็ก แต่ควร แนะนำให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่พ่อแม่หรือผู้ปกครองต้องทำในแต่ละวันอยู่แล้ว ทำให้ พ่อแม่หรือผู้ปกครองได้เห็นพัฒนาการเด็กในทุกด้าน และควรจัดให้มีสมาคมผู้ปกครอง ครู (Parent Teacher Association: PTA) เพื่อจดั กิจกรรมต่าง ๆ และแลกเปลี่ยนขอ้ มูลการพฒั นาเด็ก จะชว่ ยลด ความกังวลของพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการเปลีย่ นผา่ นไปส่รู ะดบั ประถม (ฏ) รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศึกษาประเทศญ่ีปนุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ 8. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 1. สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาควรจดั เวทเี พอ่ื รว่ มกนั หาแนวทางในการดำเนนิ งาน ของแต่ละกระทรวงที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาปฐมวัย และความเป็นไปได้ในการลดกระทรวง ที่รบั ผดิ ชอบหรือกำหนดภาระงานที่ชดั เจนของแต่ละกระทรวง 2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาควรวางแนวทางร่วมกับกระทรวงที่รับผิดชอบ ในการจัดการศึกษาปฐมวัยรวมท้ังสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษาในการ ตรวจสอบและให้คำแนะนำสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการจัดการศึกษาปฐมวยั 3. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาควรร่วมกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม และกระทรวงสาธารณสขุ วางแผนแนวทางการผลิตและพฒั นาผดู้ ูแลเด็กเล็กและ ครูปฐมวัยให้มีความรู้ ทักษะในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กในยุค 4.0 และมีคุณภาพ ตามเกณฑอ์ ย่างยัง่ ยืนทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว 4. สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาและกระทรวงทเ่ี กย่ี วขอ้ งควรผลกั ดนั ใหส้ ถานศกึ ษา ปฐมวยั จดั การศกึ ษาแบบเรยี นรวม โดยให้เด็กทีม่ ีความต้องการพเิ ศษได้เรียนรวมกับเดก็ ท่วั ไป 5. รัฐบาลควรทบทวนการจัดสรรงบประมาณแก่สถานศึกษาปฐมวัย ควรให้สถานศึกษา ได้รับงบประมาณเพียงพอในการจัดซื้อส่ือ อุปกรณ์ หนังสือ รวมท้ังค่าอาหารกลางวัน ตามภาวะ เศรษฐกิจในปัจจบุ ัน 6. รัฐบาลควรส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยเพื่อนำมาใช้ในการจัดประสบการณ ์ การเรยี นรสู้ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยมที งั้ ทกี่ ำหนดหวั ขอ้ และแบบอสิ ระ เปน็ งานวจิ ยั ทไี่ มไ่ ดต้ อ้ งการคำตอบ หลาย ๆ อย่าง แบบกว้าง ๆ ซึ่งไมส่ ามารถนำไปใชป้ ฏบิ ัตไิ ด้ แต่ควรเปน็ งานวจิ ัยทต่ี อบคำถามประเด็น เดยี วอย่างชดั เจน รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ (ฐ) กรณศี ึกษาประเทศญีป่ ุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด์ สาร บัญ หนา้ (ก) (ค) คำนำ (ง) คำนำคณะผวู้ จิ ัย (ฐ) บทสรปุ ผบู้ ริหาร (ณ) สารบญั (ต) สารบัญตาราง 1 สารบัญภาพ 1 บทที่ 1 บทนำ 2 1.1 หลักการเหตผุ ล 2 1.2 วัตถุประสงค ์ 1.3 วิธีดำเนนิ การ 3 3 บทที่ 2 การจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศญี่ปนุ่ 8 2.1 ประวัติความเป็นมา 11 2.2 กลไกการขบั เคล่อื นดา้ นการศึกษา 17 2.3 หลกั สตู ร 21 2.4 การนำแผนและหลกั สตู รไปสกู่ ารปฏิบัติ 23 2.5 มาตรฐานการจดั การศึกษา 24 2.6 งบประมาณและการลงทนุ 29 2.7 การจดั การศึกษาสำหรบั เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษระดับปฐมวัย 2.8 ผลการจดั การศกึ ษา 32 32 บทที่ 3 การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศสงิ คโปร ์ 34 3.1 ประวตั คิ วามเป็นมา 36 3.2 กลไกการขับเคล่ือนด้านการศกึ ษา 43 3.3 หลกั สตู ร 47 3.4 การนำแผนและหลักสูตรไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ 57 3.5 มาตรฐานการจดั การศึกษา 58 3.6 งบประมาณและการลงทุน 58 3.7 การจดั การศึกษาสำหรับเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษระดับปฐมวยั 3.8 ผลการจัดการศกึ ษา (ฑ) รายงานการศกึ ษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี ุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 61 61 บทท่ี 4 การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศออสเตรเลีย 62 4.1 ประวัติความเปน็ มา 65 4.2 กลไกการขับเคลอ่ื นดา้ นการศกึ ษา 68 4.3 หลกั สูตร 75 4.4 การนำแผนและหลกั สูตรไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 86 4.5 มาตรฐานการจดั การศึกษา 88 4.6 งบประมาณและการลงทนุ 90 4.7 การจดั การศึกษาสำหรบั เด็กทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษระดบั ปฐมวัย 4.8 ผลการจดั การศกึ ษา 92 92 บทท่ี 5 การจดั การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศนิวซแี ลนด์ 94 5.1 ประวัตคิ วามเปน็ มา 95 5.2 กลไกการขบั เคล่ือนด้านการศึกษา 97 5.3 หลักสูตร 103 5.4 การนำแผนและหลักสูตรไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 108 5.5 มาตรฐานการจดั การศกึ ษา 111 5.6 งบประมาณและการลงทนุ 112 5.7 การจัดการศกึ ษาสำหรบั เด็กทีม่ คี วามต้องการพเิ ศษระดับปฐมวยั 5.8 ผลการจดั การศกึ ษา 113 113 บทที่ 6 การจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย 114 6.1 ประวตั คิ วามเป็นมา 118 6.2 กลไกการขบั เคลื่อนดา้ นการศกึ ษา 126 6.3 หลักสตู ร 132 6.4 การนำแผนและหลกั สูตรไปสู่การปฏิบตั ิ 136 6.5 มาตรฐานการจดั การศกึ ษา 137 6.6 งบประมาณและการลงทนุ 138 6.7 การจัดการศึกษาสำหรบั เดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการพิเศษระดับปฐมวัย 6.8 ผลการจดั การศึกษา รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ (ฒ) กรณีศกึ ษาประเทศญี่ปนุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ สารบญั (ตอ่ ) หน้า 140 152 บทที่ 7 การเปรยี บเทียบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยกบั ต่างประเทศ 152 บทท่ี 8 รูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยไทยทีพ่ งึ ประสงคใ์ นยคุ 4.0 156 8.1 บริบท 158 8.2 ปัจจัย 163 8.3 การดำเนนิ งาน 8.4 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 164 บรรณานกุ รม (ณ) รายงานการศกึ ษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศญี่ป่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด ์ สารบญั ตาราง หนา้ 7 41 ตารางท่ี 2.1 การเปรียบเทยี บความแตกต่างของสถานศึกษาและศูนย์ดแู ลเดก็ ปฐมวัย 56 ตารางท่ี 3.1 จุดม่งุ หมายการเรยี นรขู้ องหลกั สตู รจำแนกตามสาระการเรยี นรู้ 76 ตารางท่ี 3.2 สัดสว่ นบุคลากรในสถานศกึ ษาตอ่ เดก็ 77 ตารางท่ี 4.1 มาตรฐานด้านโปรแกรมการศึกษาและการปฏิบตั ิ 78 ตารางที่ 4.2 มาตรฐานด้านสขุ ภาพและความปลอดภยั ของเด็ก 79 ตารางท่ี 4.3 มาตรฐานดา้ นสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 80 ตารางท่ี 4.4 มาตรฐานดา้ นการจัดเตรยี มบคุ ลากร 80 ตารางท่ี 4.5 มาตรฐานด้านความสัมพนั ธก์ ับเดก็ 81 ตารางท่ี 4.6 มาตรฐานด้านการทำงานร่วมกันของครอบครัวและชมุ ชน 83 ตารางท่ี 4.7 มาตรฐานด้านระบบการจดั การและการเป็นผู้นำ 86 ตารางที่ 4.8 นโยบายการลงทะเบยี นในการเปน็ ครูของแตล่ ะรฐั และองคก์ รทด่ี แู ล 90 ตารางท่ี 4.9 การสนบั สนนุ และงบประมาณในการพัฒนาการบริการการศกึ ษาปฐมวยั ตารางที่ 4.10 ผลคะแนนการประเมินคุณภาพของสถานศกึ ษาในแตล่ ะรัฐ 91 ของประเทศออสเตรเลยี ตารางท่ี 4.11 ผลคะแนนการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษาในประเทศออสเตรเลยี 96 แบง่ ตามเกณฑม์ าตรฐาน 104 ตารางที่ 5.1 สาระการเรียนรู้ จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร และผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 105 ตารางที่ 5.2 ตัวช้วี ัดดา้ นผลลัพธก์ ารเรียนรจู้ ำแนกตามสาระการเรยี นร้ ู 109 ตารางท่ี 5.3 ตัวช้ีวัดกระบวนการ ตารางที่ 5.4 อตั ราการสนับสนุนงบประมาณสำหรบั ครูที่จดั การเรียนการสอนเตม็ วัน ในศนู ย์ดูแลเด็ก 109 ตารางที่ 5.5 อตั ราการสนับสนนุ งบประมาณสำหรบั ครูทจ่ี ดั การเรยี นการสอนเฉพาะคาบ ในศนู ย์ดแู ลเดก็ 110 ตารางที่ 5.6 อัตราการสนบั สนนุ งบประมาณสำหรับครทู ่จี ัดการเรยี นการสอนเฉพาะคาบ และเต็มวันในโรงเรียนอนบุ าล 110 ตารางท่ี 5.7 อตั ราการสนบั สนุนงบประมาณสำหรับครูที่จดั การเรยี นการสอนท่ีบ้าน 119 ตารางท่ี 6.1 จุดม่งุ หมายเมือ่ เด็กจบการศึกษาระดบั ปฐมวัย 121 ตารางที่ 6.2 มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ระดับปฐมวยั รายงานการศึกษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ (ด) กรณีศกึ ษาประเทศญ่ปี นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด์ สารบัญตา ราง (ต่อ) หน้า 137 138 ตารางท่ี 6.3 รอ้ ยละของงบประมาณรายจา่ ยดา้ นการศกึ ษา ปีงบประมาณ 2555-2560 145 ตารางท่ี 6.4 จำนวนนักเรยี นปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2562 ตารางท่ี 7.1 การเปรียบเทียบการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศญปี่ ุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนดก์ ับประเทศไทย (ต) รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญปี่ ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด ์ สารบัญ ภาพ หน้า 38 39 ภาพที่ 3.1 กระบวนการเรียนรู้ผ่านการเลน่ 40 ภาพท่ี 3.2 วงจรการเรียนร ู้ 52 ภาพที่ 3.3 หลักการของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั 64 ภาพท่ี 3.4 แนวคิดเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพ 162 ภาพที่ 4.1 ตัวอย่างบตั รสำหรับผทู้ ีท่ ำงานกับเดก็ ภาพท่ี 8.1 รปู แบบการจดั การศึกษาปฐมวัยทพี่ งึ ประสงคใ์ นยุค 4.0 รายงานการศึกษารปู แบบการจดั การศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 1 กรณศี ึกษาประเทศญ่ปี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการเหตผุ ล ในช่วงปีแรกของชีวิตสมองมีพัฒนาการเร็วมากในเรื่องที่เกี่ยวกับการรับความรู้สึกและภาษา ส่วนพัฒนาการทางความคิดจะมากสุดตอนช่วงอายุ 2-3 ปี (Essa, 2007) นอกจากนี้เด็กในช่วง 3 ปีแรกการกระตุ้นพัฒนาการของสมองที่สําคัญมากคือในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมอารมณ์ ทักษะ ทางสังคม ภาษา และตัวเลข (OECD, 2017) และจากรายงานการศึกษาขององคก์ รเพอ่ื ความร่วมมอื และการพัฒนาเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) พบว่าเด็กท่ีอายุ 15 ปีท่ีมีลักษณะที่พึงประสงค์ มักจะเป็นเด็กท่ีได้รับประสบการณ์จาก การจัดการศกึ ษาปฐมวัยอย่างนอ้ ย 2 ปี ดังนน้ั ประเทศตา่ ง ๆ ในกลมุ่ OECD จึงใหค้ วามสาํ คญั กับ การศึกษาระดับปฐมวัยโดยเพิ่มการลงทุนกับสถานศึกษาและสถานรับเลี้ยงเด็ก ตลอดจนผลักดัน ให้ประเทศในกลุ่มสมาชิกมีการพัฒนากรอบแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยและสร้างความ ตระหนักว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีมีคุณภาพจะไม่เกิดประโยชน์หากไม่มีการจัดการประถมศึกษา ท่ีมีคุณภาพอย่างต่อเน่ือง (Adreas & Schleicher, 2017) สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ได้จัดกลุ่มประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิกจากทั้งหมด 148 ประเทศ เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ประเทศท่ีพัฒนาเศรษฐกิจระดับสูง ระดับกลาง และระดับต้น พบว่ากลุ่มประเทศพัฒนาเศรษฐกิจ ระดับสูงมีคุณภาพการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาในอันดับต้น เช่น ญี่ปุ่น (21) สิงคโปร์ (3) ออสเตรเลีย (22) นิวซีแลนด์ (6) ส่วนประเทศไทยอยู่ในกลุ่มระดับกลาง (86) (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2556) ซึ่งประเทศในกลุ่มพัฒนาเศรษฐกิจระดับสูงดังกล่าวได้ให้ความ สําคัญกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพ่ือให้ทันการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 เช่น ประเทศญี่ปุ่นที่เน้น ให้เด็กรู้จักการดํารงชีวิตพ้ืนฐานและนิสัยการเรียน การทํางานเป็นกลุ่ม และการเล่น (Research Center for Child and Adolescent Development and Education, n.d.) ประเทศสิงคโปร ์ ให้ความสําคัญกับครอบครัวและชุมชนซ่ึงมีบทบาทสําคัญ โดยมีเป้าหมายให้เด็กรู้สึกมั่นคง ม่ันใจ ปลอดภยั และสขุ ภาพดี (Secure, Confident, Safe and Healthy) (Early Childhood Development Agency, 2013) ประเทศออสเตรเลียได้มีการจัดทํากรอบมาตรฐานคุณภาพระดับชาติสําหรับ เดก็ ปฐมวยั (National Quality Framework for Early Childhood and Care) และกาํ หนดวสิ ยั ทศั น ์ ของการศึกษาปฐมวัยว่าเด็กทุกคนต้องได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีดึงดูดใจและสร้างความสําเร็จ 2 รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญี่ปนุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด ์ ในชวี ิต (Engaging and Builds Success for Life) มีเป้าหมายใหเ้ ด็กมคี ุณลกั ษณะสาํ คญั 3 ประการ ไดแ้ ก่ การเปน็ เจ้าของ (Belonging) คอื รวู้ า่ ตนเองอย่ทู ่ีไหนกบั ใครบา้ ง การค้นหาความหมายหรอื สง่ิ ท่ี อยากเป็น (Being) และสงิ่ ท่ีจะเปน็ (Becoming) คือการเปล่ยี นแปลงของตวั ตน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและความสัมพันธ์ในระหว่างช่วงวัยเด็กตอนต้น (Australia Government Department of Education and Training, 2017) สําหรับประเทศนิวซีแลนด์มีการจัดทําร่างแผนพัฒนาการศึกษา เด็กปฐมวัยระยะยาว 10 ปี (2019-2029) โดยให้ความสําคัญกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Multicultural) เน้นชีวติ ปจั จุบนั และขณะน้ี (Here-and-Now) และสิทธขิ องเด็กท่จี ะสนกุ กับชีวติ ใน ฐานะพลเมอื งนวิ ซแี ลนด์ มเี ปา้ หมายใหเ้ ดก็ เกดิ ความมน่ั ใจ มสี ว่ นรว่ มและเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Confident, Connected Actively Involved, Lifelong Learning) (New Zealand Government, 2018) การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศญ่ีปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มีการกําหนดแผน การพัฒนา วิสัยทัศน์และจุดเน้นในการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีแตกต่างกัน และให้ความสําคัญกับ การพัฒนาคนของประเทศให้มีศักยภาพโดยเร่ิมตั้งแต่วัยเด็กเล็ก จึงน่าจะเป็นตัวอย่างท่ีดีในการนํามา ศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยและเปรียบเทยี บกบั การศึกษาระดบั ปฐมวัยของประเทศไทย 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบสภาพและผลการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทย และของ ตา่ งประเทศ รวม 4 ประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศญ่ปี ่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี นิวซแี ลนด์ 1.2.2 เพื่อพัฒนารปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยทพี่ งึ ประสงค์ของประเทศไทยในยุค 4.0 1.2.3 จัดทําข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฎิรูป การจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทย 1.3 วิธีดำเนินการ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยได้รับการรับรองจากคณะกรรมการการวิจัยในคนสาย สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ดำเนินการวิจัย จากน้ัน คณะผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจาก เอกสารงานวจิ ัย คู่มอื ระเบยี บ ประกาศ แผน่ พับ และเอกสารอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการจดั การศึกษา ปฐมวยั ของประเทศออสเตรเลีย นวิ ซีแลนด์ ญปี่ ุ่น สิงคโปร์ และประเทศไทย นอกจากนี้ คณะผ้วู จิ ยั ได้สัมภาษณ์ผู้บริหาร ครูโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็ก ได้เย่ียมชมโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแล เด็ก รวมทั้งสัมภาษณ์อาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย เจ้าหน้าท ี่ ที่ทำงานด้านการศึกษาปฐมวัยของจังหวัดและสำนักงานเขต นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรปุ ผลการศึกษา รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 3 กรณีศึกษาประเทศญป่ี ุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ บทที่ 2 การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของประเทศญ่ปี ่นุ 2.1 ประวตั ิความเป็นมา เริ่มจากปี 1996 สภาการศึกษากลางได้ให้ความสำคัญในเรื่องความสามารถในการดำรงชีวิต ในส่ิงแวดล้อมอย่างอิสระ เน้นความสามารถของเด็กในการค้นหาเร่ืองต่าง ๆ การเรียนรู้และคิด ด้วยตนเอง การตัดสินใจ การริเร่ิมที่จะทำส่ิงต่าง ๆ และการทำส่ิงต่าง ๆ นั้นให้เกิดความสำเร็จ นอกจากน้ี ยังหมายถึงการเป็นคนที่อบอุ่น สามารถควบคุมตนเองได้ อยู่ร่วมกับคนอ่ืน ๆ ท่ีมี ความแตกต่างกันได้ มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีใจท่ีจะยอมรับผู้อ่ืนและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ต่อมาในปี 1998 สภาหรือคณะกรรมการด้านหลักสูตรได้ทบทวนหลักสูตรการเรียนใหม่ให้มี วัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1) พฒั นาเดก็ ให้เป็นมนษุ ยค์ อื มคี วามรสู้ ึกอบอนุ่ สนใจสงั คม ตระหนักในการเป็น คนญี่ปุ่นท่ีจะอยู่ในสังคมนานาชาติ 2) พัฒนาความสามารถของเด็กในการเรียนรู้ การคิดด้วยตนเอง 3) การจดั กิจกรรมทางการศึกษาอยา่ งอสิ ระเพอื่ ใหเ้ ด็กมีทกั ษะและพื้นฐานที่จำเป็น รวมทง้ั การพัฒนา บุคลิกภาพ 4) โรงเรียนแต่ละแห่งควรแสดงความคิดริเริ่มทางการศึกษาที่จะพัฒนาโรงเรียนตาม ลักษณะเฉพาะของตน นโยบายพ้ืนฐานน้ีได้นำไปใช้ในการปรับหลักสูตรสำหรับโรงเรียนอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และโรงเรียนเฉพาะความพิการ โดยเฉพาะโรงเรียนเฉพาะความพิการได้ พิจารณาในประเด็นของการพัฒนาความสามารถเด็กให้เต็มตามศักยภาพ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต อิสระในสงั คมได้ 5) การใหค้ วามสำคัญมากข้ึนกับกิจกรรมทางการศกึ ษาท่ีส่งเสริมให้เด็กได้พฒั นาเพอ่ื ผ่านพ้นความยากลำบากอันมีสาเหตุจากความพิการ ในปี 1999 กระทรวงการศึกษา วิทยาศาสตร ์ กีฬา และวัฒนธรรมได้ประกาศหลักสูตรใหม่ซ่ึงกำหนดทิศทางการศึกษาในโรงเรียนในช่วงเริ่มต้น ศตวรรษท่ี 21 หลักสูตรระดับชาติจัดทำโดยรัฐบาลเพ่ือให้ทุกคนได้รับการศึกษาในระดับเดียวกัน ท่ัวญี่ปุ่น แนวทางน้ีเป็นพ้ืนฐานให้แต่ละโรงเรียนพัฒนาหลักสูตรของตนเองและเป็นนโยบายหลัก ในการพัฒนาโรงเรยี นด้วย (ปยิ ะรัตน์ นชุ ผอ่ งใส, 2553) นอกจากน้ี ยังมีการพัฒนาโรงเรียนโดยนำสมาชิกในชุมชนที่ทำดีมาเป็นครูบางเวลา ซึ่งเป็น ระบบจ้างคนเก่งในชุมชนที่ไมม่ ีคุณสมบัติจะเป็นครูอยา่ งเป็นทางการได้ อยา่ งไรก็ตาม คณะกรรมการ การศกึ ษาของจงั หวดั จะตอ้ งพจิ ารณากอ่ นทจี่ ะใหส้ อนทโ่ี รงเรยี นได้ และจดั ใหม้ รี ะบบทป่ี รกึ ษาโรงเรยี น ซ่ึงเริ่มเมื่อปี 2000 ครูใหญ่จะฟังความคิดเห็นจากผู้ปกครองและคนในชุมชนเพ่ือส่งเสริมการพฒั นา ความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน สงั คม ใหส้ ามารถทำกจิ กรรมทางการศกึ ษาไดจ้ รงิ (ปยิ ะรตั น์ นชุ ผอ่ งใส, 2553) 4 รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญี่ป่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ การจัดการศึกษาปฐมวัยของญ่ีปุ่นแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) โรงเรียนอนุบาล จัดสำหรับ เด็กอายุ 3 ปี หรือมากกว่า จัดบริการเป็นเวลา 3 ปีเพ่ือเข้าเรียนระดับประถมเมื่อส้ินสุดบริการแล้ว 2) ศนู ยด์ แู ลเด็ก เปน็ บรกิ ารท่รี ับเดก็ ทารกและเดก็ ท่ีมีอายนุ ้อยกวา่ เกณฑ์เขา้ ศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา 3) โรงเรียนท่ีมีทั้งอนุบาลและสถานดูแลเด็ก เกือบ 100% ของเด็กญี่ปุ่นเข้าสู่ระบบปฐมวัย (Ochanomizu University, n.d.) 2.1.1 โรงเรยี นอนุบาล โรงเรยี นอนุบาล (Kindergarten) ของญปี่ ุ่นเกิดขน้ึ คร้งั แรกโดยอย่ภู ายใตก้ ารดูแลของ Ochanomizu University (ในสมัยนั้นเป็น Tokyo Women’s Model School) เมื่อวันท่ี 16 พฤศจิกายน 1867 (พ.ศ. 2410) ซึง่ ในช่วงแรกผูบ้ ริหารและครูในโรงเรียนไดไ้ ปศึกษาอบรมในประเทศ อังกฤษ เยอรมัน และได้นำแนวคิดสมัยใหม่และการสอนตามแนวคิดของ Froebel’s Playground มาใช้ โรงเรียนอนุบาลในสมัยเมจิจะถูกจำกัดให้ผู้ที่มีฐานะทางสังคมชั้นสูงเข้าเรียน ต่อมาในปี 1882 (พ.ศ. 2425) กระทรวงศึกษาธกิ ารมีนโยบายใหป้ ระชาชนท่ัวไปสามารถเขา้ เรียนในโรงเรยี นอนุบาลได้ Tokyo Women’s Model School จงึ เปล่ยี นเป็น Tokyo Women’s Normal School ในเดือน มีนาคม 1890 (พ.ศ. 2433) และมีโรงเรียนอนุบาลอยู่ในความดูแล ต่อมาในเดือนกันยายน 1910 (พ.ศ. 2435) ไดม้ ีการจัดตั้งรูปแบบของโรงเรียนอนบุ าลสำหรับคนที่มรี ายไดน้ ้อย (Abumiya, n.d.) ในช่วงที่ญ่ีปุ่นยอมรับกลุ่มศาสนาคริสต์คือต้ังแต่เดือนเมษายน 1880 (พ.ศ. 2423) ได้มีการจัดต้ังโรงเรียนอนุบาลของเอกชนหลายแห่ง เช่น ปี 2429 Hokuriku Eiwa Kindergarten ที่จังหวัด Kanazawa ได้ก่อต้ังข้ึนโดยบาทหลวงชาวอเมริกัน ซ่ึงเป็นโรงเรียนอนุบาลท่ีดำเนินการโดย กลุม่ ศาสนาคริสตท์ ี่เก่าแก่ที่สดุ นอกจากน้ี ในชว่ งปี 2429-2430 มีการจัดตัง้ โรงเรียนอนุบาลโดยกลุม่ ศาสนาคริสตท์ ี่ Nagoya, Kyoto, Yokohama, Kobe, Yamaguchi และ Nagasaki ทำให้ประชาชน ท่ัวไปสามารถส่งลกู หลานเข้าเรยี นโรงเรยี นอนบุ าลได้ (Fukui, 2017) การปฏิรูปการศึกษาของญี่ปุ่นเกิดขึ้นระหว่างช่วงปลายสมัยเมจิและไทโช ผู้บริหาร ของ Tokyo Women’s Higher Normal School Kindergarten ไดน้ ำ Froebel’s Block มาใช้ ในการจดั การเรยี นการสอน ตอ่ มาเรมิ่ มกี ารจดั ทำตน้ แบบโรงเรยี นอนบุ าลญปี่ นุ่ ตง้ั แตเ่ ดอื นเมษายน 1926 (พ.ศ. 2469) และในสมัยโชวะท่ีประเทศญ่ีปุ่นมีความเข้มแข็งมาก โรงเรียนอนุบาลก็ได้รับผลกระทบ ตามไปด้วย เช่น เพลงปลุกใจท่ีเน้นสงครามและการสร้างชาติให้เข้มแข็งรวมทั้งวัฒนธรรมการไปวัด อาหารและธงชาติ นอกจากนี้ ในชว่ งสงครามแปซิฟิก (ค.ศ. 1941) ครใู นโรงเรียนอนุบาลจะเปน็ ผ้นู ำ กิจกรรมกลุ่มท่ีกระตุ้นปลุกเร้าเด็กให้เกิดความรักชาติ ในปี 1947 หลังสงครามสิ้นสุด การศึกษา ปฐมวัยได้รับความสำคัญเป็นอย่างมาก โรงเรียนอนุบาลได้เข้าไปอยู่ในระบบการศึกษาชาติภายใต้ กฎหมายทางการศึกษา (School Education Law) และในปีต่อมาได้มีการจัดพิมพ์คู่มือการศึกษา ปฐมวัย (Guidance for Early Childhood Education) (Fukui, 2017, Abumiya, n.d.) รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ 5 กรณศี ึกษาประเทศญป่ี ุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ในปี 1956 ได้มีการทบทวนเป้าหมายในการดูแลเด็กและกระบวนการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนอนุบาล เดิมมีเพียงคู่มือในการจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล สถานดูแลเด็ก และการดแู ลเด็กท่บี ้าน ไดม้ กี ารจัดทำเป็นหลักสูตรอนบุ าลมาตรฐานระดับชาติ ตอ่ มา ปี 1989 มกี าร ทบทวนกระบวนการสอนเด็กอนุบาลโดยเน้นการสอนบนพ้ืนฐานความคิดของครู ปัจจุบัน การสอน เด็กอนุบาลให้ความสำคัญกับการเรียนและการเล่น และมีการทบทวนกระบวนการเรียนการสอนเป็น คร้ังท่ี 5 แล้ว (Fukui, 2017) 2.1.2 ศนู ย์ดแู ลเด็ก การเปิดศูนย์ดูแลเด็กของญ่ีปุ่นเพ่ือลดภาระของแม่ และป้องกันเด็กถูกทอดท้ิงท่ีมี สาเหตจุ ากความยากจน ศูนย์ดแู ลเดก็ ก่อตงั้ คร้ังแรกในสมยั เมจิ ปี 1890 (Fukui, 2017, Abumiya, n.d.) ในโรงเรียนเอกชนชือ่ Atsutomi and Naka Akazawa’s Niigata Seishu Private School ผลกระทบจากการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมในญี่ปุ่นทำให้ผู้หญิงต้องทำงานในโรงงานจึงทำให้เกิด ศูนย์ดูแลเด็กในโรงงาน แต่ในช่วงของสงคราม Russo-Japanese ศูนย์ดูแลเด็กตั้งข้ึนเพื่อช่วยเหลือ ผู้ท่ีสูญเสียคนในครอบครัวจากสงคราม และแม้สงครามสิ้นสุดแล้วแต่ก็ยังคงมีศูนย์ดูแลเด็กต่อไป ตอ่ มา Tokyo Women’s Normal School จัดตั้ง Futaba Day Care Center ในปี 2458 ซึง่ ไดร้ ับ การยอมรับว่าเป็นศูนย์ดูแลเด็กที่เก่าแก่ท่ีสุดท่ีมีอยู่ในขณะน้ี หลังจากนั้น ได้มีการจัดต้ังศูนย์ดูแลเด็ก โดยเอกชน ซึ่งมี Home Ministry ใหก้ ารสนบั สนุนงบประมาณบางส่วนแกศ่ นู ย์ดูแลเด็กผา่ นโครงการ ปฏิรปู การมงี านทำ (Reformative Relief Work Project) (Fukui, 2017) อย่างไรก็ตาม มีศูนย์ดูแลเด็กของรัฐเกิดขึ้นจำนวนมาก เช่น Osaka (2462) Kyoto (2463) Tokyo (2464) ท้งั น้ี ในปี 2469 มีศนู ยด์ ูแลเด็กของรฐั จำนวน 65 แห่งและมากกว่าร้อยแหง่ ในปี 2472 นอกจากน้ี ยังมีการเปดิ ศนู ยด์ ูแลเด็กตามฤดกู าลในเขตชนบทในช่วงที่เกษตรกรมีงานมาก ซ่ึงจะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลตามนโยบายด้านการเกษตร ในปี 2483 มีศูนย์ดูแลเด็กเพ่ิม มากข้ึนถึง 22,758 แห่ง ในช่วงหลังสงคราม ศูนย์ดูแลเด็กได้เปล่ียนเป็นสถานบริการสวัสดิการเด็ก ภายใต้กฎหมายสวัสดิการเด็ก ค.