หนังสือ ยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

Reply : การขอเปลี่ยนนามสกุลบุตรภายหลังการหย่า

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๖๗

ผู้ใช้อำนาจปกครองมีสิทธิ

(๑) กำหนดที่อยู่ของบุตร

(๒) ทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอน

(๓) ให้บุตรทำการงาน ตามสมควรแก่ความสามารถและฐานานุรูป

(๔) เรียกบุตรคืนจากบุคคลอื่น ซึ่งกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย

ดังนั้น ผู้ใช้อำนาจปกครองจึงไม่สามารถใช้สิทธินอกจากที่บัญญัติไว้ใน

มาตรา ๑๕๖๗ (๑) - (๔) ได้ กรณีบิดามารดาจดทะเบียนหย่า อำนาจปกครองบุตร

อยู่กับมารดาฝ่ายเดียว เมื่อมารดาประสงค์จะเปลี่ยนชื่อตัว/ชื่อสกุลให้บุตรผู้เยาว์

จึงต้องได้รับความยินยอมจากบิดาก่อน นายทะเบียนท้องที่จึงจะสามารถดำเนินการ

ให้ได้ตามนัย นส. มท. ที่ มท ๐๔๐๒/ว ๑๓๐๑ ลว. ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ เว้นแต่

กรณีที่บุตรผู้เยาว์สามารถแสดงเจตนาขอเปลี่ยนชื่อตัว/ชื่อสกุล ต่อนายทะเบียนท้องที่ได้เอง

จึงเป็นหน้าที่ของผู้ใช้อำนาจปกครอง ที่จะต้องยื่นคำขอแทน

ตามนัย นส. ปค. ที่ มท ๐๓๐๙.๓/ว ๒๕๑๗๑ ลว ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๕

แก้ไขครั้งล่าสุดโดย teyy : 04/03/2021 11:31:25

Reply : การขอเปลี่ยนนามสกุลบุตร

     ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๑ บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดาในกรณีที่บิดาไม่ปรากฏ บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของมารดา

กรณีนี้ มารดาสามารถยื่นคำร้องขอเปลี่ยนชื่อสกุล ให้กับบุตรที่เกิดจากสามีเก่าที่มิได้จดทะเบียนสมรสกันมาใช้ชื่อสกุล

ของมารดา (นามสกุลเดิมของมารดาได้) ในกรณีที่มารดามีความประสงค์จะให้บุตรที่เกิดจากสามีเก่า ใช้ชื่อสกุลของสามีใหม่

มี ๒ กรณี คือ

๑. ให้สามีใหม่รับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรม

๒. การใช้ชื่อสกุลร่วมกับเจ้าของชื่อสกุล

(การเป็นเจ้าของชื่อสกุลต้องมีหนังสือแสดงการจดทะเบียน ชื่อสกุล ช.๒ มาแสดงต่อหน้านายทะเบียน) มารดาสามารถยื่นคำร้อง

ให้บุตรใช้ชื่อสกุลร่วมกับเจ้าของชื่อสกุลได้

แก้ไขครั้งล่าสุดโดย teyy : 17/03/2021 10:09:38

เปลี่ยนนามสกุลบุตร

วันนี่ไปสำนักงานเขตสอบถามเรื่องเปลี่ยนนามสกุลบุตร เขาบอกว่าต้องให้บิดายินยอมด้วย เราก็ติดต่อไปแล้วเขาไม่ยอมให้เราเปลี่ยนค่ะ แบบนี้มีวิธีไหนบ้างค่ะ เราเลิกกันได้สามปีแล้ว ไม่ได้จดทะเบียนสมรส เราเลี้ยงลูกเองคนเดียวค่ะ โปรดแนะแนวทางด้วยค่ะ

0

หนังสือ ยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้

ความคิดเห็นที่ 5

สรุปแล้วเจ้าของกระทู้ ต้องทำอย่างไรบ้างคะ ถึงเปลี่ยนนามสกุลลูกได้สำเร็จอ่าค่ะ ต้องเอาพยานไปด้วยจริงๆใช่มั้ยคะ

0

หนังสือ ยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

หนังสือยินยอมให้บุตรกรณีเป็นผู้เยาว์หรืออายุไม่ถึง 20 ปี ทำหนังสือเดินทาง

วันที่นำเข้าข้อมูล 16 มี.ค. 2564

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 13 ก.ค. 2565

| 6,978 view

การทำหนังสือยินยอมให้บุตรกรณีเป็นผู้เยาว์หรืออายุไม่ถึง 20 ปี ทำหนังสือเดินทาง

กรณีที่บิดาหรือมารดาที่พำนักอยู่ในต่างประเทศ ไม่สามารถพาบุตรที่อายุต่ำกว่า 20 ปี ไปทำหนังสือเดินทางที่่กระทรวงการต่างประเทศไทย สามารถยื่นคำร้องขอทำหนังสือยินยอมและหนังสือมอบอำนาจได้ที่สถานกงสุลใหญ่ฯ  เพื่อให้บุตรหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจพาบุตรไปทำหนังสือเดินทางได้ โดยเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

การเตรียมเอกสาร

1) เอกสารของบิดาหรือมารดาไทย

(1) คำร้องนิติกรณ์
(แบบฟอร์มคำร้องนิติกรณ์ขอทำหนังสือยินยอมฯ)

(2) หนังสือเดิน และสำเนา
(3) บัตรประจำตัวประชาชนไทย
(4) สำเนาทะเบียนบ้านไทย 
(5) สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ หรือใบเปลี่ยนนามสกุล (หากเคยเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล)
(6) สำเนาทะเบียนสมรสหรือทะเบียนหย่า หรือทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (หากเคยจดทะเบียนสมรสหรือหย่า)
(7) หลักฐานแสดงถิ่นพำนักในญี่ปุ่น (เช่น ไซริวการ์ด) และสำเนา

2) เอกสารของบิดาหรือมารดาชาวต่างชาติ

(1) หนังสือเดินทาง (หน้ารูปถ่ายและหน้าที่มีลายมือชื่อ) หรือใบขับขี่รถยนต์ และสำเนา

3)เอกสารของบุตร

(1) หนังสือเดินทางไทย (หากเคยทำหนังสือเดินทาง) และสำเนา
(2) สำเนาสูติบัตรไทย 
(3) บัตรประจำตัวประชาชนไทยตัวจริง (หากเคยทำบัตรประจำตัวประชาชน)
(4) สำเนาทะเบียนบ้านไทย 
(5) สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ หรือใบเปลี่ยนนามสกุล (หากเคยเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล)

ค่าธรรมเนียม
ปรับอัตราค่าธรรมเนียมนิติกรณ์เอกสารตั้งแต่วันที่ 27 มิ.ย. 2565 ตามประกาศที่ 3 / 2565 เรื่อง การปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมการรับรองนิติกรณ์เอกสาร
● ค่าธรรมหนังสือยินยอมให้บุตรทำหนังสือเดินทาง 2,500 เยน ต่อ ตราประทับ

หมายเหตุ
* หากประสงค์จะทำหนังสือมอบอำนาจ กรุณาเตรียมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจมาด้วย
* ในบางกรณีสถานกงสุลใหญ่ฯ อาจขอเอกสารจำเป็นอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม