หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียน 2564 doc

ก การพัฒนาหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ โรงเรียนบา้ นน้ำแคม เร่อื ง วฒั นธรรมประเพณีท้องถน่ิ กับวถิ ีชีวติ เกษตรกร พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ข การพัฒนาหลกั สูตรท้องถนิ่ โรงเรยี นบา้ นน้ำแคม เรื่อง วฒั นธรรมประเพณที ้องถ่นิ กับวิถชี วี ติ เกษตรกร พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) จดั ทำโดย นางสาวบตุ รธดิ า เนตรนอง รหัสนิสิต ๖๑๑๐๕๐๑๐๐๖๔ เสนอ ผศ.ดร.กติ ตชิ ัย สุธาสโิ นบล เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ปถ๓๔๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สำหรบั ครูประถมศกึ ษา ๒ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ค คำนำ การพัฒนาหลกั สตู รท้องถิ่นเล่มน้ี เป็นส่วนหนึ่งของรายวชิ า ปถ๓๔๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับครูประถมศึกษา ๒ ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โดยนำบริบทและสภาพทางสังคมมาเป็น ขอบเขตเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนา ซึ่งผู้จัดทำได้นำข้อมูลสถานศึกษามาใช้ประกอบการทำหลักสูตรท้องถิ่น คือ โรงเรียนบ้านนำ้ แคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๑ และมีการดำเนินการจัดทำ หลักท้องถิ่นโดยใช้วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นในชุมชนมาเป็นแกนหลักเพื่อกำหนดการจัดทำโครงสร้างและสาระ หลักสตู รทอ้ งถ่นิ ใหส้ อดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา ซง่ึ แวดล้อมไปด้วย หบุ เขาสูง ปา่ ไมน้ านาชนิด มีวฒั นธรรม ประเพณที ีห่ ลากหลาย เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเห็นคุณคา่ ของทอ้ งถน่ิ ท่ีตนเองอาศยั อยู่ การสร้างหลักสูตรฉบับนี้อาศัยการมีส่วนร่วมของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชน รวมไปถึง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนไปสู่การจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพด้านความรู้และ ทกั ษะท่ีจำเปน็ ในการดำรงชีวติ ในสังคมทีม่ ีการเปลี่ยนแปลง โดยจัดเป็นสาระการเรียนรรู้ ายวชิ าเพิม่ เติม และสาระ การเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นรายปีในระดับประถมศึกษาและกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ เป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของ โรงเรียน ผลงานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษานี้ ถือเป็นนวัตกรรมการศึกษา เพื่อฝึกกระบวนการเรียนรู้ระหว่าง เรยี น โดยการลงมือปฏิบัติจรงิ ซ่งึ ทำใหเ้ กิดการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทง้ั ทางดา้ นปัญญา ความรูเ้ ทคโนโลยี และกระบวนการทางสังคม ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีส่วนให้คำปรึกษาให้ข้อมูลและให้ความร่วมมือร่วมใจในการพัฒนา หลักสูตรฉบบั นีใ้ ห้มีความสมบูรณ์ สำหรบั ใชเ้ ปน็ แนวทางให้แก่ผทู้ ่ีสนใจและศึกษาเก่ียวกบั การพัฒนาหลักสูตร อัน จะเปน็ พื้นฐานสำคญั ในการพัฒนาหลกั สูตรไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเกิดประโยชนใ์ หแ้ ก่ผ้เู รยี น บุตรธิดา เนตรนอง ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔

สารบญั ง เร่ือง หน้า คำนำ ค สารบญั ง ความหมายของหลักสูตรทอ้ งถ่นิ ๑ ความสำคญั ของหลักสตู รท้องถน่ิ ๑ วสิ ัยทัศนโ์ รงเรยี น ๒ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๓ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๔ ที่ตั้งและอาณาเขต ๔ สภาพสังคมและวฒั นธรรม ๔ ปฏิทนิ กิจกรรม ๖ โครงสรา้ งหลกั สตู รท้องถ่ินโรงเรียนบ้านน้ำแคม ๗ ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวงั ๗ คำอธิบานรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๘ โครงสร้างรายวิชา ๑๔ อ้างอิง ๒๐ ภาคผนวก ๒๑

