แผนการ สอน เรื่อง อาหารและสารอาหาร ป. 6

แผนการจัดการเรียนรู้

วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

จัดท าโดย

ต าแหน่ง ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบ้านห้วยส้ม

สพป.ลพบุรี เขต 1

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

แผนจัดการเรียนรู้ อาหารและสารอาหาร เวลา 3 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/1 ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน

ู้
ตัวชี้วัด
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ สารอาหาร ความแตกต่างระหว่างอาหารและสารอาหาร รวมถึง
รวบยอด การฝึกการจ าแนกสารอาหารชนิดต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนใน
กลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
สาระการเรียนรู้ อาหาร 5 หมู่ โดยการจัดของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขประกอบด้วย หมู่นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ถั่วเมล็ด
แห้งและงา หมู่ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน หมู่ผลไม้ต่าง ๆ หมู่พืชผักต่าง ๆ หมู่น้ ามันและไขมันจากพืช ซึ่งหมู่
อาหารเหล่านี้ ไม่จ าเป็นต้องเรียงล าดับ ส่วนสารอาหารเป็นสารที่มีอยู่ในอาหารและมีประโยชน์ต่อร่างกาย มี 6
ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และน้ า
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถร่วมมือกับสมาชิกในกลุ่มจ าแนกความแตกต่างระหว่างอาหารและสารอาหารได้
2. นักเรียนสามารถบอกประเภทและประโยชน์ของสารอาหาร
3. นักเรียนสามารถน าเสนอข้อมูลการจ าแนกสารอาหารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมส ารวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือสสวท
แบบส ารวจอาหารบ้านฉัน

สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. แบบบันทึกกิจกรรมส ารวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือสสวท
ู้
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
4. แบบฝึกหัดเรื่องอาหาร
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6.โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) นักเรียนด าเนินการส ารวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือสสวทเพื่อตรวจสอบความพร้อม
(Engagement: E1) และพื้นฐานของนักเรียน
2) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น ดังนี้

– อาหารหลัก 5 หมู่ มีอะไรบ้าง
– ในอาหารที่นักเรียนรับประทานแต่ละวัน มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่หรือไม่
– ยกตัวอย่างอาหารที่มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ (แนวค าตอบ ข้าวผัดสับปะรด)
- อาหารและสารอาหาร นักเรียนคิดว่าแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมมือสืบค้นข้อมูล ตามประเด็นค าถาม ดังต่อไปนี้
(Exploration: E2) - อาหารคืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
- สารอาหารคืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
- อาหารและสารอาหารแตกต่างกันอย่างไร
- อาหารแต่ละหมู่มีประโยชน์และโทษอย่างไร
– อาหารชนิดใดให้พลังงานแก่ร่างกาย
–อาหารชนิดใดไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย
(2) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน

และเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา

ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน


(Explanation: E3) (2) นกเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแนวค าถามในขั้นท ี่
สองมาประกอบการอภิปราย ได้ข้อสรุปดังนี้
อาหาร 5 หมู่ โดยการจัดของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขประกอบด้วย
1. โปรตีน ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ 2. คาร์โบไฮเดรต สารอาหารที่เป็นแหล่งพลังงานที่


ส าคัญ 3. เกลือแร่หรือแร่ธาตุ เป็นส่วนประกอบของอวยวะและกล้ามเนื้อ 4. วตามิน ท า
ให้ระบบร่างกายของเราปกติ 5. ไขมัน ให้พลังงาน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ป้องกันการ
กระทบ กระเทือนของอวัยวะภายใน ซึ่งหมู่อาหารเหล่านี้ ไม่จ าเป็นต้องเรียงล าดับ ส่วน
สารอาหารเป็นสารที่มีอยู่ในอาหารและมีประโยชน์ต่อร่างกาย มี 6 ประเภท ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และน้ า
สารอาหารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน และสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่ เกลือ
แร่ วิตามิน และน้ า

ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนดูรูปอาหาร
(Elaboration: E4)

จากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าอาหารในรูปประกอบด้วยสารอาหารใดบ้าง
2) นักเรียนท าแบบส ารวจอาหารบ้านฉัน
ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร

2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยอ านวยความสะดวกตามความพร้อมและเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถร่วมมือกับสมาชกในกลุ่ม ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ

จ าแนกความแตกต่างระหว่างอาหารและ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
สารอาหารได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
2. นักเรียนสามารถบอกประเภทและประโยชน์ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ของสารอาหาร ชั้นเรียน
3. นักเรียนสามารถน าเสนอข้อมูลการจ าแนก
สารอาหารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง

แบบส ารวจอาหารบ้านฉัน

ค าชี้แจง: ให้นักเรียนถ่ายรูปหรือวาดภาพอาหารที่บ้านนักเรียน จากนั้นจ าแนกองค์ประกอบ
ของสารอาหารดังกล่าวลงในตาราง พร้อมระบุประโยชน์

เมนูอาหารของบ้านฉันคือ

องค์ประกอบของเมนู ประเภทสารอาหาร ประโยชน์

ชื่อ – นามสกุล

แผนจัดการเรียนรู้ การเลือกรับประทานอาหาร เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


ู้
มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ
ตัวชี้วัด และวัย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการรับประทานอาหารให้ตรงกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย โดย
รวบยอด ค านึงถึงความครบถ้วนของสารอาหาร ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนใน
กลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การใชพลังงานในการท ากิจกรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน การรับประทานอาหารในแต่ละวัน จึงต้องเลือก

รับประทานให้ถูกสัดส่วนและในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับเพศและวัย
2. นักเรียนตระหนักถึงความส าคัญของการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับเพศและวัย
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรม

สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ู้
เรียนรู้ 2. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
3. ตารางแสดงรายการอาหารและปริมาณกิโลแคลอรี่
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าค าถามจากกิจกรรม Exit ticket ในครั้งก่อนมาอภิปรายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนแบ่งเป็นสองกลุ่ม โดยครูให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นโต้วาทีภายใต้
หัวข้อ อาหารอร่อยแต่ไม่มีประโยชน์ กับ อาหารมีประโยชน์แต่ไม่อร่อย
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการเลือกรับประทานอาหารของตนเอง
(Exploration: E2) 2) ครูอธิบายเรื่อง ความต้องการพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วัน ส าหรับคนไทย
แนวทางการเลือกรับประทานอาหารให้ตรงกับความต้องการ

3) ครูยกตัวอย่าง

จากนั้นร่วมมือกับนักเรียนในการอภิปรายเกี่ยวกับแนวค าตอบ
4) นักเรียนศึกษาเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 6-7 จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจจาก
การอ่าน โดยใช้ค าถามดังนี้
- รูปที่ 1 เป็นรูปอะไร (รูปร่างของร่างกายที่ไม่สมส่วน)
- จากรูป เด็กมีร่างกายไม่สมส่วนอย่างไร (คนหนึ่งผอม และอีกคนหนึ่งอ้วน)
- จากการอ่านเนื้อเรื่อง เด็กที่มีรูปร่างผอมน่าจะเป็นโรคอะไร (โรคขาดสารอาหาร)
- เด็กที่มีรูปร่างอ้วนน่าจะเป็นโรคอะไร (โรคอ้วน)
- โรคขาดสารอาหาร และโรคอ้วน เกิดจากสาเหตุอะไร (เกิดจากการมีพฤติกรรมการ

รับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เชน เลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารไม่เพียงพอ
หรือมากเกินความต้องการของร่างกาย)
- นักเรียนคิดว่ามีพฤติกรรมแบบใดอีกบ้างที่ส่งผลให้เป็นโรคขาดสารอาหาร (นักเรียน
ตอบตามความเข้าใจ)
- นักเรียนคิดว่ามีพฤติกรรมแบบใดอีกบ้างที่ส่งผลให้เป็นโรคอ้วน (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจ)
- การเป็นโรคทางโภชนาการส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย (ท าให้เป็นโรคจากการขาด
สารอาหาร หรือเป็นโรคอ้วน)
-นักเรียนคิดว่าควรรับประทานอาหารอย่างไรให้ปลอดภัยจากโรคทางโภชนาการ
(รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดไขมัน)
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม จนได้ข้อสรุปดังนี้ การใช

(Explanation: E3) พลังงานในการท ากิจกรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน การรับประทานอาหารในแต่ละวัน
จึงต้องเลือกรับประทานให้ถูกสัดส่วนและในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของ
ร่างกาย
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนรับตารางแสดงรายการอาหารและปริมาณกิโลแคลอรี่ จากนั้นท าแบบบันทึก
(Elaboration: E4) กิจกรรม
2) ครูขยายความเข้าใจผิดเรื่อง
คาร์โบไฮเดรตเป็นสิ่งที่ท้าให้น้ าหนักเกิน ถ้าต้องการลดน้าหนักจึงควรลดการ
รับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต
การรับประทานเฉพาะผลไม้ในมื้อเย็น ช่วยให้ลดน้ าหนักได ้
แคลอรี คือ สารที่อยู่ในอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท าให้น้ าหนักเพิ่มขึ้น
ดังนี้


ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยอ านวยความสะดวกตามความพร้อมและเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถบอกแนวทางในการเลือก ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
รับประทานอาหารให้เหมาะสมกับเพศและวัย การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2. นักเรียนตระหนักถึงความส าคัญของการ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
เลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับเพศ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
และวัย ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ อาหารปลอดภัย เวลา 1 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ

ู้
ตัวชี้วัด และวัย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพผลกระทบจากการรับประทาน
รวบยอด อาหารที่ไม่ปลอดภัย ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนในกลุ่ม รวมถึงการ
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
ผลกระทบจากการรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและผลกระทบจากการ
รับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย
2. นักเรียนสามารถอ่านฉลากสินค้าได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรม
แบบส ารวจความปลอดภัยของอาหารจากการอ่านฉลาก
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. ข่าวเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหาร เช่น ข่าวเยลลี่ลูกตา

ู้
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
4. ฉลากสินค้าประเภทอาหารเครื่องดื่ม
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าค าถามจากกิจกรรม Exit ticket ในครั้งก่อนมาอภิปรายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนสืบค้นข่าวที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหารมาล่วงหน้า
3) ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาน าเสนอข่าว พร้อมร่วมอภิปรายถึงแนวทางความ
ปลอดภัยของอาหาร โดยใช้ค าถามดังนี้
– ข่าวดังกล่าวเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร

– นักเรียนมีเกณฑ์ในการเลือกอาหารมาบริโภคอย่างไร (สังเกตอย. ดูวันเดือน
ปีที่ผลิต เป็นต้น)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง
(Exploration: E2) สาเหตุที่ท าให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
ผลกระทบจากการรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย
จากนั้นร่วมกันลงความเห็นถึงแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
(Explanation: E3) 2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม จนได้ข้อสรุปดังนี้ สาเหตุที่
ท าให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ เชน การใชสารเคมีในการเพาะปลูกพืช การใชยา





ปฏิชวนะเลี้ยงสัตว์ มีสิ่งปนเปื้อน เชน แมลง แบคทีเรีย พยาธิ เศษดิน หินกรวด อาหาร
เน่าเสีย มีรา ไม่ล้างวัตถุดิบหรือล้างไม่สะอาดก่อนนามาประกอบอาหาร ใชสารปรุงแต่ง

อาหาร อาหารหมดอายุ ภาชนะไม่สะอาด เก็บอาหารปะปนกับสารอื่น ๆ เก็บอาหารในที่
ที่มีอุณหภูมิและความชื้นไม่เหมาะสม
ผลกระทบจากการรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย ท าให้เป็นโรคหรือมีอาการต่าง ๆ เช่น
อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ อหิวาตกโรคโรคไวรัสตับอักเสบเอ โรคมะเร็งที่เกิดจากราใน
อาหาร โรคไข้สมองอักเสบ โรคบิด
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)ครูอธิบายแนวทางการสังเกตความปลอดภัยในการเลือกรับประทานอาหาร จากการ
(Elaboration: E4) อ่านฉลากสินค้า

2) นักเรียนฝึกอานฉลากสินค้า จากนั้นบันทึกข้อมูลลงใน แบบส ารวจความปลอดภัยของ
อาหารจากการอ่านฉลาก

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยอ านวยความสะดวกตามความพร้อมและเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถบอกแนวทางในการเลือก ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
รับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ผลกระทบจากการรับประทานอาหารที่ไม่ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
ปลอดภัย สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
2. นักเรียนสามารถอ่านฉลากสินค้าได้ ชั้นเรียน

แบบส ารวจความปลอดภัยของอาหารจากการอ่านฉลาก

ค าชี้แจง: ให้นักเรียนติดฉลากสินค้า จากนั้นวิเคราะห์ถึงส่วนประกอบที่แสดงให้เห็นถึงความปลอดภัยของสินค้า
ดังกล่าว โดยรูปแบบการน าเสนอขึ้นอยู่กับนักเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ ธงโภชนาการ เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนักถึงความส าคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนใน

ู้
ตัวชี้วัด สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัยต่อสุขภาพ
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับและแนวทางการรับประทานอาหารใน 1 วัน ให้ได้สารอาหารครบทุกประเภท ได้
รวบยอด ปริมาณพลังงานเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ และปลอดภัยต่อสุขภาพ
ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนในกลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่ง
เรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ ธงโภชนาการ คือ แนวทางการรับประทานอาหารที่ให้คุณค่าทางอาหารครบถ้วนตรงกับความต้องการของ
ร่างกาย โดยการน าอาหารหลัก 5 หมู่ มาจัดแบ่งออกเป็นชั้น ๆ ตามสัดส่วน ปริมาณ และความหลากหลายที่ควร
รับประทานใน 1 วัน เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคเลือกรับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ ได้เหมาะสมกับเพศและวัย
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกสัดส่วนของอาหาร และปริมาณพลังงานจากอาหารที่เหมาะสมกับเพศและวัยได้
2. นักเรียนสามารถออกแบบแบบจ าลองเรื่องธงโภชนาการได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบจ าลองธงโภชนาการ
แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
ู้

สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. วิดิทัศน์ของช่องพี่เสือมาแล้ว จาก www.youtube.com เรื่องมาม่าเผ็ดเกาหลี X4 กับ 10 น่องยักษ์
เรียนรู้ (https://bit.ly/32g9ahr)
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. ใบรายการอาหาร
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
7. E book เรื่องธงโภชนาการ http://www.fao.org/3/as979e/as979e.pdf
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าค าถามจากกิจกรรม Exit ticket ในครั้งก่อนมาอภิปรายเพิ่มเติม
(Engagement: E1)

2) นักเรียนรับชมวิดิทัศน์วิดิทัศน์ของชองพี่เสือมาแล้ว จาก www.youtube.com เรื่อง

มาม่าเผ็ดเกาหลี X4 กับ 10 น่องยักษ์
จากนั้นอภิปรายโดยใช้ค าถาม ดังนี้
- นักเรียนคิดว่าการรับประทานอาหารปริมาณมากต่อมื้อเป็นพฤติกรรมที่ควรท าตาม
หรือไม่ เพราะเหตุใด
- นักเรียนเคยรับประทานอาหารมื้อหนึ่งในปริมาณมากเกินความต้องการของร่างกาย
หรือไม่
- นักเรียนคิดว่าเราควรรับประทานอะไรมากที่สุดและอะไรน้อยที่สุด เพราะเหตุใด