ศ. 1947 (พ.ศ. 2490) ในความรับผิดชอบของกระทรวงสวัสดิการ และสขุ ภาพ (ปจั จบุ ันเป็นกระทรวงสวสั ดกิ าร แรงงาน และสุขภาพ) (Fukui, 2017) โดยท่ัวไปแล้ว วัตถุประสงค์ของศูนย์ดูแลเด็กคือการช่วยเหลือเด็กทารกและเด็กเล็ก ท่ีไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมจากครอบครัวจึงต้องมอบความไว้วางใจให้สังคมภายนอก ครูใน โรงเรียนดูแลเด็กเล็ก (Nursery School) ได้รับการอบรมในสถาบันท่ีกำหนดโดยกระทรวงสวัสดิการ และสขุ ภาพ ในตอนต้นศูนย์ดแู ลเดก็ จะเหมอื นกบั โรงเรียนอนบุ าลคอื ถกู รวมเขา้ ไปอย่กู ับการศกึ ษาใน ระบบ มีคู่มือศูนย์ดูแลเด็กเป็นแนวทางท่ีสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในระดับอนุบาล อย่างไรก็ตาม ในปี 2008 ได้มีการทบทวนคู่มือสำหรับศูนย์ดูแลเด็กภายใต้กระทรวงสวัสดิการ แรงงาน และสุขภาพ โดยกำหนดให้ศูนย์ดูแลเด็กต้องตอบสนองความต้องการของสังคม ผู้ท่ีทำงาน 6 รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณีศกึ ษาประเทศญ่ีปนุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด์ ดูแลเด็กจะต้องสนับสนุนเด็กเสมือนเป็นผู้ปกป้องและคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก นอกจากน้ี เนื่องจากอตั ราการเกิดของประเทศญปี่ นุ่ ลดลงโดยเฉพาะในปี 2006 ลดลงถงึ 1.09 ล้านคนส่งผลตอ่ จำนวนเด็กในโรงเรียนอนุบาล ในทางกลับกัน จำนวนเด็กในศูนย์ดูแลเด็กกลับเพิ่มข้ึนเนื่องจากผู้หญิง เข้าสตู่ ลาดแรงงานมากข้ึน (Fukui, 2017) 2.1.3 โรงเรียนอนุบาลและสถานดูแลเด็ก (Hybrid early childhood education and care centers, “Kodomoen”) ในปี 1998 กระทรวงศกึ ษาธิการ วฒั นธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และ กระทรวงสวัสดิการ แรงงาน และสุขภาพจึงปรึกษาร่วมกันและมีมาตรการท่ีจะรวมทรัพยากรคือ โรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กและมีการจัดทำคู่มือสำหรับการรวมทรัพยากร เน่ืองจากจำนวน สถานดแู ลเดก็ ไมเ่ พยี งพอและจำนวนเดก็ ในโรงเรยี นอนบุ าลลดลง ตอ่ มาในปี 2006 มกี ารออกกฎหมาย เก่ยี วกับการใหบ้ ริการแบบเบด็ เสร็จทเ่ี กยี่ วกับการศกึ ษาและการดูแลเดก็ ในชว่ งปฐมวัย (Act for the Advancement of Comprehensive Services Related to Education and Childcare Among Preschool Children) กฎหมายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรับรอง “Kodomoen” โรงเรียนที่จัด ชน้ั อนุบาลและดูแลเดก็ โดยแบง่ เปน็ 4 ประเภท ได้แก่ 1) โรงเรียนอนุบาลและศนู ย์ดูแลเด็กบริหาร จัดการร่วมกัน (Collaborative Day-Care/Kindergarten) 2) โรงเรียนอนุบาลคือ เป็นโรงเรียน อนุบาลท่ีจัดให้มีศูนย์ดูแลเด็กอยู่ด้วย 3) ศูนย์ดูแลเด็กคือ เป็นศูนย์ดูแลเด็กที่รับเด็กมาเรียนในระดับ อนุบาล 4) สถานศึกษาตามความต้องการของท้องถิ่นท่ีดูแลเด็กอนุบาลและเด็กเล็ก ซึ่งในเดือน สิงหาคม 2550 มีโรงเรียนท่ีเปิดรับชั้นอนุบาลและดูแลเด็กที่ได้รับใบอนุญาตเปิดดำเนินการจำนวน 105 แห่ง และในเดือนเมษายน 2559 มีจำนวนโรงเรียนท่ีเปิดช้ันอนุบาลและดูแลเด็กที่ได้รับ ใบอนุญาตดำเนนิ การจำนวน 4,001 แห่ง และสำนกั งานคณะรัฐมนตรไี ด้จัดทำหนงั สือเกย่ี วกบั ระบบ ใหมใ่ นการสนับสนุนการเลี้ยงเดก็ เรียกวา่ “Naruhodo” (Fukui, 2047 and Abumiya, n.d.) ลกั ษณะของ “Kodomoen” จะตา่ งจากโรงเรยี นอนบุ าลและศนู ยด์ แู ลเดก็ 3 ประเดน็ คือ 1) เป็นสถานที่สำหรับเด็กทุกคนที่พ่อแม่ต้องไปทำงาน 2) พ่อแม่ท่ีไม่ได้รับการจ้างงานสามารถ นำเด็กมาเข้าท่ีนี่ได้ 3) มีบริการที่มากกว่าศูนย์ดูแลเด็ก เช่น พ่อแม่สามารถขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับ การเลี้ยงดู การให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูก ผู้ที่กำลังต้ังครรภ์สามารถขอรับ การสนบั สนุนตามความจำเป็นได ้ รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 7 กรณศี กึ ษาประเทศญ่ปี ่นุ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ์ ตารางที่ 2.1 การเปรียบเทียบความแตกต่างของสถานศกึ ษาและศูนยด์ ูแลเด็กปฐมวยั (Abumiya, n.d.) ประเด็น โรงเรีย นอนบุ าล สถานดแู ลเดก็ โรงเรยี นรวมอนุบาล และสถานดแู ลเดก็ (ECEC) กระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสขุ ภาพ สวัสดิการ MEXT และ MHWL ที่รับผิดชอบ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และแรงงาน (MHWL) และเทคโนโลยี (MEXT) กฎหมาย กฎหมายสถานศกึ ษา กฎหมายสวสั ดกิ ารเดก็ กฎหมายการศกึ ษา มาตรา 77-22 (2007) มาตรา 39 เดก็ ปฐมวยั และการดูแลเด็ก และประกาศท่อี อกโดย จงั หวัด กล่มุ เป้าหมาย เด็กท่ีอายุ 3-5 ป ี เด็กอายุ 0-5 ปี เดก็ อายุ 0-5 ปี ไมม่ ผี ู้ดูแลท่ีบา้ น พอ่ แมต่ อ้ งไปทำงาน คุณสมบัติและ พอ่ แมส่ มัครทโี่ รงเรยี นได ้ เขตเปน็ ผู้กำหนด พอ่ แม่ พอ่ แมส่ มัครไปทีโ่ รงเรียน กระบวนการรบั โดยตรง เลือกสถานที่ และสมคั ร โดยตรง เขตจะพิจารณา ไปท่ีเขต ใบสมคั ร และตัดสินวา่ กรณีใดทีเ่ ดก็ ขาดผู้ดแู ล การดูแลเด็กและ วนั ละ 4 ชม. ตงั้ แตป่ ี 1997 วนั ละ 8 ชม. บริการนานสุด ขนึ้ อยู่กบั สถานการณ ์ เวลาใหบ้ รกิ าร มกี ารขยายเวลาการดแู ลเดก็ คือ 11 ชม. หากเขต ของครอบครวั ปกตปิ ระมาณ ใหค้ วามเหน็ วันละ 4 ชม. หรือ 8 ชม. มาตรฐาน หลกั สตู รมาตรฐานชาต ิ ค่มู ือการดแู ลเดก็ หลกั สูตรมาตรฐานชาต ิ ของเนอื้ หาและ ระดบั อนุบาล ในสถานดูแลเด็ก ระดับอนบุ าล และคู่มอื วธิ ีการสอน (คูม่ อื การศกึ ษาปฐมวยั ) การดูแลเดก็ ในสถานดแู ลเด็ก คณุ สมบัติของคร ู ใบประกอบวิชาชีพ คณุ สมบัตคิ รทู ่ีดแู ลเด็ก ผู้ดูแลเด็กอายุ 0-2 ป ี ครอู นบุ าลตามกฎหมาย เป็นไปตามกฎหมาย มีคณุ สมบตั ิตามคร ู บุคลากรทางการศึกษา สวัสดิการเด็กและประกาศ ในสถานดแู ลเดก็ อายุ 3-5 ป ี ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เปน็ ครทู ่มี ีใบประกอบวชิ าชีพ ครอู นุบาลและครูที่ดแู ลเด็ก แตอ่ าจมีอยา่ งใดอย่างหน่งึ สดั ส่วนเดก็ ตอ่ ครู 35:1 ทารก 3:1 ทารก 3:1 1-2 ปี 6:1 1-2 ปี 6:1 3 ปี 20:1 3-5 ปี ขึ้นอยู่กับ 4-5 ปี 30:1 รูปแบบของสถานศึกษา 8 รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศญีป่ ุน่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด ์ ตารางที่ 2.1 การเปรียบเทยี บความแตกต่างของสถานศกึ ษาและศนู ย์ดูแลเด็กปฐมวัย (Abumiya, n.d.) (ตอ่ ) ประเด็น โรงเรยี นอนุบาล สถานดแู ลเด็ก โรงเรยี นรวมอนุบาล และสถานดแู ลเด็ก (ECEC) จำนวนเด็ก เดก็ ทเี่ ขา้ เรยี นโรงเรยี นอนบุ าล เด็กท่ไี ดร้ ับการดแู ล ไมม่ ีข้อมูลจำนวนเดก็ และสถานศกึ ษา มีจำนวน 1,674,163 คน จากศนู ยด์ ูแลเดก็ ที่เข้าเรยี นในปี 2008 - จำนวนเดก็ ในโรงเรยี น มจี ำนวน 2,118,352 คน มสี ถานศกึ ษาบริหาร ของรัฐ 19.4% - จำนวนเด็กในศนู ยด์ ูแล การศึกษารวมอนุบาล - จำนวนเดก็ ในโรงเรยี น ของรฐั 46.3% และดูแลเด็ก เอกชน 80.6% - จำนวนเด็กในศนู ยด์ ูแล จำนวน 229 แห่ง โรงเรยี นอนบุ าล ของเอกชน 53.7% และในปี 2011 เพม่ิ เป็น มีจำนวน 13,636 แห่ง ศนู ยด์ ูแลเด็กมจี ำนวน 762 แหง่ - จำนวนโรงเรียน 22,848 แหง่ - จำนวนสถานศึกษาของรัฐ ของรฐั 39.3% - จำนวนศนู ยด์ แู ล 24.5% ลดลง เป็น 19.6% - จำนวนโรงเรยี น ของรฐั 47.8% - จำนวนสถานศกึ ษา เอกชน 60.7% - จำนวนศูนย์ดแู ล ของเอกชน 75.5% ของเอกชน 52.2% เพิ่มเป็น 87.4% 2.2 กลไกการขบั เคลือ่ นดา้ นการศกึ ษา 2.2.1 นโยบาย กฎหมาย พระราชบญั ญัติ ระเบียบ ในช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง โรงเรียนอนุบาลได้จัดเป็นสถานศึกษาจึงต้องปฏิบัติ ตามกฎหมายสถานศึกษา (School Education Law 1947) มาตรา 77 ระบุว่าโรงเรียนอนุบาล จะต้องจัดสิ่งแวดล้อมท่ีเหมาะสมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเจริญเติบโตและพัฒนาการทั้งร่างกาย และจิตใจ มาตรา 80 โรงเรียนอนุบาลให้บริการเด็กต้ังแต่อายุสามขวบจนเข้าโรงเรียนประถมศึกษา สำหรบั ศนู ยด์ แู ลเดก็ เลก็ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายสวสั ดกิ ารเดก็ (Child Welfare Law 1947) มาตรา 39 ศูนยด์ แู ลเดก็ เลก็ มหี นา้ ท่ดี แู ลเดก็ ทารกและเดก็ เลก็ รายวนั ใหก้ บั พ่อแม่หรอื ผู้ปกครอง มาตรา 24 เขต มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดเด็กท่ีมีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลในศูนย์เด็กเล็ก มาตรา 39 (เพ่มิ เติม) การพจิ ารณาเด็กเขา้ รบั การดูแลตามความจำเป็น เช่น พ่อแมต่ อ้ งทำงาน เจบ็ ปว่ ย เป็นต้น (Tarumi, 2009) ในปี 1989 หลังส้ินสดุ สงคราม อัตราการเกดิ ลดลงอยา่ งมากสง่ ผลใหร้ ฐั บาลมนี โยบาย สนบั สนนุ การเลยี้ งดเู ดก็ เรยี กวา่ “Angel Plan 1994-2004” และ “New Angel Plan 2000-2004” รายงานการศกึ ษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ 9 กรณศี ึกษาประเทศญปี่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด ์ จากนโยบายดังกล่าว ทำให้มีจำนวนสถานดูแลเด็กเล็กเพิ่มมากข้ึนและโรงเรียนปฐมวัยเริ่มบทบาท ใหม่ในการเป็นศูนย์ดูแลเด็ก เร่ิมมีบริการให้คำแนะนำและโปรแกรมการเล่นเป็นกลุ่มสำหรับเด็กและ ผู้ปกครองและการดูแลเด็กท่ีมีความเส่ียง ปัจจุบันรัฐบาลท้องถ่ินสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษา ปฐมวัยกับหน่วยงานให้คำปรึกษาเรื่องเด็กประจำท้องถ่ิน สนับสนุนการศึกษาด้านสังคม ศูนย์สุขภาพ โรงพยาบาล สถานตี ำรวจ มหาวิทยาลัยและองค์กรความรว่ มมือเอกชนตา่ ง ๆ (Abumiya, n.d.) แม้ว่าจะมีนโยบายดังกล่าว และทำให้สถานดูแลเด็กเพ่ิมขึ้น แต่อัตราการเกิดก็ยัง ลดลง จึงมีการประกาศใช้กฎหมายต่าง ๆ ได้แก่ Basic Law for Measures to Cope with a Society with a Declining Birthrate, Law on Advancement of Measures to Support Raising Next-Generation Children (2013) และในปี 1997 เป็นต้นมา รัฐบาลมีการส่งเสริม การจัดการศึกษาร่วมกันของโรงเรียนอนุบาลและสถานดูแลเด็กโดยให้อำนาจรัฐบาลท้องถ่ินในการ ดำเนินการ ต่อมาในปี 2003 รัฐบาลภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (MEXT) และกระทรวงสวสั ดิการ แรงงาน และสุขภาพ (MHWL) ไดใ้ ช้ เวลา 3 ปีในการเตรียมการรวมโรงเรียนอนุบาลกับศูนย์ดูแลเด็กและประกาศใช้กฎหมาย Law for the Center for Early Childhood Education and Care เพื่อรองรับระบบใหม่ในปี 2006 (Abumiya, n.d.) นอกจากน้ี Fundamental Law of Education (2006) ได้ให้ความสำคัญกับ การจัดการศึกษาปฐมวัยและการสนับสนุนพ่อแม่ ต่อมามีการแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายสถานศึกษา (School Education Law 2007) โดยกำหนดให้การศึกษาปฐมวัยเป็นข้ันแรกของการเข้าศึกษา ในระบบโรงเรียน ส่งผลให้ส่วนการศึกษาอนุบาล (Division of Kindergarten Education) ในกระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดโครงสร้างองค์กรใหม่เป็นส่วน การศึกษาปฐมวัย (Division of Early Childhood Education) เพ่ือรับผิดชอบการจัดการศึกษา ปฐมวยั ตง้ั แต่อายุ 3-5 ปี (Abumiya, n.d.) ในเดือนสิงหาคม 2012 รัฐบาลญ่ีปุ่นออกกฎหมายท่ีเกี่ยวกับเด็กและการดูแลเด็ก 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ Revised Law for the Center for Early Childhood Education and Care, Act on Child Education and Childcare Support, Adjustment Act on Related Laws for Enforcement of the two Laws นอกจากน้ี มีการออกนโยบายภายใต้กฎหมายทั้ง 3 ฉบับ ในเดือนเมษายน 2015 คือ The Comprehensive Support System for Children and Childcare (CSSCC) ดำเนินการโดยรัฐบาลกลาง ได้แก่ สำนักงานคณะรัฐมนตรี กระทรวง ศึกษาธกิ าร วัฒนธรรม กฬี า วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (MEXT) กระทรวงสขุ ภาพ แรงงาน และ สวัสดิการ (MHLW) และจังหวัดและเทศบาลทุกพื้นท่ี นโยบายน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ Integrated Reform of the Social Security and Tax Systems จงึ ไดร้ ับการสนับสนุนทางการเงินจากการขึ้น ภาษบี รโิ ภคจาก 5% เป็น 8% ต้งั แต่เมษายน 2014 (Abumiya, n.d.) 10 รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศึกษาประเทศญป่ี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด์ 2.2.2 แผนพฒั นา ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศท่ีระบบการศึกษาจัดอยู่ในกลุ่มดี อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นได้ ตระหนักถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและลักษณะทางสังคมประชากรท่ีอาจส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ อย่างย่ังยืน ดังนั้น จึงมีการปฏิรูปโดยจัดทำแผนพ้ืนฐานในการส่งเสริมการศึกษา (2018-2022) ซ่ึงมองไปข้างหน้าว่าเด็กที่เข้าเรียนในปี 2018 จะเป็นผู้ใหญ่ตอนต้นในปี 2030 และจะต้องเผชิญกับ เหตุการณ์ท่ีสถานศึกษาต้องเตรียมผู้เรียนให้พร้อมท่ีจะทำงานที่อาจเป็นอาชีพท่ียังไม่เกิดข้ึนหรือ เทคโนโลยีท่ียังไม่ได้คิดประดิษฐ์ข้ึนมา ญ่ีปุ่นตระหนักถึงความจำเป็นที่ต้องปรับปรุงการเรียนการสอน เพ่ือให้สอดคล้องกับสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 จึงมีการเพ่ิมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาทักษะข้าม หลกั สูตร (Developing Cross-Curricular Skills) การแก้ปญั หาและความคิดสร้างสรรค์ (Problem- Solving and Creativity) ลักษณะนิสัยการเรียนรู้ที่ดี (Good Learning Habits) ดังน้ัน หลักสูตร ใหม่ที่จะใช้ในปี 2020-2022 จะเน้นกลยุทธ์การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน 3 ด้าน คือ 1) แรงจูงใจในการเรยี นรู้และการนำส่ิงท่ีเรยี นรไู้ ปใช้ในชีวติ (Motivation to Learn and Apply Learning to Life) 2) การศึกษาหาความรู้และทักษะทางเทคนิค (Acquisition of Knowledge and Technical Skills) 3) ทักษะการคิด การตัดสินและการแสดงออก (Skills to Think, Make Judgement, and Express Oneself) ครูจึงควรได้รับการอบรมอย่างเปน็ ระบบเพอ่ื พฒั นาการสอน ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสมรรถนะใหม่ ๆ ได้ ซึ่งยากต่อการคาดเดาได้ในปัจจุบัน ดังนั้น จึงเน้น นโยบายการศึกษาท่ีสนับสนุนบุคคลให้มีความพร้อมในปี 2030 โดยเฉพาะในเรื่องหลักสูตรการศึกษา ครู สถานศกึ ษา งบประมาณ และการศึกษาตลอดชีวิต (OECD, 2018) จากการท่ีกฎหมายกำหนดให้เขตมีหน้าท่ีดูแลการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของ ศูนย์ดูแลเด็กเล็กและศูนย์ ECEC ส่งผลให้เขตต่าง ๆ จะต้องจัดทำแผนดำเนินงาน เช่น Tokyo Metropolitan Comprehensive Plan to Support Children and Child-Rearing โดยบรู ณาการ แผนงานสองแผนงานตามพระราชบัญญัติเด็ก และการเลี้ยงดูเด็ก “Plan to Support Projects Supporting Children and Child-Rearing Based on the Act on Children and Child- Rearing Support และ Local Action Plan Based on the Act for Measures to Support the Development of the Next Generation” (Tokyo Metropolitan Government, 2018) 2.2.3 หน่วยงาน/องค์กรสนับสนนุ จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ีด้านการศึกษาระดับปฐมวัยของจังหวัดและเขตพบว่า ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2019 (พ.ศ. 2562) การเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์ดูแลเด็กเล็กเป็น บริการท่ีรัฐ/เขตจัดให้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยสถานศึกษาหรือศูนย์ดูแลของรัฐ/เขตจะได้รับ การสนบั สนุนทัง้ หมด สว่ นสถานศกึ ษาหรือศนู ย์ดูแลของเอกชน รัฐบาลสนับสนุน 50% จังหวัด 25% เขต 25% รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ 11 กรณีศกึ ษาประเทศญป่ี นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด์ นอกจากนี้ ในแต่ละปีรัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณในการทำวิจัยโดยจะแจ้งไปยัง จังหวัด เขต เก่ียวกับทุนวิจัยตามหัวข้อท่ีกำหนดให้ครูในโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กทราบเพื่อ ขอรบั ทุน (สัมภาษณ์เจา้ หน้าท่ีการศึกษา, 2019) แต่ละจังหวัดอาจมีโครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัย เช่น มหานครโตเกียว มีการส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์ดูแลเด็กเล็กเอกชนในบริษัทและองค์กรต่าง ๆ ซึ่งเปิดรับคนในพื้นท ่ี มาใช้บริการด้วย เพ่ือแก้ปัญหาเด็กที่ต้องรอเข้ารับบริการเนื่องจากศูนย์ดูแลเด็กมีน้อยไม่เพียงพอกับ ความตอ้ งการ (Tokyo Metropolitan Government, 2018) 2.3 หลกั สูตร 2.3.1 ปรัชญา แนวคดิ หลกั การ การศึกษาปฐมวัยของญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากปรัชญาและวิธีการจัดการเรียนการสอน จากตา่ งประเทศ เช่น การสอนตามแนว Frobelian ในชว่ งครง่ึ หลังของศตวรรษที่ 19 การสอนทเ่ี น้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ รวมทั้งแนวคิดของดิวอ้ีและมอนเตสเซอรี่จากทางอเมริกาและยุโรปในช่วงทศวรรษ 1920 ทฤษฎกี ารดแู ลเดก็ จากสหภาพโซเวียตในช่วงทศวรรษ 1930-1950 แนวการสอนแบบ Reggio Emilia จากอิตาลีต้ังแต่ช่วงทศวรรษ 1990 ต่อมาญี่ปุ่นได้นำแนวคิดต่าง ๆ มาปรับให้เข้ากับบริบท ของประเทศ (Liu &Lin, 2018) มูโตะ (Muto, 2006) ได้สรุปลกั ษณะของการศกึ ษาปฐมวยั และการดูแลเด็กของญ่ปี ุ่น เป็น 5 ลกั ษณะ ดังน้ี (Cited in Abumiya, n.d.) 1) พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา อารมณแ์ ละสังคม ไมเ่ นน้ สอนการอา่ นออกเขียนไดแ้ ละ การคิดเลข แตจ่ ะสอดแทรกไปกับการเล่นหรือกิจกรรมกับเพอื่ นบนพืน้ ฐานของอารมณ์ทจี่ ะทำใหก้ ลุ่ม มีความมนั่ คง 2) การดำรงชวี ิตอสิ ระและลกั ษณะนสิ ัยทจ่ี ำเปน็ ในการดำรงชีวติ ครูสอนส่ิงเหลา่ น้ีใน ช่วงกิจกรรมการเล่นและช่วงเวลาอื่นที่สามารถสอนมุมมองในเรื่องการดำรงชีวิตได้ การสอนน้ีไม่ใช่ การสั่งแต่เป็นการแนะนำ เช่น กระตุ้นความคิดของเด็กให้รู้จักเก็บสิ่งของต่าง ๆ ในห้องเก็บไว้ท่ีเดิม คร้งั หนา้ เดก็ จะไดใ้ ชห้ รอื มขี องเล่น 3) ครูมีความเชี่ยวชาญในการจัดทำแผนการสอน การบันทึกผล การสะท้อนกลับ เกี่ยวกับเนื้อหาท่ีใช้ในการสอน เน่ืองจากครูต้องใช้ดุลพินิจอย่างมากในการจัดกิจกรรมสอนเด็กแม้จะ มีประกาศเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นการสอน 4) บทบาทของรัฐบาลทั้งส่วนกลางและท้องถ่ินคือ การกำหนดมาตรฐานเพ่ือส่งเสริม และสนับสนุน การส่งเสริมครูในการทำงาน การกำหนดทิศทางของกิจกรรมทางการศึกษาและ การดแู ลเดก็ เชน่ การระบเุ กยี่ วกบั การสอนและการดแู ลเดก็ ในระดบั ดมี าก การประชาสมั พนั ธป์ ระเดน็ สำคญั ในการจดั การศึกษาและดูแลเดก็ 12 รายงานการศึกษารปู แบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี ึกษาประเทศญป่ี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ 5) งานวิจัยและการจัดการเรียนการสอนของการศึกษาปฐมวัยและการดูแลเด็ก มีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กันอย่างมาก เช่น นักวิจัยทำการศึกษาวิจัยลงไปเก็บข้อมูลในโรงเรียนและ ศูนย์ดูแลเด็ก อาจารย์ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันฝึกอบรมครูมีประสบการณ์การสอน การทำงาน รว่ มกันกับนกั วชิ าชพี อนื่ ที่เก่ยี วข้องกับเด็ก เช่น นักจติ วทิ ยา การจดั การศกึ ษาปฐมวยั อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 แบบ ดงั น้ี (Ochanomizu University, n.d.) 1) การจดั การศกึ ษาบนพน้ื ฐานของการรกั ษาความสมั พนั ธภ์ ายในกลมุ่ มวี ตั ถปุ ระสงค ์ ให้เด็กเรียนรู้กิจกรรมพ้ืนฐานในชีวิตประจำวันและนิสัยการเรียนในช่วงการเล่นอิสระ เด็กได้รับ การกระตุ้นให้เล่นกับเด็กอ่ืน ๆ มากกว่าเล่นคนเดียว ครูแสดงให้เห็นว่ามีความรักต่อเด็ก หลีกเลี่ยง การแสดงอำนาจ วางตวั อยา่ งสงบ สร้างความสมั พันธท์ ่อี บอุ่นต่อเดก็ 2) การเพมิ่ ความสามารถของเดก็ ในการแสดงกลไกตา่ ง ๆ โดยหลกั สตู รพน้ื ฐานจะเนน้ ให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการเรียนในลักษณะเป็นกลุ่ม เด็กเรียนทักษะการอ่านตัวอักษรจีน การเขียน อกั ษรฮริ าคะนะ การจำความหมายของตวั เลข ปรมิ าณ เรขาคณติ การฝกึ จำ การเลน่ ดนตรี การวาดรปู กิจกรรมของเดก็ กำหนดเปน็ ตารางเวลาไว้ โดยเด็กไมส่ ามารถเลือกไดด้ ้วยตนเอง เดก็ จะมีวนิ ยั ปฏิบตั ิ ตามกฎของสถานศึกษาอย่างเข้มงวด 3) การจัดการศึกษาที่เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง เวลาส่วนใหญ่จะให้เด็กได้เล่นอย่าง อิสระ และมีกิจกรรมกลุ่ม การสอนโดยตรงจากครูมีน้อยมาก วัสดุอุปกรณ์ในการเล่น เช่น บล็อก ของเลน่ พลาสตกิ จดั เตรยี มใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ เมอ่ื ตอ้ งการ ภายใตบ้ รรยากาศทจี่ ดั ใหเ้ ดก็ สามารถทำกจิ กรรม ได้อยา่ งอิสระ ครูมีความรา่ เริง อบอนุ่ ปรบั วธิ กี ารเขา้ ถงึ เดก็ ตามความแตกต่างของแตล่ ะคน เด็กไดร้ บั การยอมรบั ตามคู่มือการจัดการศึกษาอนุบาลที่จัดทำโดยกรมการศึกษาระบุว่าการจัดการศึกษา ระดบั อนบุ าลเนน้ การพฒั นาเด็ก 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) สขุ ภาพ 2) สมั พนั ธภาพ 3) ส่ิงแวดลอ้ ม 4) ภาษา 5) การแสดงความรสู้ กึ 2.3.2 วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ ตามกฎหมายสถานศึกษา มาตรา 23 ระบุว่าโรงเรียนอนุบาลจะต้องพัฒนาพ้ืนฐาน ของเด็กในการดำรงชีวิต ให้เด็กได้มีโอกาสได้รับประสบการณ์ที่สนุก และทำงานร่วมกับครอบครัว ของเด็ก รวมท้ังปูพื้นฐานสำหรับการเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น โรงเรียนอนุบาลแต่ละแห่งจะต้องรักษา คุณภาพ และนำหลักสูตรไปใช้พัฒนาเด็กด้านร่างกายและจิตใจตามบริบทของโรงเรียนและชุมชน ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (Basic Act on Education) กฎหมายสถานศกึ ษา (School Education Law) อื่น ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง รวมท้งั หลกั สูตรระดับอนบุ าล (Course of Study for Kindergarten) โรงเรียนอนุบาลต้องพัฒนาวัตถุประสงค์ เน้ือหาท่ีจะสอนตามที่หลักสูตรกำหนด เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามท่ีหลักสตู รกำหนด (Monbukagakusho, 2017) รายงานการศึกษารปู แบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ 13 กรณีศึกษาประเทศญีป่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ การพัฒนาเด็กอนุบาลท้ัง 5 ด้านดังกล่าวข้างต้นนั้นได้มีการกำหนดจุดประสงค์แต่ละ ด้านไว้ ดังนี้ (Monbukagakusho, 2017) 1) ดา้ นสุขภาพ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใหเ้ ด็ก – กระทำสิง่ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างอสิ ระ มีชีวิตชวี า มีประสบการณ์ของความรสู้ กึ สมหวัง – สามารถเคลอ่ื นไหวร่างกายไดอ้ ย่างเตม็ ที่และออกกำลงั กายด้วยความเตม็ ใจ – มีนสิ ยั และเจตคติที่จำเป็นตอ่ การมีสขุ ภาพดีและปลอดภัยต่อชีวติ 2) ดา้ นสัมพันธภาพ มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื ใหเ้ ดก็ – รู้สึกสนุกสนานกับชีวิตในช่วงอนุบาล ได้รับประสบการณ์ของความรู้สึกสมหวัง ในการทำส่งิ ตา่ ง ๆ – พัฒนาจนเกิดความคุ้นเคยและมีความสัมพันธ์มากขึ้นกับคนอื่น ๆ ที่ใกล้ชิด และพัฒนาความรสู้ กึ รกั และไว้วางใจ – เกดิ นิสัยและเจตคติทเี่ ป็นทยี่ อมรบั ของสังคม 3) ส่งิ แวดลอ้ ม มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใหเ้ ด็ก – พัฒนาความสนใจและความอยากรู้ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และการรู้สึกคุ้นเคย กับสิง่ แวดลอ้ มรอบตวั การอยู่กบั ธรรมชาติ – ไดร้ บั การกระตุ้นให้คดิ และคน้ หาสงิ่ ใหม่ ๆ ที่เป็นสิง่ แวดล้อมรอบตัวด้วยตนเอง อย่างสนกุ สนาน – ได้รบั การสง่ เสรมิ ให้เข้าใจธรรมชาติของสิ่งตา่ ง ๆ ความคดิ รวบยอดของปรมิ าณ ตัวอักษร เป็นต้น ผ่านการสังเกตและการคิดเก่ียวประสบการณ์และส่ิงรอบตัว ทผ่ี า่ นเข้ามาในชวี ติ 4) ภาษา มวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื ให้เดก็ – มปี ระสบการณ์ท่สี นกุ สนานกับการแสดงความรู้สึกด้วยคำพูดของตนเอง – รู้จักการฟงั ผู้อืน่ การเลา่ ประสบการณ์ การบอกส่งิ ทต่ี นเองคดิ การพดู คยุ อยา่ ง สนุกสนาน – มีความเข้าใจคำท่ีจำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน มีความคุ้นเคยกับหนังสือภาพ เรือ่ งเล่า สามารถบอกส่งิ ทต่ี นเองร้สู กึ กบั ครูหรอื เพ่อื น 5) การแสดงออก มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือใหเ้ ดก็ – รู้สกึ ถึงความสวยงามของสงิ่ ต่าง ๆ – แสดงความร้สู ึกและความคิดอย่างสนุกสนาน – แสดงความรู้สกึ ผ่านจินตนาการซ่ึงเกดิ ขึ้นในชีวิตประจำวนั 14 รายงานการศกึ ษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี ึกษาประเทศญป่ี นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด์ 2.3.3 เน้อื หา ในปี 2008 มกี ารจดั พมิ พห์ ลกั สตู รมาตรฐานปฐมวยั โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วฒั นธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระทรวงสุขภาพ สวัสดิการและแรงงาน ได้แก่ National Curriculum Standards for Kindergartens และ Guidelines for Nursery Care at Daycare Centers ซ่ึงเป็นการยืนยันว่าเด็กปฐมวัยทุกคนที่อายุ 3-5 ปี จะได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพเพื่อให้มี พนื้ ฐานของการเรียนรตู้ ลอดชีวติ (Abumiya, n.d.) เน้ือหาสำหรับการศึกษาปฐมวัย แบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ (Ochanomizu University, n.d.) 1) พน้ื ฐานของการดำรงชีวติ 2) กิจกรรม โดยให้เกมหรือการเล่นเป็นหลักในการนำไปสู่การดำรงชีวิตในทุกชั่วโมง การเลน่ เป็นกล่มุ การทำกิจกรรมตามประเพณี 3) กิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบประกอบด้วย ธรรมชาติ การรู้จักจำนวน ปริมาณ เรขาคณติ ภาษา จดหมาย การป้นั และดนตรี เนื้อหาของการเรียนในโรงเรียนอนุบาลกำหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่วนสถานดูแลเด็กกำหนดโดยกระทรวงสุขภาพ แรงงาน และ สวัสดกิ าร (Ochanomizu University, n.d.) ตามคู่มือการจัดการศึกษาโรงเรียนอนุบาล (Monbukagakusho, 2017) และ ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก (Ministry of Health, Labour, and Welfare, 2017) ระบุว่าโรงเรียนอนุบาล ต้องจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรไมน่ ้อยกว่า 39 สัปดาห์ตอ่ ปี วนั ละ 4 ชว่ั โมง โรงเรียนควรจดั กจิ กรรม นอกหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของพ่อแม่และชุมชน เนื้อหาท่ีสอนเด็กในระดับอนุบาล แบง่ ตามการพัฒนาทั้งหา้ ดา้ น ดงั น้ี 1) ดา้ นสขุ ภาพ – การส่อื สารกับครแู ละเพอ่ื น การกระทำด้วยความรู้สกึ มั่นคง – การเคล่อื นไหวร่างกายอยา่ งเตม็ ทผ่ี ่านการเลน่ หลายรูปแบบ – การเลน่ กลางแจง้ หรอื นอกห้องอย่างเตม็ ใจ – การสร้างความคุ้นเคยกับกิจกรรมที่หลากหลายและมีความสนุกกับการทำ กิจกรรม – การสนุกกับการทานอาหารกับครูและเพ่อื น ใสใ่ จกับการทานอาหาร – การมีรูปแบบหรือวิถีชีวิตสุขภาพ การรักษาความสะอาด การทำกิจกรรม ทีจ่ ำเปน็ ดว้ ยตนเอง เชน่ การเปลี่ยนเสอื้ ผา้ การรับประทาน การใช้ห้องนำ้ – เข้าใจวิธีการใช้ชีวิตในโรงเรียนอนุบาล เข้าใจผลที่จะเกิดขึ้นตามมาเมื่อกระทำ ส่งิ ตา่ ง ๆ การจัดใหเ้ ดก็ ได้ใช้ชีวิตโดยไมต่ ้องให้ผู้ใหญช่ ว่ ย รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ 15 กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด์ – การสร้างความใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพและกิจกรรมที่จำเป็นเก่ียวกับการป้องกัน การเจบ็ ปว่ ยอยา่ งเต็มใจ 2) ด้านสัมพันธภาพ – จัดให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ในการใช้เวลาอย่างสนุกสนานกับครูและเพื่อน – การให้เด็กคิดและกระทำด้วยตนเอง – การใหเ้ ด็กทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองเท่าท่จี ะทำได้ – การใหเ้ ดก็ ได้ทำสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยผา่ นการเลน่ ทีห่ ลากหลายดว้ ยความสนุก – การแบง่ ปนั ความสนกุ สนานความเศรา้ ผา่ นกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การมสี มั พนั ธภาพ กบั เพอ่ื น – การบอกใหเ้ พื่อนรู้ในสงิ่ ทต่ี นเองคิด และการเข้าใจสิ่งท่ีผู้อนื่ คดิ – การเข้าใจจุดแข็งของเพื่อนหรือเพ่ือนเก่งอะไร การทำกิจกรรมร่วมกันอย่าง สนกุ สนาน – ในระหว่างที่ทำกิจกรรมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน จัดให้เด็กเข้าใจเป้าหมาย มคี วามคิดสรา้ งสรรค์และร่วมมือกนั – การให้เด็กเข้าใจความแตกต่างของ “ดี” และ “ไม่ดี” และคิดในสิ่งที่ตนเอง จะกระทำ – การมีความสัมพนั ธท์ ีด่ แี ละใกลช้ ดิ กับเพอื่ น – การสนกุ สนานกับเพือ่ นจะต้องนึกถงึ สงิ่ ตา่ ง ๆ รวมท้งั กฎระเบยี บ – การรักษาของเล่น อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ และการแบง่ ปันให้ผู้อ่ืนไดเ้ ลน่ หรอื ใช ้ – การมีสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุ คนในชุมชน โดยคำนึงว่าบุคคลเหล่าน้ีเป็น ส่วนหน่ึงในการดำรงชวี ิต 3) สงิ่ แวดล้อม – ความสำคัญของธรรมชาติใกล้ตัว ความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติ ความสวยงาม ความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ ในการดำรงชีวิตมีหลายสิ่งที่เก่ียวข้องกับ ธรรมชาติ ซง่ึ เปน็ ส่ิงทนี่ ่าสนใจ นา่ คน้ หา – การตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ การดำรงชีวิตของคนในแต่ละ ฤดูกาล – การเลน่ กบั สง่ิ รอบตัว ๆ เช่น ธรรมชาต ิ – ความสำคญั ของการมชี วี ติ การอยรู่ ว่ มกบั สตั ว์ และพชื รอบ ๆ ตวั ในพนื้ ทรี่ อบ ๆ ตวั – การดแู ลรักษาชาติ ธรรมชาติ วฒั นธรรม – ความสำคญั ของสง่ิ ต่าง ๆ – การสนใจสิ่งรอบตัว ของเล่น การคดิ หาทางทำสิง่ ตา่ ง ๆ ใหส้ ำเรจ็ 16 รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญปี่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ – กระตุ้นความอยากรู้ด้านความคิดรวบยอดเก่ียวกับจำนวนและแผนภูม ิ ท่ีเก่ยี วข้องกบั ชีวติ ประจำวนั – กระตุ้นความอยากรดู้ า้ นสัญลกั ษณ์ ตัวอักษร ในชวี ติ ประจำวัน – กระตุ้นความอยากรู้ด้านข้อมูล ส่ิงอำนวยความสะดวก ที่มีบทบาทสำคัญ ต่อการดำเนนิ ชีวติ – การรู้จกั ธงชาติ และเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนทง้ั ในและนอกโรงเรยี น 4) ภาษา – การฟังครูและเพือ่ นด้วยความสนใจ และการพูดอยา่ งเป็นมิตร – การใชค้ ำพดู บอกสิ่งท่ที ำ เห็น ไดย้ นิ รู้สึก คดิ เปน็ ตน้ – การบอกสง่ิ ที่ต้องการ สง่ิ ทอ่ี ยากทำ การถามในสงิ่ ท่ีไม่รูห้ รอื ไมเ่ ขา้ ใจ – การตง้ั ใจฟังเวลาคนอืน่ พูด และการเข้าใจสงิ่ ทคี่ นอ่ืนพูด – การเขา้ ใจคำทใี่ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั – การแสดงความยนิ ดตี อ่ ผู้อ่ืนอย่างเปน็ มติ ร – การใชค้ ำทเ่ี หมาะสมและสนุกสนานกบั การใชค้ ำในชวี ติ ประจำวัน – การจนิ ตนาการและการใช้คำเกยี่ วข้องกับประสบการณ ์ – การสรา้ งความคนุ้ เคยกบั หนงั สอื ภาพและนทิ าน การฟงั เรอ่ื งทส่ี นใจ การสนกุ สนาน กบั การใช้จินตนาการ – การสนกุ สนานกับถ่ายทอดความคดิ ความรสู้ กึ ผา่ นตวั อกั ษรทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั 5) การแสดงออก – การสนุกสนานกับความรู้สึกจากความหลากหลายของเสียง สี รูปทรง รูปร่าง พ้ืนผวิ การเคลอื่ นไหว – การรบั รู้ความสวยงาม ความร้สู ึกท่แี สดงออก และการจินตนาการ – การแสดงความรสู้ ึกของตนเองในการทำส่ิงตา่ ง ๆ ให้ผ้อู นื่ ทราบ – การใช้เสียง การเคล่ือนไหว การวาดรูป การระบายสี เพ่ือแสดงความรู้สึก ความคดิ – การสร้างความคุ้นเคยกับวัสดุต่าง ๆ และการใช้วัสดุต่าง ๆ มาเล่นอย่าง สร้างสรรค์ – การสร้างความคุ้นเคยกับดนตรี การร้องเพลง การใช้เคร่ืองดนตรีกำกับจังหวะ อย่างงา่ ย ๆ – การวาดรูป ระบายสี สร้างสรรค์ ตกแตง่ ส่ิงตา่ ง ๆ ผ่านการเล่น – การแสดงจนิ ตนาการโดยการเคลอื่ นไหว คำพดู การเล่นโดยใช้จินตนาการ รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 17 กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี ่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ 2.4 การนำแผนและหลักสตู รไปสกู่ ารปฏิบัต ิ 2.4.1 การจดั การเรยี นการสอน จากการศึกษาของ Zhang Yan ได้อธิบายการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยของญี่ปุ่น ว่ามลี กั ษณะดังน้ี (Cited in Abumiya, n.d.) 1) ครูเล่นกับเด็กเหมือนเป็นเพ่ือนเล่นและกระตุ้นให้เด็กเล่นโดยไม่แสดงบทบาทของ การส่ังการ 2) ไม่ปกป้องเด็กจนเกินไป เด็กสามารถเดินโดยไม่ใส่รองเท้าได้รับประสบการณ์ การได้รับบาดเจ็บบ้าง ครูจะพูดคุยกับพ่อแม่เก่ียวกับสุขภาพ พฤติกรรม และการเรียนรู้ของเด็ก แตล่ ะวนั และมกี ารบันทึกแลกแปลยี่ นขอ้ มลู ระหวา่ งครูกับพอ่ แม ่ 3) ในพนื้ ทีส่ ำหรบั เลน่ จะมีลกั ษณะเปน็ เนินเลก็ ๆ ทางลาด ตน้ ไม้ พ้ืนทส่ี ำหรบั ให้เด็ก เลน่ ทราย นำ้ สัตวแ์ ละพืช เดก็ สามารถสนุกสนานกับการลองผิดลองถูก กิจกรรมนอกห้องเรยี นไดร้ ับ การสง่ เสริมเช่นเดยี วกับในห้องเรียน 4) เนื้อหาท่ีใช้ในการสอนจะสอดคล้องกับฤดูกาลวัฒนธรรมประเพณีในช่วงเวลา ทสี่ อน 5) อาหารกลางวนั จะเปน็ กลอ่ งข้าวท่ที ำโดยแม่หรอื จากท่บี า้ น 6) สามารถเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันกับผู้อื่นและไม่แสดงออกถึงส่ิงที่ตนเองต้องการ อยา่ งชัดเจน นอกจากน้ี คู่มือการจดั การศกึ ษาปฐมวัย ระบุใหค้ รูจัดการเรียนการสอนเพอื่ ใหเ้ ป็นไป ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องแต่ละด้าน ดงั น้ี (Monbukagakusho, 2017) ดา้ นสุขภาพ 1) ครูส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจอย่างยืดหยุ่น โดยให้เด็กได้สนุก กับความรู้สึกของการมีอยู่ของตนเองและสมหวังผ่านการสร้างสัมพันธภาพกับครูและเด็กอ่ืน ๆ ครู ควรกระตุ้นให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างเต็มใจและได้รับประสบการณ์ของความรู้สึกดี มีความสุข กับการเคล่อื นไหวร่างกาย 2) ครูต้องกระตุ้นและให้กำลังใจเด็กในการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อพัฒนาความรู้สึก สนุกสนานในการทำกิจกรรม ตระหนักถึงความปลอดภัย รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ ผ่านการ เลน่ ตามทเ่ี ด็กสนใจและความสามารถของเด็ก 3) ครูต้องกระตุ้นและให้กำลังใจเด็กให้มีความสนใจ อยากรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ นอก ห้องเรียน โดยให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติเพื่อกระตุ้นพัฒนาการของ กลไกต่าง ๆ ในร่างกาย ครูควรออกแบบสนามเด็กเล่นอย่างสร้างสรรค์ มีอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เด็กได้ เลอื กเลน่ 18 รายงานการศกึ ษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณีศกึ ษาประเทศญีป่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด์ 4) ครูต้องกระตุ้นให้เด็กอยากรับประทานโดยรับประทานร่วมกับครูและเพ่ือนใน บรรยากาศทเี่ ปน็ มติ รอบอุ่น ทำใหเ้ กิดความสนใจในความหลากหลายของอาหาร 5) ครูควรแนะนำเด็กให้มีลักษณะนิสัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตโดยให้เด็กรู้จัก การพงึ่ พาตนเอง อาสาสมคั รในการทำกจิ กรรม โดยยงั รกั ษาความสัมพันธท์ ดี่ ีกับผอู้ ื่น ดา้ นสัมพนั ธภาพ 1) เด็กสร้างความไว้ใจในสัมพันธภาพกับครูซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการมีสัมพันธภาพกับ ผู้อ่ืน ดังนั้น ครูควรคอยสังเกตการกระทำและกระตุ้นให้กำลังใจเด็ก เม่ือมีความรู้สึกต่าง ๆ จากการ มปี ฏิสมั พนั ธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยตวั เขาเองและให้เด็กได้เรยี นรู้จากการลองผดิ ลองถกู 2) ครูจัดกิจกรรมท่ีมีลักษณะอาสาสมัครเพ่ือให้เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกันและมองเห็น ถึงความสำคัญของแต่ละคนในการทำงานเป็นกลุ่ม ครูต้องกระตุ้นและให้กำลังใจเด็กที่จะแสดงออก อยา่ งเชื่อม่นั แสดงความสามารถใหส้ มาชกิ ในกลุ่มไดเ้ หน็ การได้รบั คำชมจากครแู ละเพ่อื น 3) ครูต้องกระตุ้นและให้กำลังใจเด็กให้ตระหนักถึงการมีตัวตนของผู้อื่นในการสร้าง สัมพันธภาพโดยการให้เกียรติและเคารพครูและเพื่อน การพัฒนาความรู้สึกผ่านการปฏิสัมพันธ์กับ ธรรมชาติรอบตัว สตั ว์ พืช ให้เด็กได้รบั การพฒั นาความไวว้ างใจทลี ะนอ้ ย รวมทงั้ ความเห็นอกเหน็ ใจ ผา่ นประสบการณก์ ารเอาชนะอปุ สรรค การทะเลาะ ความพ่ายแพ้ 4) เมอ่ื เด็กมีสัมพนั ธภาพกับเพอื่ นและผู้อ่ืนจนรวมเป็นกลุ่ม ครตู อ้ งใหเ้ ดก็ รู้จักควบคุม