๑ ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรท้องถิ่น คือ หลักสูตรที่ได้คิดค้น ประยุกต์ มาจากสภาพแวดล้อม ชุมชน ทรัพยากร รวมท้ัง บุคลากรและความสนใจ ความสามารถของนกั เรยี น กรมวิชาการ (๒๕๔๕) กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง มวลประสบการณ์ที่จัดขึ้นทั้งในห้องเรียนและ นอกห้องเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และคุณภาพการดำรงชีวติ โดยพยายาม ใช้ทรพั ยากรในท้องถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรบู้ นพ้นื ฐานของสภาพชีวิต เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ของตนเอง ตลอดจนมีส่วนรว่ มในการแก้ปญั หาตา่ งๆ ของชาติบา้ นเมอื ง ใจทิพย์ เชอื้ รัตนพงษ์ (๒๕๓๙) กล่าวว่าหลักสูตรระดับท้องถนิ่ หมายถึง มวลประสบการณ์ทส่ี ถานศึกษา หรอื หน่วยงานบคุ คลในท้องถ่ินจัดให้แก่ผ้เู รียนตามสภาพและความต้องการของท้องถิ่นนั้นๆ ประมวลสาระชุดวิชาการพัฒนาหลกั สูตรและวิทยวิธีทางการสอน (มสธ.) (มปป.) ให้ความหมายหลักสตู ร ทอ้ งถน่ิ หมายถงึ เนื้อหาสาระและมวลประสบการณ์ท่ีจัดให้กับผู้เรียนในท้องถ่ินที่หน่ึงท่ีใดโดยเฉพาะ ถ้าพิจารณา ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของหลักสูตรกลางและหลักสูตรท้องถิ่นจะพบว่ามีขั้นตอนที่แตกต่างกันออกไปบ้าง หลักสูตรทอ้ งถ่ินแบ่งได้เปน็ ๒ ลักษณะ คือ หลักสตู รท้องถิน่ ทีส่ ร้างขึ้นเพ่ือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เปน็ หลักสูตรระยะสน้ั เพอ่ื ผู้เรยี นในท้องถน่ิ ทุกวยั ทุก ระดบั อายุ เช่น หลักสูตรจักสาน หลกั สตู รการทำของชำรว่ ยจากเปลือกหอย เป็นต้น หลักสูตรอีกประเภทหนึ่งเป็นหลักสูตรท้องถิ่นสำหรับเสริมหลักสูตรแกนกลางให้มีความสมบูรณ์ข้ึ น หลักสูตรท้องถิ่นในลักษณะนี้จะใช้ร่วมกับหลักสูตรแกนกลาง โดยอาจจัดเป็นรายวิชาอิสระที่ให้เลือกเรียนหรือไม่ อาจจดั เป็นรายวชิ าแตจ่ ดั เปน็ กิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ผู้สอนสามารถดดั แปลงเนื้อหาที่กำหนดมาจากส่วนกลาง มาประยกุ ต์โดยนำเอาสาระ ทรพั ยากร เทคนคิ วธิ กี ารทอ้ งถ่นิ มาประยุกต์ใชไ้ ด้ กลา่ วโดยสรุป หลักสตู รทอ้ งถ่ิน คือ การจัดประสบการณก์ ารเรยี นและเน้ือหาสาระให้กับผูเ้ รยี นในทอ้ งถ่ิน ใดทอ้ งถิน่ หนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อใหส้ อดคล้องกบั สภาพชีวติ จริงทางสงั คม วฒั นธรรมและตอบสนองความต้องการของ ผเู้ รียนและของท้องถ่ินน้ันๆ ความสำคญั ของหลักสูตรท้องถิ่น ถงึ แม้วา่ จะมหี ลกั สูตรแกนกลางหรอื หลักสตู รแม่บทแล้ว แตย่ ังต้องมีการพัฒนาหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ทัง้ น้มี ี เหตุผลและความจำเปน็ ดังต่อไปน้คี ือ (ใจทิพย์ เช้อื รัตนพงษ์ ๒๕๓๙:๑๐๙-๑๑จ) ๑.๑ หลักสูตรแกนกลางหรือหลักสูตรแม่บทได้กำหนดจุดหมายเนื้อหาสาระ และกิจกรรมอย่างกว้างๆ เพื่อให้ทุกคนได้เรียนรู้คล้ายคลึงกัน ทำให้กระบวนการเรียนการสอนมุ่งเนื้อหาสาระและประสบการณ์ที่เป็น หลักการท่ัวไปไมส่ ามารถประมวลรายละเอียดเกยี่ วกับสาระความรู้ตามสภาพแวดล้อม สังคม เศษฐกจิ ปัญหาและ