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ในปัจจุบันได้มีการก าหนดแนวทางการรับประทานอาหาร
(Exploration: E2) ที่ให้คุณค่าทางอาหารครบถ้วนตรงกับความต้องการของร่างกาย โดยการน าอาหารหลัก
ั้
5 หมู่ มาจัดแบ่งออกเป็นชน ๆ ตามสัดส่วน ปริมาณ และความหลากหลายที่ควร
รับประทานใน 1 วัน เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคเลือกรับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ ได้เหมาะสม
กับเพศและวัยส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย โดยจัดออกมาในรูปแบบธงโภชนาการ (Nutrition
flag)
2) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเรื่องธงโภชนาการจากสื่อที่ครูเตรียมให้ บูรณาการรายวิชา
3) นักเรียนแต่ละกลุ่มรับใบงานรายการอาหาร จากนั้นออกแบบธงโภชนาการตาม ภาษาอังกฤษ
ความคิดนักเรียน โดยเติมข้อมูลรายการอาหารที่ครูก าหนดให้ลงในแบบจ าลอง
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแบบจ าลองของตนเอง
(Explanation: E3) 2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม จนได้ข้อสรุปเกี่ยวกับธง
โภชนาการ ดังนี้

ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/803048177287640606/
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนแต่ละกลุ่มปรับปรุงแบบจ าลองเพื่อให้ได้แบบจ าลองที่สมบูรณ์
(Elaboration: E4) 2) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสัดส่วนอาหารที่ตนรับประทานกับสัดส่วนท ี่
เหมาะสมตามธงโภชนาการ
3)นักเรียนท าแบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู


(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร

2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยอ านวยความสะดวกตามความพร้อมและเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถบอกสัดส่วนของอาหาร ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
และปริมาณพลังงานจากอาหารที่เหมาะสมกับ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
เพศและวัยได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
2. นักเรียนสามารถออกแบบแบบจ าลองเรื่อง สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ธงโภชนาการได้ ชั้นเรียน

ใบรายการอาหาร

แผนจัดการเรียนรู้ อวัยวะในระบบย่อยอาหาร เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


ู้
มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/4 สร้างแบบจ าลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้ง
ตัวชี้วัด อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหารของร่างกายมนุษย์ และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ
รวบยอด ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนในกลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่ง
เรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ล าไส้เล็กล าไส้ใหญ่ ทวาร
หนัก ตับ และตับอ่อน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถระบุอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยหารและบอกหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้
2. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. ภาพอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก จมูก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ล าไส้เล็ก ตับอ่อน ตับ ล าไส้ใหญ่ หัวใจ
ู้

เรียนรู้ ปอด
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. Digestive system UNO card
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าค าถามจากกิจกรรม Exit ticket ในครั้งก่อนมาอภิปรายเพิ่มเติม

(Engagement: E1) 2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงอวัยวะที่เกี่ยวของกับระบบย่อยอาหารจากนั้นนักเรียนแต่
ละกลุ่มรับภาพอวัยวะต่าง ๆ ที่ครูก าหนดให้
3) ครูวาดภาพโครงร่างร่างกายมนุษย์บนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนน าภาพที่คิดว่า
เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหารมาติด โดยให้นักเรียนให้เหตุผลของการติดรูปภาพ
ดังกล่าวตามความเข้าใจของตนเอง

4) ครูตั้งค าถามเพื่อกระตุ้นความสนใจผู้เรียน ดังนี้ นกเรียนรู้หรือไม่ว่าอวัยวะในระบบ

ย่อยย่ออาหารมีอะไรบ้าง อวัยวะแต่ละอย่างท าหน้าที่อะไร และนักเรียนติดภาพ
อวัยวะในต าแหน่งที่ถูกต้องแล้วหรือไม่

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนและครูศึกษากิจกรรมที่ 2 อวัยวะในระบบย่อยอาหารมีลักษณะและหน้าที่

(Exploration: E2) อย่างไร ร่วมกันโดยอภิปรายเกี่ยวกบจุดประสงค์ของการท ากิจกรรม อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนถึงวิธีท ากิจกรรม
2) นักเรียนรับขนมปัง จากนั้นสังเกตลักษณะทางกายภาพ พร้อมระบุประเภทของ
สารอาหาร
3) นักเรียนเคี้ยวขนมปังชา ๆ จากนั้นใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการสังเกตการณ์ท างาน