ความรู้สึกโดยการกระตุ้นและให้กำลังใจในการแสดงความคิด การยอมรับผู้อื่น การตระหนักในกฎ กติกา 5) ครูต้องกระตุ้นให้เด็กพัฒนาความใกล้ชิดกับคนที่อยู่รอบตัว เช่น ผู้สูงอายุและ คนในชุมชน ให้ได้รับประสบการณ์ท่ีสนุกสนานในการมีสัมพันธภาพ ครูจัดประสบการณ์ในแต่ละวัน ให้เด็กได้ระลึกถึงความรักของพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย และสมาชิกในครอบครัว และให้เด็กรู้สึกซาบซึ้งกับ ความรัก มีความเคารพตอ่ คนในครอบครัว ดา้ นสิ่งแวดล้อม 1) ครูทำให้เด็กตระหนักถึงความสำคัญของส่ิงแวดล้อมรอบตัวขณะที่เด็กเล่นและเกิด ความอยากรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั คอยอำนวยความสะดวกใหเ้ ดก็ ได้ทำส่ิงต่าง ๆ โดยคำนึงถึงกฎ กติกา ในขณะเดยี วกันกระตนุ้ ให้เดก็ รู้จกั ฟงั ความคิดของผอู้ ่ืนและสนุกสนานกบั ความคดิ ใหม ่ 2) ครูควรจัดประสบการณ์ให้เด็กได้คิดและแสดงออกผ่านการสัมผัสธรรมชาติ เกิด ความรู้สึกอารมณ์ตอ่ ความยง่ิ ใหญค่ วามสวยงามของธรรมชาต ิ 3) ครคู วรกระตุน้ และใหก้ ำลังใจเด็กในการแบ่งปนั ความรู้สึกท่ีไดร้ บั จากประสบการณ์ ทไ่ี ด้สมั ผสั กับธรรมชาติ สตั ว์ พชื หรอื ส่งิ มชี วี ิตรอบตัว ทำใหเ้ ดก็ เกดิ ความรสู้ ึกผกู พนั และตระหนกั ถึง การมชี วี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ เกดิ จติ วญิ ญาณของความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและความอยากรขู้ นึ้ ภายในใจ รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ 19 กรณศี กึ ษาประเทศญีป่ ุน่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ 4) ครูควรกระตุ้นและให้เด็กเห็นความจำเป็นของการมีชีวิตของส่ิงต่าง ๆ เกิดความ สนใจอยากรู้อยากทำ รวมท้ังเข้าใจความคิดรวบยอดของคำว่าปริมาณและคำที่เขียนให้เห็นอยู่ในชีวิต ประจำวัน ด้านภาษา 1) ครูกระตุ้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่สนุกสนานในการแลกเปล่ียนคำต่างๆ ในขณะที่สร้างความสัมพันธ์กบั ครแู ละเดก็ คนอืน่ ๆ 2) ครูควรช่วยเด็กทีละเล็กละน้อยเพื่อให้สามารถเข้าใจสิ่งที่คนอ่ืนพูดส่ือสารด้วยคำ โดยกระต้นุ ใหเ้ ดก็ ส่ือสารความคดิ ของตนเองดว้ ยคำตา่ ง ๆ และฟงั สิง่ ทีค่ รูและเดก็ คนอ่ืนพดู ดว้ ยความ สนใจและต้งั ใจฟงั 3) ครูต้องกระตุ้นให้เด็กมีจินตนาการและพัฒนาความเข้าใจภาษาโดยให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ที่สนุกสนานผ่านหนังสือภาพ เรื่องเล่า เป็นต้น ให้เด็กได้ใช้จินตนาการของตนเองและ มีความคดิ สร้างสรรค์ 4) ครตู อ้ งกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณส์ นกุ สนาน มคี วามสขุ กบั การบอกความคดิ ความรสู้ ึกผ่านคำตา่ ง ๆ ที่เหน็ และพฒั นาความสนใจความอยากรเู้ กีย่ วกับคำท่ีเหน็ ในชีวติ ประจำวัน ด้านการแสดงออก 1) ครูควรจัดประสบการณ์ให้เด็กได้แบ่งปันความรู้สึกและแสดงออกถึงความรู้สึก อย่างหลากหลายวธิ ี 2) ครูควรกระตุ้นให้เด็กรู้สึกสนุกสนานในการแสดงความรู้สึกของตนเองด้วยวิธีการท่ี เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการ ให้เด็กได้เห็นถึงความสำคัญของกระบวนการแสดงออกและให้เด็ก ได้มโี อกาสฟังการแสดงความร้สู ึกของผู้อน่ื การให้บรกิ ารของโรงเรียนอนบุ าลโดยท่วั ไปเริ่มตัง้ แต่ 09.00-14.00 น. ส่วนศนู ย์ดแู ล เด็กเล็กเปิดบรกิ ารต้งั แต่ 07.00-18.00 น. (Hayashi & Tobin, 2017) 2.4.2 การวดั และประเมินผล ในแต่ละวันครูอนุบาลส่วนใหญ่จะบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นกับเด็กที่รับผิดชอบ วางแผนและ เตรียมการสอน/ดูแลเด็กล่วงหน้า และเมื่อสิ้นสุดจะมีการประชุมและสรุปวิธีการสอนและดูแลเด็ก ครูใหญ่หรือหัวหน้าครูดูแลเด็กจะให้คำแนะนำแก่ครู มีการสังเกต อภิปราย บันทึกวิดีโอ เพ่ือพูดคุย เก่ยี วกับการดูแลเดก็ (การสมั ภาษณค์ รปู ฐมวยั , 2019) จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลพบว่า เด็กจะได้รับการประเมินเป็นราย บุคคลผ่านการจดบันทึก การสังเกตของครูในแต่ละวัน แต่ละสัปดาห์ เพื่อให้เด็กมีความพร้อมที่จะ เขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา และเดก็ จะเขา้ เรยี นในโรงเรยี นประถมศกึ ษาใกลบ้ า้ นซงึ่ ไมม่ กี ารสอบเขา้ 20 รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี ุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด์ ประเทศญ่ีปุ่นได้มีการปรับปรุงกฎหมายสถานศึกษา (School Education Act 2007) โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาปฐมวัยเพ่ือสร้างพ้ืนฐานสำหรับการศึกษาใน ระดับประถมศึกษาและการศึกษาในระดับที่สูงข้ึน (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology, 2016) และพ่อแม่จะต้องไปลงทะเบียนเข้าเรียนเม่ืออยู่ในวัยเข้าเรียน ซง่ึ มรี ะยะเวลาของการศกึ ษาภาคบงั คบั เปน็ เวลา 9 ปี ประกอบดว้ ยระดบั ประถมศกึ ษา 6 ปี และระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี การศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาโดยใช้ระบบอายุเป็นหลัก เด็กจะลงทะเบียนตามวันเดือนปีเกิด โดยเม่ือมีอายุ 6 ขวบแล้วเด็กจะเข้าเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 ซ่ึงเปิดเรียนในวันที่ 1 เมษายน ไม่มีระบบข้ามชั้นหรือซ้ำช้ัน หากมีเด็กท่ีต้องเรียนเป็นระยะเวลา นานกว่าคนอ่ืนเน่ืองจากเจ็บป่วยจะถูกจัดให้เรียนในช้ันท่ีเหมาะสมกับอายุ โดยทั่วไป โรงเรียนระดับ ประถมศึกษาเป็นโรงเรียนของรัฐซ่ึงดูแลโดยเทศบาล/เขต สำหรับโรงเรียนประถมศึกษาที่อยู่ภายใต้ คณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยของรัฐจะดูแลโดยรัฐบาลกลาง ทั้งน้ี เทศบาล/เขตจะกำหนด ให้เด็กเข้าเรียนตามเขตที่อยู่อาศัย แต่เทศบาล/เขตบางแห่งก็เปิดโอกาสให้พ่อแม่เลือกให้เด็กเข้าเรียน ในเขตที่อาศัยได้หากมีท่ีว่างโดยมีคณะกรรมการด้านการศึกษาประจำเทศบาล/เขตพิจารณาว่าเด็ก ควรเข้าเรียนที่ใด (Numano, n.d. and Plaza Homes, 2018 ) สำหรบั เด็กทม่ี คี วามต้องการพิเศษ หากมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเข้าเรียนโรงเรียนการศึกษาพิเศษ คณะกรรมการการศึกษาประจำ เขตจะพิจารณาภาพรวม ลักษณะความพิการ ความต้องการจำเป็นทางการศึกษา ความเห็นของเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง แพทย์ นักจิตวิทยาและนักวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์ของสถานศึกษาและ ชุมชนท้ังน้ีจะเคารพในความคิดเห็นของเด็กและพ่อแม่ให้มากที่สุด และกฎหมายกำหนดให้ครูใหญ่/ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าล/ศนู ยด์ แู ลเดก็ ตอ้ งสง่ รายงานตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั เดก็ ไปยงั ครใู หญ/่ ผอู้ ำนวยการ โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology, 2016) 2.4.3 ทรัพยากรและแหลง่ เรยี นรู้ กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รัฐบาลท้องถิ่น และคณะกรรมการโรงเรียนเอกชนเสนอโครงการวิจัยท่ีเก่ียวกับโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนอนุบาล บางแห่งได้รับทุนวิจัยจากรัฐโดยอาจจะทำการศึกษาเองหรือร่วมกับอาจารย์มหาวิทยาลัย โครงการ วจิ ยั บางเร่ืองจะถกู กำหนดจากรัฐบาลท้องถิ่นเพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ต่อโรงเรียนต่าง ๆ มีการนำเสนอผล จากการศึกษาของโครงการวิจัยท่ีมาจากกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเป็นประจำทุกปี โดยมีผู้เข้าร่วมฟังเป็นครูและองค์กรท่ีเก่ียวข้องทั้งในเขตพื้นที่และจาก ท่วั ประเทศ (การสัมภาษณ์, 2019) มีการจัดทำเอกสาร (Bulletin) โดยกลุ่มครูอนุบาลและวารสารสำหรับครูท่ีจัดพิมพ์ โดยสำนักพิมพ์ท่ัวไป เพื่อให้ครูได้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการสอนต่าง ๆ ความคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกับของเล่น และอปุ กรณ์การเล่น หนงั สือภาพใหม่ ๆ เปน็ ต้น (Ochanomizu University, n.d.) รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ 21 กรณศี ึกษาประเทศญ่ีปุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด ์ 2.5 มาตรฐานการจดั การศึกษา 2.5.1 กรอบ/แนวทางการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มีการกำหนดมาตรฐานของอาคารและส่ิงอำนวยความสะดวกซ่ึงมีการตรวจสอบ อย่างเข้มงวด โรงเรียนอนุบาลของรัฐอยู่ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการการศึกษาประจำจังหวัด ซึ่งจะให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย ส่วนโรงเรียนอนุบาลเอกชนจะอยู่ภายใต้การดูแล ของกองการศึกษาเอกชนของจังหวัดซึ่งเป็นกลุ่มอิสระ ส่วนใหญ่จะจัดอบรมเฉพาะกลุ่มครูเอกชนเพื่อ พฒั นาวธิ กี ารการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย (Ochanomizu University, n.d.) การฝากเด็กหรือเข้าเรียนท่ีศูนย์ดูแลเด็กทั้งของรัฐและเอกชน จะต้องส่งใบสมัครไปที่ เขตเพ่ือให้พิจารณาโดยจะคำนึงถึงรายได้ความต้องการจำเป็นของพ่อแม่ จากนั้นเขตจะแจ้งผลว่า สามารถเข้าเรียนในสถานดูแลเด็กน้ันได้หรือไม่หรือต้องไปเข้าท่ีสถานดูแลเด็กที่อ่ืนรวมทั้งเวลาในการ ให้เด็กอยู่ท่ีศูนย์เลี้ยงดูเด็ก บางครอบครัวมีความจำเป็นต้องให้เด็กอยู่ที่ศูนย์ถึงเวลา 20.00 น. ในปี 2561 ทีเ่ ขตฟคุ ุโอกะมผี ้สู ง่ ใบสมคั ร จำนวน 40,000 คน ไม่สามารถเข้าศนู ยด์ แู ลเด็กได้ 20 คน ไม่สามารถเข้าศนู ย์ดูแลตามทีต่ อ้ งการได้ 1,300 คน (การสมั ภาษณ,์ 2019) จงั หวัดจะออกใบอนุญาตใหศ้ ูนยด์ แู ลเด็กและศนู ย์ ECEC ทร่ี บั เดก็ ทพ่ี ่อแมต่ ้องออกไป ทำงานและเป็นศูนย์ท่ีสามารถสนับสนุนการดูแลเด็กเล็กในชุมชน ลักษณะของสถานศึกษาหรือศูนย ์ ที่จงั หวดั ออกใบอนญุ าต แบง่ ได้ 4 ประเภท คอื 1) สถานศกึ ษาทบ่ี รหิ ารจดั การรว่ มในระดบั อนบุ าลและศนู ยด์ แู ลเดก็ เลก็ ทเ่ี รยี กวา่ ECEC 2) โรงเรยี อนุบาลท่มี ีบรกิ ารดแู ลเด็กเล็ก 3) ศนู ยด์ ูแลเดก็ เล็กและรับดแู ลเดก็ ระดบั อนุบาล 4) ศูนย์ดูแลเด็กในเขตเทศบาลซ่ึงไม่มีใบอนุญาตท้ังโรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์ดูแลเด็ก แตม่ คี วามจำเปน็ ต้องได้รับอนญุ าตใหด้ ำเนนิ การ นอกจากนี้ เทศบาลอนุญาตให้จัดโปรแกรมดูแลเด็กในสถานทตี่ า่ ง ๆ ได้ เชน่ Home- Like Childminding Program, Small-Scale Daycare Program, Home Visiting Type Daycare Program, Daycare Facilities at Businesses เป็นตน้ 2.5.2 คุณภาพของครแู ละผู้ดแู ล ครูปฐมวัยจะต้องมีความชำนาญในการเข้าใจโลกภายในของเด็ก สามารถค้นหาได้ว่า เด็กต้องการอะไรและจัดสภาพแวดล้อมทรัพยากรท่ีตอบสนองความต้องการก่อนท่ีเด็กจะร้องขอ (Abumiya, n.d.) ครูโรงเรียนอนุบาลต้องมีใบประกอบวิชาชีพซ่ึงรับรองโดยจังหวัด ใบประกอบวิชาชีพ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ครูท่ีสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย 4 ปีจะได้รับใบประกอบวิชาชีพ ระดับ 1 ครทู ส่ี ำเร็จการศึกษาจากวิทยาลยั 2 ปจี ะไดใ้ บประกอบวิชาชพี ระดบั 2 ครูที่สำเรจ็ การศึกษา 22 รายงานการศกึ ษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญป่ี ่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษาจะได้รับใบประกอบวชิ าชีพพิเศษ (Specialized Certificate) ในแต่ละระดบั จะได้ รับเงินเดือนต่างกันรวมท้ังความก้าวหน้าในอาชีพ (Ochanomizu University, n.d.) อย่างไรก็ตาม ทุกคนจะต้องสอบเพื่อให้ได้ใบประกอบวิชาชีพและหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนาครูเป็นไปตามกฎหมาย ท่ีเกี่ยวการฝึกอบรมครูท่ีรัฐบาลกำหนด ใบประกอบวิชาชีพใช้ได้ 15 ปีจากนั้นต้องสอบเพื่อต่อ ใบประกอบวิชาชีพ รายช่ือผู้ท่ีสอบผ่านจะส่งไปให้คณะกรรมการการศึกษาประจำจังหวัดเพื่อ พิจารณาออก/ต่อใบประกอบวิชาชีพ ส่วนครูในศูนย์ดูแลเด็กไม่มีระบบของการต่อใบประกอบวิชาชีพ เม่ือสอบได้ใบประกอบวิชาชีพแล้วใช้ได้ตลอดชีพโดยรัฐบาลเป็นผู้ออกใบประกอบวิชาชีพ (การสมั ภาษณ์, 2019) การเป็นครูในโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐและเอกชนต้องเริ่มจากการเป็นครูฝึกหัดเป็น เวลา 1 ปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญซ่ึงเป็นอดีตผู้อำนวยการโรงเรียนไปให้คำแนะนำ ไม่น้อยกว่า 6 คร้ัง ในโรงเรยี นอนุบาลของรฐั ครูทส่ี อนมา 10 ปจี ะต้องเข้าโปรแกรมฝกึ อบรมที่รฐั จดั ให้เฉพาะและครูใหม่ (ปีแรก) ท้งั