๒ ความต้องการของท้องถิ่นในแต่ละแห่งได้ทั้งหมด จึงต้องพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อตอบสนองความต้องการของ ทอ้ งถิ่นใหม้ ากท่สี ดุ ๑.๒ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลกระทบโดยตรงต่อทรรศนะและการดำเนินชีวิตของคนไทยทั้งในเมืองและชนบท จึงต้องมีหลักสูตรท้องถิ่นเพ่ือ ปรับสภาพของผู้เรียนให้สามารถรับกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ดังกล่าวโดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ ภูมิลำเนาท้องถิ่นของตน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปพัฒนาตน ครอบครัว และท้องถิ่น ตลอดจนดำเนินชีวติ อยใู่ นท้องถน่ิ ของตนอย่างเปน็ สุข ๑.๓ การเรียนรู้ที่ดีควรจะเรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้ตัวไปยังสิ่งที่ไกลตัวเพราะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถดูดซับได้รวดเร็วกว่า ดังนั้นจึงควรมีหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ชีวิตจริงตามสภาพเ ศรษฐกิจ สังคมของท้องถิ่นตน แทนที่จะเรียนรู้เรื่องไกลตัว ซึ่งทำให้ผู้เรียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้จักชีวิต ไม่เข้าใจและไม่มี ความรู้สึกทด่ี ีต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมรอบตัวเอง นอกจากนี้ การพัฒนาหลักสตู รท้องถนิ่ จะช่วยปลูกฝังให้ผู้เรียนมี ความรักและความผกู พนั รวมทัง้ ภาคภมู ใิ จในท้องถ่ินของตน ๑.๔ ทรัพยากรท้องถิ่นโดยเฉพาะภมู ิปัญญาท้องถ่นิ หรือภูมิปญั ญาชาวบา้ นในชนบทของไทยมีอยุ่มากมาย และมีค่าบง่ บอกถึงความเจรญิ มาเปน็ เวลานาน หลักสตู รแม่บทหรือหลักสูตรแกนกลางไม่สามารถนำเอาทรัพยากร ท้องถิ่นดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ได้ แต่หลักสูตรท้องถ่ินสามารถบูรณาการเอาทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญา ชาวบ้านทั้งหลายมาใช้ในการเรียนการสอน ไม่ว่าด้านอาชีพ หัตถกรรม เกษตรกรรม ดนตรี การแสดงวรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมีผลทำให้ผู้เรียนได้รู้จักท้องถิ่นของตน เกิดความรักความผูกพันกับท้องถิ่นของตน และสามารถใช้ทรพั ยากรท้องถ่นิ ในการประกอบอาชีพได้ วสิ ัยทศั น์โรงเรียน โรงเรียนบ้านน้ำแคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถ พัฒนาตนเองไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพตามมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมวิชาการและเทคโนโลยี มนี สิ ยั รกั การอ่าน สืบ สานงานประเพณีวัฒนธรรมไทย มีใจรักสิ่งแวดล้อม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต เน้นประสานความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ น

๓ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำแคม ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๐) มุ่งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ คือ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธกี ารสือ่ สาร ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทมี่ ีต่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่อื การตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคตา่ งๆ ทเ่ี ผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชวี ิตประจำวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสงั คมด้วยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งตา่ งๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ ต่อตนเองและผู้อืน่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

๔ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านน้ำแคม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับ ผ้อู ื่นในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ 2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ ท่ีตงั้ และอาณาเขต โรงเรียนบ้านน้ำแคม ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๖ หมู่ ๑ ตำบลน้ำแคม อำเภอท่าล่ี จังหวัดเลย ๔๒๑๔๐ จัด การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่ ๖ เริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2469 เป็นต้นมา มีเนื้อที่ ๒๑ ไร่ มีเขต พื้นที่บริการ ๖ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๖ อยู่ห่างจากตัวอำเภอท่าลี่ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ห่าง จากตัวอำเภอเมืองเลยประมาณ ๔๓ กโิ ลเมตร สภาพสังคมและวฒั นธรรม ที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ใกล้กับชุมชน คนในชุมชนส่วนมากมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี นักเรียนในโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่อยู่ในชุมชน และบริเวณใกล้เคียง ผู้ปกครองมีฐานะยากจนถึงระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ไมว่ ่าจะเปน็ การทำนา สวนยางพารา ไรม่ นั สำปะหลัง ไรอ่ ้อย ไรป่ าลม์ ไร่ขา้ วโพด และ งานเกษตรอื่นๆ อาชีพเกษตรกรรมของคนในชุมชนมักจะดำเนินการควบคู่ไปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น คนใน ชมุ ชนทำการเกษตรหลากหลายรปู แบบ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ไดใ้ นภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำได้ โดยนำวฒั นธรรม ประเพณที อ้ งถน่ิ เข้ามาเกีย่ วขอ้ งกบั การดำเนินวิถชี วี ิตอย่เู สมอ คนในชุมชนนับถือศาสนาพุทธ ทั้งทางด้านความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณีและภาษา อีกทั้งยังคงมีความ เชือ่ ในการนบั ถือหมอพราหมณ์ตามธรรมเนียมด้ังเดิม มีการใชภ้ าษาถนิ่ ภาษาเลย และภาษาไทยกลาง

๕ ประเพณที ี่สำคัญในชมุ ชนคอื ประเพณีเลี้ยงบา้ น บุญเดือน 3 บญุ เดือน 6 และวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ภาคอีสาน อื่นๆ เป็นการแสดงออกถึงความเชื่อต่อสิง่ ศักด์ิสิทธ์ิ หรือเรียกได้ว่าเป็นที่พึง่ ทางใจของคนในชมุ ชน เพื่อขอให้ปลูก พชื และข้าวไรไ่ ดผ้ ลดี และอกี หนึ่งประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ภูมปิ ญั ญาของชมุ ชน คือ การแหห่ ลวงปู่คำ้ ซ่ึงจะจัดขึ้น ในวันที่ 16 เมษายนของทกุ ปี โรงเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของอาชีพเกษตรกรรมและวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น จึงได้จัดทำ หลักสูตรท้องถ่ิน เรื่อง วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นกับวิถีชวี ิตเกษตรกรขึ้น เพื่อฝึกใหน้ ักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงใน เรื่องการทำงาน การจัดการ เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่องาน ตลอดจนรู้จักการนำสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาเพิ่ม คุณค่า เพิ่มรายได้ นักเรียนได้ออกแบบ ตามจินตนาการ ผู้เรียนรู้จักพึ่งตนเอง ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสิ่งที่สำคัญคือ นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในอาชีพ เกษตรกรรม เกิดความรักความหวงแหนในวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ รวมไปถึง อนุรกั ษแ์ ละสบื สานวฒั นธรรมประเพณที ้องถ่ินใหค้ งอยตู่ ่อไปในอนาคต

กจิ กรรม ปฏทิ ินก ชุมชนบ้านนำ้ แคม ตำบลน้ำแ วัฒนธรรมประเพณที อ้ งถิน่ บญุ เดือน 3 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. แหห่ ลวงป่คู ำ้ บุญเดือน 6 พธิ เี ลย้ี งบ้าน/ไรน่ า พิธไี หวห้ อ อาชพี ไรม่ นั สำปะหลงั ไร่อ้อย ปลูกขา้ ว ไร่ขา้ วโพด กรีดยางพารา ไร่ปาล์ม รบั จา้ งทั่วไป

๖ กจิ กรรม แคม อำเภอท่าล่ี จงั หวดั เลย เดือน มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

๗ โครงสร้างหลักสตู รท้องถิน่ โรงเรียนบ้านนำ้ แคม กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม ป.๑ เวลาเรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษา ป.๖ ๑๐ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ รายวิชาเพ่ิมเติม ๑๐ ๑๐ ๑๐ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๐ ๑๐ - ประวัตศิ าสตร์ ๑๐ - หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม - เศรษฐศาสตร์ การงานอาชพี และเทคโนโลยี รวมรายวิชาเพ่มิ เติม ๑๐ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง วัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถนิ่ กับวิถีชีวิตเกษตรกร จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๑. ผเู้ รียนเข้าใจลกั ษณะของอาชีพเกษตรกร ๒. ผูเ้ รยี นเกดิ การอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมประเพณีท้องถิน่ ๓. ผู้เรียนสามารถถา่ ยทอดความรแู้ ละความเขา้ ใจในเร่ืองวฒั นธรรมประเพณที ้องถ่นิ และวิถีชวี ิตเกษตรกร ๔. ผเู้ รยี นเกิดความสนใจในการเรยี นรู้วฒั นธรรมประเพณที ้องถิ่น และสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ืน่ ได้ จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑. ผู้เรียนเขา้ ใจถึงประเพณีและวัฒนธรรมในชมุ ชน รวมไปถึงวถิ ีชวี ติ ความเปน็ อยู่ของคนในท้องถิน่ ๒. ผู้เรียนเกดิ การอนุรักษว์ ฒั นธรรมและประเพณีในท้องถ่นิ ของตนเอง ๓. ผเู้ รียนเข้าใจถงึ กระบวนการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและความสำคัญอาชีพเกษตรกรรม ๔. ผเู้ รยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีและสามารถพัฒนาการสรา้ งมลู ค่าให้กบั อาชีพเกษตรกรรมได้