รัฐและเอกชนจะอบรมรวมกนั การอบรมอ่นื ๆ จะมกี ารจัดโดยโรงเรยี นของรัฐและเอกชน ในช่วงวันทำงานหรือวันหยุด ซ่ึงส่วนใหญ่ครูจะเข้าร่วมอบรม ครูบางคนมีความรักในการทำงาน ใช้เวลาในช่วงวันหยุดเข้าเรียนระดับบัณฑิตศึกษาหรือรวมกลุ่มเพ่ือเรียนรู้เร่ืองต่าง ๆ ที่สามารถนำมา พัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Ochanomizu University, n.d. และการสัมภาษณ์, 2019) ในสถานดูแลเดก็ และโรงเรยี นอนบุ าล ครูบางคนจะเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมวิจัยด้านการศึกษาปฐมวัย (Japan Society of Research on Early Childhood Care and Education) ซ่งึ มากกวา่ คร่งึ ของสมาชกิ เปน็ ครใู น โรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็ก นอกนั้น มักจะเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยที่เปิดสอน ดา้ นการศกึ ษา (Ochanomizu University, n.d.) 2.5.3 บทบาทของพอ่ แม่และชุมชน การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมทำใหพ้ อ่ แมจ่ ำเปน็ ตอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม พอ่ แมไ่ ปทโี่ รงเรยี น อนุบาลหรือศูนย์ดูแลเด็กเล็กเพื่อช่วยในการจัดการและใช้อุปกรณ์หรือทรัพยากรในสถานศึกษาเพื่อ จัดกิจกรรมต่าง ๆ โรงเรียนอนุบาลจะจัดห้องสำหรับให้ผู้ปกครองได้มาพบปะพูดคุยแลกเปล่ียน ประสบการณ์ ทำกิจกรรมต่าง ๆ พ่อแม่สามารถเข้าไปนั่งในห้องเรียนเพื่อดูการเรียนการสอน สังเกต พฒั นาการของเด็กในหอ้ งเรยี น (NIER, 2009) รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและต่างประเทศ 23 กรณศี ึกษาประเทศญีป่ นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซแี ลนด ์ 2.6 งบประมาณและการลงทนุ รัฐบาลให้การสนับสนุนงบประมาณให้กับระดับการศึกษาท่ีจำเป็นแต่งบประมาณสำหรับ ระดับปฐมวัยมีจำนวนจำกัด (OECD, 2018) ตามแผนพื้นฐานในการส่งเสริมการศึกษา ฉบับท่ี 2 (2013-2017) ได้วางแผนให้เด็กปฐมวัยทกุ คนได้เรยี นโดยไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย มหานครโตเกียวได้ให้การสนับสนุนการศึกษาระดับปฐมวัยในหลายโครงการ เช่น โครงการ สง่ เสรมิ การสรา้ งสง่ิ อำนวยความสะดวก (Project to Promote the Establishment of Facilities) โดยสนับสนุนงบประมาณบางส่วน มีโครงการส่งเสริมท่ีดินศูนย์ดูแลเด็กเล็ก (Project to Secure the Land for Daycare Facilities) โดยการให้เช่าท่ีดินของมหานครโตเกียวในราคาต่ำ (Tokyo Metropolitan Government, 2018) สถานศึกษาที่บริหารร่วมท้ังโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กเล็ก (ECEC) จะได้รับ งบประมาณจาก 3 แหล่ง ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการดูแลเด็กเล็ก สนับสนุนจาก Day Nursery Operating Management Fund of the MHLW ระดับอนุบาลได้รับการสนับสนุนจาก Private Education Institution Aid and Subsidy for Kindergarten Fees โดย MEXT ศูนย์ ECEC ไดร้ ับ การสนับสนุนจาก Fund to Comfort Parents/Guardians within Child-Rearing จากรัฐบาล ท้ังนี้ พ่อแม่ไม่ได้รับเงินสนับสนุนโดยตรงแต่จะให้ทางสถานศึกษา และส่วนต่างของการสนับสนุน ทก่ี ำหนดพ่อแม่จะต้องรับผิดชอบเอง (Abimuya, n.d.) จากการที่รัฐบาลมีนโยบาย Comprehensive Support System for Children and Childcare (CSSCC) ซ่ึงเริ่มดำเนินการต้ังแต่เดือนเมษายน 2015 เพ่ือลดปัญหาศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ไมเ่ พียงพอ โดยรฐั บาลสนบั สนนุ ทางการเงินแกส่ ถานบรกิ ารขนาดเลก็ ในชุมชน (Chiiki-Gata Hoiku) และช่วยเหลือโครงการท่ีเป็นแผนงานของรัฐบาลท้องถ่ิน เรียกว่า Chiiki Kodomo Kosodate Shien Jigyou โรงเรยี นอนบุ าลและศนู ยด์ แู ลเดก็ ของรฐั ไดร้ บั งบประมาณซง่ึ มาจากการเกบ็ ภาษี สว่ นโรงเรยี น อนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กของเอกชนได้รับงบประมาณบางส่วนจากรัฐบาลและจังหวัด และจาก ผู้ปกครองเด็กประมาณ 1,500-2,000 บาท อยา่ งไรกต็ าม ตั้งแต่เดือนตลุ าคม 2019 ผปู้ กครองไม่ตอ้ ง เสียค่าใช้จ่ายในการศึกษาปฐมวัยทั้งของรัฐและเอกชน โดยโรงเรียนเอกชนรัฐบาลสนับสนุน 50% จงั หวัด 25% เขต 25% ในขณะทโี่ รงเรียนของรัฐเขตสนบั สนุน 100% (การสมั ภาษณ์, 2019) 24 รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณศี กึ ษาประเทศญปี่ ่นุ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด์ 2.7 การจัดการศกึ ษาสำหรบั เด็กทีม่ คี วามต้องการพิเศษระดับปฐมวยั 2.7.1 แนวทางการจัดการศึกษาสำหรับเด็กท่ีมคี วามตอ้ งการพเิ ศษ การศึกษาพิเศษได้จัดขึ้นมานานประมาณ 132 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ ปี 1878 มีการจัด การศึกษาสำหรับเดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเห็นและทางการไดย้ ิน ซึ่งหลงั จากสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ได้มีมาตรการให้พัฒนาการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและจิตใจ ต่อมากฎหมาย การศึกษาสำหรับสถานศึกษาใน ปี 1947 ระบุว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษควรได้รับการศึกษา ตามเป้าหมายเดียวกันกับเด็กทั่วไป และใน ปี 1954 กฎหมายส่งเสริมการเข้าเรียนในโรงเรียน สำหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนสำหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น โรงเรียนสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย ทำให้ต้องมีการดำเนินการให้เด็กพิการได้เข้าเรียน ในโรงเรียน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการในขณะน้ันได้มีประกาศเกี่ยวกับการสอนเด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางการเห็น เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และเด็กที่มีความบกพร่องด้านอ่ืน ๆ นอกจากน ้ี มีการใช้กฎหมายใบประกอบวิชาชีพครู ปี 1949 ดังนั้น เพ่ือให้ครูสามารถสอนในโรงเรียน ประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียนการศึกษาพิเศษได้ มหาวิทยาลัยของรัฐจำนวน 53 แหง่ และมหาวทิ ยาลยั เอกชนจำนวน 24 แหง่ จงึ ตอ้ งจดั ทำสาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษโดยเปดิ การสอน ถึงระดับปริญญาโท หรือสามารถเรียนท่ีวิทยาลัยฝึกอบรมครูแต่การได้รับประกาศนียบัตรช้ันสูง ทางการสอนได้ต้องจบระดับปริญญาโท ต่อมาใน ปี 1978 กฎหมายการศึกษาสำหรับสถานศึกษา ได้กำหนดให้การศึกษาสำหรับเด็กพิการทุกประเภทจัดการศึกษาเหมือนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานคือ เด็กทุกคนตอ้ งไดเ้ รยี นต้งั แต่อายุ 6-15 ปี (ปยิ ะรัตน์ นุชผ่องใส, 2523) การบรหิ ารจดั การของประเทศญี่ปนุ่ จะแบ่งเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ ระดับชาตหิ รือรฐั บาล ส่วนกลาง ระดับจังหวัด (47 จังหวัด) และระดับเมืองหรือเขต (1,804 เมือง) คณะกรรมการด้าน การศึกษาระดับจังหวัดจะรับผิดชอบการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและโรงเรียนเฉพาะ ความพิการ ส่วนคณะกรรมการด้านการศึกษาระดับเมืองหรือเขตจะรับผิดชอบการจัดการศึกษา โรงเรียนท่ัวไประดับปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น นอกจากนี้ ในระดับจังหวัดและ ระดับเมืองจะมีคณะกรรมการแนะแนวโรงเรียนทำหน้าท่ีให้คำปรึกษาและแนะแนวเก่ียวกับเด็กใน โรงเรียนและอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการนี้ทำงานอย่างเป็นอิสระและอยู่ในกำกับของกระทรวง สขุ ภาพและสวสั ดิการ ประกอบด้วย แพทย์ นักจติ วทิ ยา ครู นักบริหารการศึกษา การใหค้ ำแนะนำจะ รวมถึงการพิจารณาความเหมาะสมในการเข้าเรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการหรือการเรียนในชั้น เรยี นพเิ ศษ การใหค้ ำแนะนำเก่ียวกับการสอนเด็กพกิ ารในชั้นเรยี นท่ัวไป การจัดชั้นเรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ โดยท่ัวไปจะมีจำนวนนักเรียนห้องละ 7 คน เด็กพกิ ารระดบั รนุ แรงจะมจี ำนวนนกั เรียนหอ้ งละ 3 คน ชัน้ เรียนพเิ ศษในโรงเรยี นทว่ั ไปจำนวน นักเรียนห้องละ 10 คน แต่ในความเป็นจริงมีจำนวนนักเรียนพิการน้อยกว่าที่กำหนด หลักสูตรใน รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 25 กรณีศกึ ษาประเทศญป่ี นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนวิ ซแี ลนด์ โรงเรียนเฉพาะความพิการมีวิชาท่ีหลากหลายและต้องเป็นไปตามที่สภาการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการกำหนด โรงเรียนสามารถจัดทำหลักสูตรได้ตามสภาพของโรงเรียนและชุมชน ประเภท ความพิการของนักเรียน ความสามารถ ความถนัด และปัจจัยอื่น ๆ ครูท่ีสอนด้านการศึกษาพิเศษ จะต้องได้รับใบประกอบวิชาชีพในการสอนในโรงเรียนท่ัวไประดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายหรือระดับอนุบาล หากจะสอนในโรงเรียนเฉพาะความพิการจะต้องได้รับ ประกาศนียบัตรในการสอนในแต่ละความพิการ ครูสามารถสอนช้ันเรียนพิเศษร่วมกับครูที่ม ี ใบประกอบวิชาชีพการสอนในโรงเรียนท่ัวไปได้ แต่ควรจะได้รับประกาศนียบัตรด้านการสอนในแต่ละ ความพิการด้วย การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการจะถูกจัดตามประเภทและระดับความพิการโดย เรียนที่โรงเรียนเฉพาะความพิการแต่ละประเภท และมีชั้นเรียนพิเศษในโรงเรียนประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนต้นและห้องเสริมวิชาการ (Resource) สำหรับนักเรียนพิการในโรงเรียนท่ัวไป นักเรียนท่ีมีความพิการระดบั ปานกลางจะไดร้ บั การศกึ ษาตามประเภทความพกิ ารในชนั้ เรยี นพเิ ศษ และ นักเรียนพิการระดับน้อยซ่ึงเรียนในชั้นเรียนปกติของโรงเรียนท่ัวไปในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนต้นจะได้รับการเรียนเสริมในช้ันเรียนพิเศษหรือห้อง Resource รัฐมีความเห็นว่า โรงเรียนเฉพาะความพิการควรใช้ประโยชน์จากครูที่มีความรู้และอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกโดย ทำให้เป็นศูนย์สำหรับการให้คำปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษแก่ชุมชน และมีการจัดทำแผนการศึกษา เฉพาะบุคคลสำหรับเด็กทีม่ ีความพกิ ารซอ้ นและกิจกรรมบำบดั ทางการศึกษาสำหรับเด็กพิการทกุ คน โรงเรยี นทเ่ี ปน็ ตัวอยา่ งในการนำนโยบายดงั กล่าวมาใชค้ อื The National Kurihama School for Children with Disabilities ซึ่งก่อตั้งเม่ือ ปี 1973 เป็นโรงเรียนท่ีสอนเด็กพิการ ระดับรุนแรงและพิการซ้อน และให้ความร่วมมือกับ National Institute of Special Needs Education (NISE) ในการทำวิจัยด้านการศึกษาพิเศษ มีการสอนระดับอนุบาลและประถมศึกษา ประกอบดว้ ย 6 ห้องเรยี น แบ่งกลมุ่ เด็กพิการได้ 4-5 คน รวมเด็กทัง้ หมด 28 คน การเรยี นการสอน จัดตามแผนการเรียนเฉพาะบุคคล มีระบบท่ีปรึกษาโรงเรียน พัฒนาบทบาทของโรงเรียนให้เป็นศูนย์ ดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในชมุ ชน โดยการจดั ใหม้ กี ารใหค้ ำปรกึ ษาเกยี่ วกบั เดก็ ตงั้ แตแ่ รกเกดิ จนถงึ วยั หนมุ่ สาว ที่มีความพิการ ติดตามข้อมูลข่าวสารในสังคมเทคโนโลยี และพัฒนาความร่วมมือกับชุมชน สำหรับ ระบบทปี่ รกึ ษา โรงเรยี นปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสมาชกิ ของคณะทป่ี รกึ ษาประกอบดว้ ย คนในชุมชน ผู้ปกครอง บุคลากรที่เกี่ยวข้องในชุมชน นักการศึกษา แต่งต้ังโดยครูใหญ่ มีจำนวน ประมาณ 15 คนหรอื นอ้ ยกวา่ มวี าระ 1 ปี สามารถเลือกเขา้ มาใหมไ่ ด ้ โรงเรียนสำหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ทางการได้ยิน ทางร่างกายและ สติปัญญาน้ัน แต่ละโรงเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมเด็กที่มีความพิการให้มีความรู้และทักษะ ท่ีจำเป็น จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จังหวัด มหี นา้ ทรี่ ับผิดชอบในการจดั ตัง้ โรงเรียน นักเรยี นพิการจะไดร้ ับการสนับสนุนทางการศึกษาจากรัฐบาล 26 รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศกึ ษาประเทศญีป่ นุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ์ ญป่ี ุ่น ประมาณรอ้ ยละ 80 ไดแ้ ก่ การดูแลสขุ ภาพ สงั คมและส่ิงแวดลอ้ มท่อี าศัยอยู่ การจดั ตง้ั โรงเรียน ซงึ่ รวมทงั้ โรงเรียนอนบุ าล การจัดต้ังหอ้ งสมดุ อปุ กรณ์ในหอ้ งปฏบิ ัติการ การฝกึ งานสำหรบั เด็กพิการ การช่วยเหลือในการเดินทางไปโรงเรียน จัดหาอุปกรณ์ส่ิงอำนวยความสะดวกท่ีนักเรียนจำเป็น