ส๑๑๒๐๑ ทอ้ งถ่นิ ชุมชน ๘ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา ๑๐ ชั่วโมง/ปี ศกึ ษาประวตั ิและความเป็นมาของชุมชน และความร้เู บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั ลกั ษณะทวั่ ไปของอาชพี เกษตรกรรม ในชุมชน ที่เป็นวิถีชีวิตสำคัญของชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่ โดยฝึกทักษะการตั้งคำถาม ในเร่ืองวัฒนธรรมท้องถิ่น จากประสบการณ์ของนกั เรยี นเช่ือมโยงกบั ครอบครวั ชุมชนทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั วิถชี ีวติ ของคนในชมุ ชน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา การสังเกต การคิด วเิ คราะห์ การสื่อสาร การลงสำรวจพืน้ ทีใ่ นชุมชนจรงิ โดยมีสมาชกิ ในชุมชนเปน็ ผใู้ หค้ วามรู้ เพื่อนักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ใช้ได้จริงในชุมชน มองเห็นประวัติความเป็นมาของชุมชน และมีความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของอาชีพเกษตรกรรมในชุมชนตนเอง เกิดทักษะการแก้ไขปัญหา ได้ลงมือปฏิบัติ จากกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน สามารถวิเคราะห์วิธีและแนวทางการอนุรักษ์วิถีชีวิตและวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาทอ้ งถน่ิ ของชมุ ชน เกดิ ความตระหนกั และเห็นคุณค่า เกิดความรกั และความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ผูเ้ รียนสามารถอธิบายประวัตแิ ละความเป็นมาของชมุ ชนท่ีนักเรียนอาศัยอยู่ได้ ๒. ผ้เู รยี นเหน็ คุณค่าและความสำคญั ของวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ๓. ผู้เรียนสามารถบอกปจั จยั ความสำคัญของวถิ ชี ีวิตเกษตรกรได้ รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

ง๑๒๒๐๑ วถิ ชี ีวิตเกษตรกร ๙ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ ่ี ๒ คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี ศกึ ษาความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับวถิ ีชวี ติ ของเกษตรกรในชุมชน ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรม การ เรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ชุมชนของตนเอง องค์ประกอบที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และเรยี นรู้การใชช้ ีวติ แบบเกษตรกรตง้ั แตส่ มัยอดีตจนถึงปัจจบุ ัน โดยใชท้ ักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ทกั ษะการแกไ้ ขปัญหา ทกั ษะกระบวนการทำงาน เปน็ กลมุ่ และการลงพ้ืนทชี่ ุมชนจริง ซึ่งมีเกษตรกรในชุมชนเป็นผใู้ ห้ความรู้ นอกจากนีย้ ังมีทักษะการปฏิบัติจริงด้วย ตนเองในการเขา้ ไปเรียนรกู้ ับเกษตรกรในพื้นที่จริง เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเข้าใจวิถีชวี ิตของเกษตรกรในชุมชน ซง่ึ เป็นอาชพี สำคญั ของสมาชิกในพน้ื ท่ีชุมชนของตนเอง เห็นถึงคุณค่าและความสำคัญของวิถีชีวิตของเกษตรกร สามารถปฏิบัติงานเป็นกลุ่มและนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ประโยชน์ต่อยอดเพื่อพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมให้มีคุณภาพและมรี ายได้เพ่ิมมากขึ้น ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายเก่ียวกบั วิถชี วี ติ ของเกษตรกรในชมุ ชนได้ ๒. เหน็ คุณคา่ และความสำคญั ของวถิ ชี วี ิตของเกษตรกรในชุมชน ๓. สามารถบอกแนวทางในการนำความรู้เกีย่ วกบั วถิ ีชีวิตของเกษตรกรในชมุ ชนไปพฒั นาและตอ่ ยอดได้ รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้

ส๑๓๒๐๑ ประเพณีวฒั นธรรม ๑๐ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี ศึกษา และอธิบายประวตั ิความเป็นมาของวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โดยใช้เทคโนโลยีเขา้ มาช่วยในการ สืบค้นข้อมูล รวมไปถึงการใช้ทักษะในการสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้านและสมาชิกในชุมชน นำไปสู่การวิเคราะห์ ข้อมูลที่ไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเหมาะสม กระบวนการ ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม การวางแผน สามารถนำความรู้ที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องและใกล้เคียงกับ ความเปน็ จรงิ มากท่ีสุด สามารถเรียงลำดบั ความสำคญั ของเหตุการทเี่ กดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง สามารถร่วมกระบวนการการทำงานกับบุคคลอื่นๆ ได้ ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่ ยอมรับและสามารถแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกับผอู้ ืน่ ผลการเรยี นรู้ ๑. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มาของวัฒนธรรมท้องถนิ่ ได้ ๒. ผู้เรียนมสี ัมพันธ์ไมตรีท่ดี ีกับชุมชน ๓. ผู้เรียนเห็นคณุ คา่ ของวฒั นธรรมท้องถ่นิ ทต่ี นเองอาศยั อยู่ ๔. ผเู้ รียนมที กั ษะในการทำงานเปน็ กล่มุ และอยู่ร่วมกนั กบั บุคคลอ่ืนๆ ในสงั คมอย่างสันติ ๕. ผูเ้ รยี นมีความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง และรจู้ ักช่วยเหลอื สงั คมส่วนรวม รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้

ส๑๔๒๐๑ ประเพณีวัฒนธรรม ๑๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๑๐ ชั่วโมง/ปี ศึกษา และวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ของวิถกี ารดำรงชีวิต ความเปน็ อยใู่ นชวี ิตประจำวันกับวัฒนธรรม ประเพณีทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ของทอ้ งถ่ิน สถานที่สำคัญของชุมชน การเพิ่มคุณค่าให้กบั วฒั นธรรมประเพณีท้องถ่นิ ของ ชมุ ชน โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม โดยใช้ทกั ษะกระบวนการสร้างความร้คู วามเข้าใจ ทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน การฝึกทกั ษะปฏิบตั ิ การจดั การ การวางแผน ทัง้ การศึกษาปัญหาและอปุ สรรคในการเพิ่มคุณค่าให้กับวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ของคนใน ชมุ ชน และการปฏบิ ัติงานเพ่อื ให้เกิดประสิทธิภาพจาการใชเ้ ทคโนโลยคี วบคู่ เพือ่ ใหน้ ักเรียนเกิดความเข้าใจและเห็นคณุ คา่ ของวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ เกิดทกั ษะการทำงาน เกิดการเรยี นรู้ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ การใชเ้ ทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำวนั มีความรับผดิ ชอบ มคี วามมงุ่ ม่นั อดทน มเี จตคติที่ดตี อ่ วถิ ีชวี ติ ในชุมชน เม่อื เกิดความเข้าใจและคนุ้ เคยเป็นอยา่ งดแี ล้ว ยังส่งผลใหน้ ักเรยี นเห็นความสำคัญของวฒั นธรรมท้องถน่ิ ในชุมชนของตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความสัมพนั ธ์ของของวถิ ีการดำรงชวี ติ ความเป็นอยู่ในชวี ติ ประจำวันกับวัฒนธรรมประเพณีท่ีเปน็ เอกลกั ษณ์ของทอ้ งถ่ิน ๒. สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและชมุ ชนได้ ๓. เกดิ ทกั ษะกระบวนการทำงาน และทักษะการเรียนรู้ ๔. ผ้เู รียนเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ในชุมชนของตนเอง รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู้

ส๑๕๒๐๑ สืบสานวฒั นธรรม ๑๒ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๑๐ ชั่วโมง/ปี ศึกษาเรื่องการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอนที่ถูกต้องตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เรียนรู้การออก เเบบวิธีการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ศึกษาวิธีการเผยแพร่วัฒนธรรม ศึกษาปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับการ เผยแพร่วฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ เรียนรู้เร่อื งราวทมี่ าของปญั หา ประวตั คิ วามเปน็ มา และความภาคภมู ิใจในวัฒนธรรม ทอ้ งถิน่ โดยใช้กระบวนการเรียนรูท้ ีช่ ่วยสร้างความเข้าใจทั้งการสงั เกต การวิเคราะห์และการปฏิบัติ กระบวนการ ทำงานเป็นรายบุคคลและกลุ่ม การทำงานตามลำดับขั้นตอนที่ถูกต้อง เน้นกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ จรงิ จากการลงมอื ปฏบิ ัติ ใชท้ กั ษะความรเู้ ทคโนโลยใี นการสืบค้นข้อมูล และใชท้ ักษะการส่ือสารเพ่อื รวบรวมข้อมูล เพ่อื ใหน้ ักเรียนได้มีความร้ใู นเรื่องของการเเก้ปญั หาในการทำงาน มีความรูใ้ นเรอื่ งของกระบวนการทำงาน ที่ถูกต้อง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่ เกิดความตระหนักและหวงเเหน วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน มกี ารใช้สื่อโซเซียลมเี ดยี ในทางทเ่ี กดิ ประโยชน์ มีการใช้เทคโนโลยีมาปรบั ใช้ในการแกป้ ญั หา ผลการเรยี นรู้ ๑. ผู้เรยี นมีความร้แู ละความเข้าใจเกิดความหวงแหนในวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ท่ีตนเองอาศยั อยู่ ๒. มคี วามคิดตอ่ ยอดและสามารถอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ของตนเองได้ ๓. มีการปฏิบัตงิ านมรี ปู เเบบและขนั้ ตอนท่ีสอดคล้องกัน ๔. มีการเเก้ไขปัญหาโดยใช้ทักษะการทำงาน ๕. มคี วามรู้สื่อโซเซียลมีเดีย และนำเทคโนโลยมี าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้