จัดหา เก้าอี้รถเข็นสำหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย จัดหาอุปกรณ์สำหรับเด็กที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินและทางการเห็น จัดหาอาหารกลางวัน หอพัก จัดหาเอกสารการสอนและคอมพิวเตอร์ สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น จัดหาอุปกรณ์กีฬา สร้างสระว่ายน้ำ โรงยิม สร้างหอพัก สำหรับเด็กนอกโรงเรียน เตรียมสถานที่ต่าง ๆ สำหรับให้ศึกษาในระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา หางานให้ทำหลังจากสำเร็จการศึกษา รวมทั้งสิทธิอื่น ๆ ตามรัฐธรรมนูญ ของญ่ีปุ่น รัฐบาลท้องถิ่นบางแห่งจะมีระบบให้ผู้เช่ียวชาญไปเย่ียมโรงเรียนเพื่อให้คำแนะนำเก่ียวกับ การดูแลเด็กพิเศษ (Ochanomizu University, n.d.) เมื่อเด็กพิเศษเข้าไปเรียนในโรงเรียนอนุบาล หรือศูนย์ดูแลเด็กไม่ว่าจะเป็นของรัฐหรือเอกชนรัฐ/เขตจะให้การสนับสนุนในการปรับสภาพแวดล้อม หรือการจดั การเรยี นการสอน 2.7.2 สถาบันแห่งชาตดิ ้านการศึกษาพิเศษ (National Institute of Special Needs Education, Japan-NISE) สถาบนั แหง่ ชาตดิ า้ นการศกึ ษาพเิ ศษตง้ั ขน้ึ เมอ่ื ปี 1971 เพอ่ื ดำเนนิ กจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั การศึกษาสำหรับเด็กพิการโดยเน้นในเรื่องของการทำวิจัย ต่อมาในเดือนเมษายน ปี 2001 ได้ปรับ ให้เป็นหน่วยงานที่มีการบริหารอย่างอิสระ โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือและแลกเปลี่ยนทางด้าน การศกึ ษาพิเศษการสนบั สนนุ การศึกษาพิเศษในเอเชียและแปซิกฟิก ประกอบดว้ ย 6 กลุม่ งาน ได้แก่ 1) กลมุ่ งานนโยบายและแผน มีหน้าที่จดั ทำแผนโครงการวิจยั ของสถาบนั การสำรวจ และวจิ ัยเก่ยี วกบั ปญั หานโยบาย กฎหมาย การบรหิ ารงานทเี่ ก่ยี วกบั การจัดการศึกษาสำหรับคนพกิ าร กิจกรรมร่วมกับนานาชาติ การจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาสำหรับคนพิการของประเทศญ่ีปุ่นเพื่อ เผยแพร่แก่ประเทศต่าง ๆ การจัดสัมมนาระดับนานาชาติด้านการศึกษาพิเศษ การสำรวจและวิจัย ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาสำหรับคนพิการในต่างประเทศ การประเมินโครงการท่ีดำเนินการ โดย NISE 2) กลุ่มงานสนับสนุนการศึกษา มีหน้าท่ีสำรวจตามแผนงานของสถาบันโดยร่วมมือ กับกระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้าน การศึกษาพิเศษ การส่งเสริมความเข้าใจ ความตระหนักและเผยแพร่ในเร่ืองการศึกษาพิเศษ ส่งเสริม การแลกเปลี่ยนและความร่วมมือในการเรียนรู้ ร่วมมือกับผู้อำนวยการโรงเรียนและกลุ่มองค์กรอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องในเร่ืองหลักสูตรและการสนับสนุนชั้นเรียนสำหรับการศึกษาพิเศษ การจัดสัมมนาร่วมกับ สถาบันอื่นท่ีเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ แรงงาน สวัสดิการ การสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับ คนพกิ าร รายงานการศกึ ษารปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ 27 กรณศี ึกษาประเทศญปี่ นุ่ สิงคโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด ์ 3) กลุ่มงานฝึกอบรมครูและข้อมูลสารสนเทศ มีหน้าที่จัดทำแผนหลักสูตรฝึกอบรม การทำแผนฝกึ อบรมครทู ส่ี ถาบนั รบั ผดิ ชอบในการดำเนนิ การ การสำรวจเกย่ี วกบั โปรแกรมการฝกึ อบรม เพ่อื พฒั นาตามความตอ้ งการของกรรมการการศกึ ษาในท้องถ่นิ การใหบ้ ริการด้านขอ้ มูล การเผยแพร่ ผลงานวิจัย ข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์เคร่ืองช่วยและเทคโนโลยีส่ิงอำนวยความสะดวก รวบรวมและ ประเมินข้อมูลด้านการสอน ส่ือการสอน อุปกรณ์เคร่ืองช่วยและเทคโลโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรบั การศึกษาสำหรบั คนพิการ รวมทัง้ การนำขอ้ มลู เหล่าน้ีมาใช้ประโยชน ์ 4) กลุ่มงานให้คำปรึกษาสำหรับคนพิการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการศึกษาสำหรับ คนพิการแก่จังหวัดและเมืองในกรณีที่เป็นเรื่องยากหรือไม่ค่อยพบ การให้คำปรึกษาคนพิการและ ผู้ปกครองที่ศึกษาในโรงเรียนญ่ีปุ่นในต่างประเทศ การวิจัยเชิงคลินิคด้านการให้คำปรึกษา การให้ คำปรกึ ษาทางโทรศัพท์หรือออนไลนแ์ ก่โรงเรยี น การให้คำแนะนำโดยใช้ฐานขอ้ มลู ของสถาบนั การทำ ค่มู ือการให้คำปรึกษาในโรงเรยี น และจัดทำรายงานประจำปีการให้คำปรกึ ษา 5) ศูนย์ข้อมูลเก่ียวกับเด็กท่ีมีความพิการทางพัฒนาการ มีหน้าที่รวบรวมข้อมูล ค้นหา วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาสำหรับคนพิการด้านพัฒนาการโดยความร่วมมือกับองค์กร ท่ีเกี่ยวข้องและเผยแพร่ข้อมูล ส่งเสริมการสนับสนุนการศึกษาสำหรับคนพิการและการสร้างความ ตระหนัก 6) กลุ่มงานบริหารท่ัวไป มหี นา้ ทบี่ ริหารจดั การในเร่ืองการเงิน งานธรุ การ งานบคุ คล งานวิเทศสัมพนั ธ์ โปรแกรมการฝึกอบรมครทู จ่ี ดั โดยสถาบนั NISE สถาบันได้ให้บริการฝึกอบรม ตั้งแต่ ปี 1971 โดยมีผู้ได้รับการฝึกอบรมประมาณ 960 คนต่อปี มีผู้เข้าอบรมหลักสูตร 2 เดือนไปแล้ว ประมาณ 7,700 คน และหลักสูตรอื่น ๆ อีกประมาณ 8,000 คน ท้ังนี้ สถาบันจะเน้นการฝึกอบรมเพื่อให้ครูท่ีได้รับการอบรมสามารถ นำความรูไ้ ปอบรมให้กบั ครใู นโรงเรยี นของตนได้มากกวา่ การอบรมครใู หม ่ 1) โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเช่ียวชาญของครูในเร่ืองความพิการต่าง ๆ ใช้เวลา 1 ปี แบ่งเป็น 3 หลกั สูตร แตล่ ะหลกั สตู รใชเ้ วลาในการเขา้ อบรม 2 เดอื น ได้แก ่ – หลักสูตรเกี่ยวกบั ความบกพรอ่ งทางการเห็น และทางการไดย้ นิ – หลกั สตู รเก่ยี วกับความบกพร่องดา้ นพัฒนาการ ทางอารมณ์ ทางการพูด – หลกั สตู รเกย่ี วกบั ความบกพรอ่ งทางดา้ นสตปิ ญั ญา ทางรา่ งกายหรอื การเคลอื่ นไหว และความบกพรอ่ งทางดา้ นสขุ ภาพ 2) การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ใช้เวลา 2 วัน ได้แก ่ – การสัมมนาเก่ียวกับการส่งเสริมการดำเนินการแก้ปัญหาตามนโยบายชาติ โดยเน้นในเรือ่ งกจิ กรรมความร่วมมอื ทางการศึกษาและการเรียนรู้ 28 รายงานการศึกษารูปแบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยและตา่ งประเทศ กรณีศกึ ษาประเทศญ่ปี ุน่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด ์ – การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับการแก้ปัญหาเร่งด่วนทางการศึกษาพิเศษ เน้นในเรอ่ื งความพกิ ารทางด้านพัฒนาการ 3) โปรแกรมการให้ความรู้ผ่านทางออนไลน์ เช่น ทฤษฎีการศึกษาสำหรับคนพิการ ทางการมองเห็น ทฤษฎีการศึกษาสำหรับคนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน การทดสอบและการ ประเมนิ ผลเบ้อื งตน้ เป็นตน้ นอกจากน้ี กระทรวงสุขภาพและสวัสดิการได้มีมาตรการป้องกันและการตรวจหา ความพกิ ารในระยะแรกเรมิ่ เดก็ ทารกจะไดร้ บั การตรวจคดั กรองความพกิ ารทนั ทเี มอื่ เกดิ โดยโรงพยาบาล ศูนย์สุขภาพ หน่วยงานสวัสดิการเด็กจะทำการวินิจฉัยตั้งแต่ยังอยู่ในครรภ์มารดาและเมื่อคลอด ออกมา เมื่อเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือนจะไดร้ ับการตรวจจากหน่วยงานระดบั เมอื งในท้องถิ่นและเม่ืออายุ ครบ 3 ปี สามารถเขา้ รบั การตรวจจากศนู ยส์ ขุ ภาพทวั่ ประเทศ หากตรวจพบความพกิ าร เดก็ จะไดร้ บั การตรวจเพิ่มจากผู้เช่ียวชาญในโรงพยาบาลหรือศูนย์แนะแนวเด็ก เด็กท่ีตรวจพบความพิการรวมท้ัง บิดามารดาจะได้รบั การชว่ ยเหลือดา้ นการบำบัดรกั ษา การแนะแนว การจัดการศกึ ษา โดยหน่วยงาน รับผิดชอบหลักคือ กระทรวงสุขภาพและสวัสดิการ ขณะที่กระทรวงศึกษาธิการจะให้การสนับสนุน ชว่ ยเหลือในเรอื่ งการศึกษา ประเทศญี่ปุ่นมกี ฎหมายดา้ นการศกึ ษาทเี่ กี่ยวกบั การศึกษาพเิ ศษ คือ 1) Fundamental Law of Education (Enacted 1947, Last Amended 2006) เป็นกฎหมายพ้ืนฐานในการจัดการศึกษาของประเทศ มีการแก้ไขในเรื่องการให้ความสำคัญความ สามารถทางวชิ าการใน 3 ประเดน็ ได้แก่ – ความรู้และทักษะ – ความสามารถในการคิด การตดั สินใจ และการแสดงออก – แรงจงู ใจในการเรียนรู้ – การกำหนดให้มีห้อง Resource สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ สมาธสิ ั้น และไม่อยู่นิ่ง 2) School Education Law (Enacted 1974, Last Amended 2007) และ กฎกระทรวง ประกาศท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ Ordinance for School Education Law (Enacted 1953, Last Amended 2007) และ Rule for School Education Law (Enacted 1947, Last Amended 2008) มีเนื้อหาท่ีกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของโรงเรียนเฉพาะความพิการด้านการเห็น ด้าน การไดย้ นิ ด้านรา่ งกายหรอื การเคลอ่ื นไหว ชนั้ เรยี นพเิ ศษ ตอ่ มามแี กไ้ ขเพ่ิมเติมเก่ียวกบั คู่มอื หลักสูตร ระดบั ชาตสิ ำหรบั ระดบั อนบุ าล ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษาตอนตน้ มกี ารเพิม่ ช่ัวโมงเรียนเพ่อื ให้มี ความสามารถทางวิชาการ หลักสูตรใหม่ได้นำมาใช้ในโรงเรียนเฉพาะความพิการไปพร้อมกับโรงเรียน ทั่วไปด้วย มีการเพ่ิมความพิการซ้อนเข้าไปไว้ในกลุ่มความพิการในโรงเรียนเฉพาะความพิการ แสดง อย่างชัดเจนวา่ โรงเรียนเฉพาะความพกิ ารจะไดร้ บั การสง่ เสรมิ สนบั สนุนเช่นเดียวกบั โรงเรียนทว่ั ไป รายงานการศกึ ษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ของไทยและตา่ งประเทศ 29 กรณีศกึ ษาประเทศญี่ปนุ่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด ์ 3) The Law on the Promotion of Attendance at Schools for the Blind, Schools for the Deaf, and Schools for the Handicapped (1954) มีเนอื้ หาเก่ียวกบั การใหม้ ี อปุ กรณ์ เครอื่ งชว่ ย เทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวกสำหรบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นในโรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร 4) Teachers’ Certification Law (1949) มีระบบใบประกอบวชิ าชพี ครใู นโรงเรยี น ทวั่ ไประดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา โรงเรยี นเฉพาะความพิการ 5) Law on the Standard of Class Organization of Public Compulsory Schools and the Prescribed Number of Teachers (1958) เป็นกฎหมายทีเ่ กยี่ วกบั การจดั การ ชัน้ เรียนในโรงเรยี นทั่วไป เช่น จำนวนนักเรียน จำนวนครู เปน็ ต้น นโยบายด้านการศึกษาของญ่ีปุ่นเป็นไปตามกฎหมายสถานศึกษาที่ระบุว่าการศึกษา พิเศษเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาทั่วไป และเด็กท่ีมีความพิการทางร่างกายและจิตใจควรได้รับ การศึกษาบนเป้าหมายเดียวกันกับเด็กท่ัวไป อย่างไรก็ตาม กฎหมายก็ยังให้เด็กพิการได้เลือกในการ เข้ารับการศึกษาพิเศษ นอกจากนี้ กฎหมายพื้นฐานด้านการศึกษาได้ระบุถึงสิทธิในการรับการศึกษา และโอกาสทางการศกึ ษาทเี่ ทา่ เทยี มกนั ซงึ่ เปน็ สงิ่ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ เดก็ พกิ ารจะไดร้ บั โอกาสในการเรยี น ในโรงเรยี นท่วั ไป 2.8 ผลการจดั การศกึ ษา 2.8.1 ปจั จยั นำเข้า โรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กส่วนใหญ่มีสนามเด็กเล่น มีพื้นที่เปิด พื้นท่ีสีเขียว ซ่ึงดีต่อพัฒนาการของเด็ก ให้ความสำคัญกับห้องเรียนที่สะอาดโดยถือเป็นส่วนหน่ึงของการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ทางอ้อม การบริการมีช่วงเวลาจำกัด (เลิกประมาณ 14.00 น.) แต่หาก ผู้ปกครองมีความจำเป็นโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดูแลเด็กเล็กจะขยายเวลาในการให้บริการ ครูดู มีความสุขกับการทำงาน ครูประมาณ 90% เป็นผู้หญิงมีประสบการณ์การทำงานประมาณ 4-5 ปี และมักจะลาออกหลังจากแต่งงานซ่ึงสาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะเงินเดือนน้อย ประมาณ 65,000- 75,000 บาทต่อเดือน (National Institute of Educational Policy Research: NIER, 2009) สัดส่วนครูต่อเด็กสูงกว่าเกณฑ์ เด็กจะอาศัยอยู่ใกล้สถานศึกษาหรือสถานดูแลเด็กสามารถเดินไปได้ หรือหากอยู่ไกลจะมีบรกิ ารรถรบั ส่ง (การสัมภาษณ์และสงั เกต, 2019) ส่อื อปุ กรณ์ ของเลน่ ทง้ั ในและนอกหอ้ งเรียนมีความหลากหลายและพอเพยี งกบั เด็ก มขี องเล่นชว่ ยกระตุน้ การเคล่ือนไหว การทำงานของกลไกต่าง ๆ ในรา่ งกาย ครใู ห้เวลาเด็กในการเลน่ อย่างอิสระและเล่นอย่างมีเป้าหมาย มีกิจกรรมศิลปะ ดนตรี สอดคล้องกับหลักสูตร ไม่พบอุปกรณ์ คอมพวิ เตอร์สำหรับให้เดก็ เลน่