ง๑๖๒๐๑ พฒั นาอาชีพ ๑๓ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี ศกึ ษา วเิ คราะห์ และอธบิ ายขั้นตอนการทำงาน การออกแบบวธิ ีการนำอาชีพเกษตรกรรมของคนในชุมชน พัฒนาต่อยอด และผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ร่วมกับการพัฒนา ซึ่งเป็น กระบวนการของการสอื่ สารเพอื่ เพิ่มคุณค่าให้แก่อาชีพและวฒั นธรรมท่ีมอี ยู่ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการคิดต่อยอดในการอนุรักษว์ ฒั นธรรม การบริหาร การวางแผน การบรกิ าร ทักษะ การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาอาชีพของคนในชุมชน รวมไปถึงทักษะการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิด ประสทิ ธิภาพสงู สุดและบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทตี่ ้ังไว้ เพื่อให้นักเรียนเห็นแนวทางในการต่อยอดอาชีพให้กับสมาชกิ ในชุมชน โดยการใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบั การพัฒนาอาชีพควบคู่กับการใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มความน่าสนใจและเพิ่มมูลค่าให้แก่วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยการ นำความรู้ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาในชวี ติ ประจำวนั และต่อยอดใหเ้ กดิ การพฒั นาชุมชนในอนาคต ผลการเรยี นรู้ ๑. อธิบายความรู้พน้ื ฐานเกยี่ วกบั การพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมควบคกู่ บั วัฒนธรรม ๒. นำเทคโนโลยมี าใชป้ ระกอบการพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมควบคู่กับวฒั นธรรม ๓. สามารถปฏบิ ัตงิ านดา้ นการส่ือสารเพ่ือใหเ้ กิดประสิทธิภาพสงู สดุ ได้ ๔. สามารถใชท้ กั ษะกระบวนการคิดตอ่ ยอดในการพฒั นาวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ๕. อธบิ ายถึงการนำความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาในชีวติ ประจำวนั รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

๑๔ โครงสรา้ งรายวิชา ส๑๑๒๐๑ ทอ้ งถ่นิ ชุมชน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๑๐ ชั่วโมง/ปี หนว่ ยการเรียนรู้ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน ๑ ชมุ ชนบ้านนำ้ แคม - ประวัติความเปน็ มาของชมุ ชน ๒ ๒๐ ๒ เหตกุ ารณส์ ำคัญทีก่ ่อใหเ้ กิดเปน็ ๑ ๑๐ พ้ืนท่แี สนน่ารู้ ชมุ ชนตงั้ แต่สมัยอดตี จนถึง ๓ ปจั จบุ นั ๖ ๖๐ อาชีพเกษตรกรรม - ลกั ษณะภมู ิศาสตร์พน้ื ทข่ี อง ๔ ชมุ ชนรายลอ้ ไปด้วยภเู ขาสูง ๑ ๑๐ วถิ ีสัมพันธ์ ฤดกู าล และสภาพอากาศ 10 100 รวม - ลกั ษณะท่ัวไปของอาชพี เกษตรกรรมของคนในชุมชน อาชพี ที่มคี วามสำคญั ต่อชมุ ชน และเป็นอาชีพท่ีมมี าต้ังแต่สมัย อดีต • ปลูกมนั สำปะหลัง • ปลกู ขา้ ว • ปลูกยางพารา • ปลกู ข้าวโพด • ปลูกอ้อย • ปลูกปาล์ม - การดำรงชีวติ ความเปน็ อยู่ของ คนในชมุ ชน โดยการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมควบคู่กับการ ปฏิบตั ติ ามวัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถ่นิ ของชุมชน

๑๕ โครงสร้างรายวิชา ง๑๒๒๐๑ วถิ ีชวี ิตเกษตรกร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี หน่วยการเรียนรู้ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา (ชม.) นำ้ หนกั คะแนน ๑ อาชีพเกษตรกรรม - องคป์ ระกอบและวิธีการของ ๖ ๖๐ การประกออาชพี เกษตรกรรม ๒ พ้ืนทีแ่ สนน่ารู้ ของคนในชุมชน อาชีพที่มี ๓ ๓๐ ๓ วิถีสมั พันธ์ ความสำคญั ต่อชมุ ชน ๑ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ รวม • ปลกู มนั สำปะหลัง • ปลูกข้าว • ปลกู ยางพารา • ปลูกขา้ วโพด • ปลูกอ้อย • ปลกู ปาล์ม - ลกั ษณะภมู ิศาสตรข์ องพ้นื ที่ใช้ ในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ฤดกู าล และสภาพ อากาศ - การดำรงชวี ิต ความเปน็ อยู่ของ คนในชมุ ชน โดยการประกอบ อาชพี เกษตรกรรมควบคู่กบั การ ปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถิน่ ของชุมชน

๑๖ โครงสรา้ งรายวชิ า ส๑๓๒๐๑ ประเพณวี ัฒนธรรม กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี หนว่ ยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนกั คะแนน ๑ ประเพณีท้องถ่นิ - ประวัตคิ วามเป็นมาของ ๖ ๖๐ วฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถิ่นของ ๒ สถานทีแ่ สนนา่ รู้ ชุมชน จากการบอกเลา่ ของ ๓ ๓๐ ๓ วิถสี มั พนั ธ์ ปราชญ์ชาวบ้าน ๑ ๑๐ รวม ๑๐ ๑๐๐ • หลวงปคู่ ำ้ • พธิ เี ลยี้ งบา้ น/เลยี้ งไร่นา • พธิ ีไหวห้ อ • บุญเดือน 3/บญุ เดือน 6 - สถานทท่ี ใ่ี ชใ้ นการประกอบ อาชีพและพิธีกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ งกับ วัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ • วดั • ไรน่ า • ศาลปตู่ า (หอเหนือ, หอ ใต้) - การดำรงชีวติ ความเปน็ อยู่ของ คนในชมุ ชน โดยการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมควบคู่กบั การ ปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมประเพณี ท้องถ่นิ ของชุมชน

๑๗ โครงสร้างรายวชิ า ส๑๔๒๐๑ ประเพณวี ฒั นธรรม กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี หนว่ ยการเรยี นรู้ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา (ชม.) นำ้ หนักคะแนน ๑ ประเพณที ้องถิ่น - องคป์ ระกอบของวฒั นธรรม ๔ ๔๐ ๒ ประเพณที ้องถ่ินของชุมชน ๓ สถานท่ีแสนนา่ รู้ ๑ ๑๐ ๔ วถิ สี มั พนั ธ์ • คนในชมุ ชน ๑ ๑๐ นักอนุรักษ์ ๔ ๔๐ รวม • สิง่ ของ/เครือ่ งใช้ ๑๐ ๑๐๐ • วธิ กี าร • ผลทีไ่ ด้รับ - สถานท่ที ใี่ ช้ในการประกอบ อาชีพและพิธีกรรมท่เี กี่ยวข้องกับ วัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถน่ิ • ปา่ ชุมชน - การดำรงชวี ติ ความเปน็ อยู่ของ คนในชมุ ชน โดยการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมควบคู่กับการ ปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่นของชมุ ชน - การรักษาและสบื สานวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดยการเชิญ ชวนคนในชมุ ชนและคนนอก ชุมชนเขา้ มารว่ มอนุรักษ์ วฒั นธรรมประเพณี

๑๘ โครงสรา้ งรายวิชา ส๑๕๒๐๑ สบื สานวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี หนว่ ยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน ๑ ประเพณีท้องถน่ิ - องค์ประกอบของการต่อยอด ๔ ๔๐ พฒั นาวฒั นธรรมประเพณที ้องถิ่น ๒ วิถสี มั พันธ์ ของชุมชน ๓ ๓๐ ๓ นกั อนรุ ักษ์ ๓ ๓๐ • คนในชุมชน ๑๐ ๑๐๐ รวม • สิ่งของ/เคร่ืองใช้ • วธิ ีการ • ผลที่ไดร้ ับ - การดำรงชวี ิต ความเป็นอยู่ของ คนในชุมชน การพฒั นาอาชีพ เกษตรกรรมควบคู่กบั การปฏิบัติ ตามวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ของชมุ ชน - การรกั ษาและสบื สานวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิน่ โดยการเชิญ ชวนคนในชุมชนและคนนอก ชุมชนเขา้ มารว่ มกิจกรรมการ อนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถน่ิ ในชุมชน

๑๙ โครงสร้างรายวชิ า ง๑๖๒๑๐ พัฒนาอาชีพ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง/ปี หนว่ ยการเรยี นรู้ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา (ชม.) นำ้ หนักคะแนน ๑ ประเพณที ้องถน่ิ - องคป์ ระกอบของการต่อยอด ๔ ๔๐ พัฒนาวฒั นธรรมประเพณีท้องถ่นิ ๒ วถิ สี ัมพนั ธ์ ของชุมชน ๒ ๒๐ ๓ นักอนรุ ักษ์ ๔ ๔๐ • คนในชมุ ชน ๑๐ ๑๐๐ รวม • สงิ่ ของ/เครือ่ งใช้ • วิธีการ • ผลทไี่ ด้รับ - การดำรงชีวติ ความเปน็ อยู่ของ คนในชุมชน การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมควบคู่กับการปฏิบัติ ตามวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ของชุมชน - การอกกแบบวิธกี ารพฒั นา วฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถ่นิ โดย การนำอาชีพเกษตรกรรมของคน ในชุมชนมาผสมผสานรว่ มด้วย

๒๐ อา้ งอิง ใจทิพย์ เชื้อรตั นพงษ์. (2545). การพฒั นาหลกั สตู ร : หลักการและแนวปฏบิ ัต.ิ สืบค้นเมอ่ื 15 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก http://www.ipecm.ac.th/e/ch033/5.doc อำพร เรืองศร.ี (2562). หลักสตู รทอ้ งถิ่น. สบื คน้ เม่อื 15 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/164271