ของปาก ลิ้น ฟัน จากนั้นสังเกตการณ์กลืนข้าว บูรณาการรายวิชา
4) นักเรียนร่วมกันอภิปรายจากการท ากิจกรรมได้ข้อสังเกต ดังนี้ อาหารที่เรารับประทาน วิทยาศาสตร์เรื่อง
เข้าไปจะถูกย่อยที่แรกที่ปาก โดยมีฟันท าหน้าที่บดเคี้ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง ลิ้นที่ช่วย สารอาหาร
คลุกเคล้าอาหาร
5) นักเรียนแสดงความคิดเห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากนักเรียนกลืนขนมปังลงไป
6) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกียวกับอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบย่อยอาหาร

ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เชนการ บูรณาการวิทยาการ
(Explanation: E3) พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความปลอดภัยในการใช้งานอินเตอร์เน็ต ค านวณ
2) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอหน้าที่ของระบบย่อยอาหาร
3) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม จนได้ข้อสรุป ดังนี้
– ปาก มีฟันช่วยบดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลงและมีลิ้นช่วยคลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับ
น้ าลาย ในน้ าลายมีเอนไซม์ย่อยแป้งให้เป็นน้ าตาล
– หลอดอาหาร ท าหน้าที่ล าเลียงอาหารจากปากไปยังกระเพาะอาหาร

– กระเพาะอาหาร ท าหน้าที่ย่อยโปรตีน โดยใชกรดและเอนไซม์ที่สร้างจากกระเพาะ
อาหาร
– ล าไส้เล็ก ท าหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยใช้เอนไซม์ที่สร้างจากผนัง
ล าไส้เล็กเองและจากตับอ่อน และท าหน้าที่ดูดซึมคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันที่ผ่าน
การย่อยจนเป็นสารอาหารที่มีขนาดเล็กรวมถึงดูดซึมเกลือแร่ วิตามิน และน้ าที่ผนังล าไส้
เล็กเข้าสู่หลอดเลือด เพื่อล าเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
– ล าไส้ใหญ่ ท าหน้าที่ดูดซึมเกลือแร่และน้ า เป็นบริเวณที่ท าให้อาหารที่ย่อยไม่ได้หรือ
ย่อยไม่หมดกลายเป็นกากอาหาร ซึ่งจะถูกขับออกนอกร่างกายทางทวารหนัก
– ทวารหนัก ท าหน้าที่ขับกากอาหารเป็นอุจจาระออกนอกร่างกาย
– ตับ ท าหน้าที่สร้างน้ าดีแล้วส่งไปยังล าไส้เล็ก เพื่อช่วยให้ไขมันแตกตัว

– ตับอ่อน ท าหน้าที่สร้างเอนไซม์แล้วส่งไปยังล าไส้เล็ก เพื่อชวยย่อยคาร์โบไฮเดรต
โปรตีน และไขมัน
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนท าแบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียนและเล่น digestive system UNO card
(Elaboration: E4) เพื่อสรุปความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู
(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร

3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยอ านวยความสะดวกตามความพร้อมและเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถระบุอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับ ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ระบบย่อยหารและบอกหน้าที่ของอวัยวะใน การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ระบบย่อยอาหารได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
ี่
2. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหน้าท สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้ ชั้นเรียน

ตัวอย่าง Digestive system Card

แผนจัดการเรียนรู้ ระบบย่อยอาหารท างานอย่างไร เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา เวลา 12 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 1.2 ป. 6/4 สร้างแบบจ าลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้ง

ู้
ตัวชี้วัด อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการท างานของระบบย่อยอาหารของร่างกายมนุษย์ ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -
รวบยอด Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อนในกลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน า
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การย่อยอาหารเป็นกระบวนการที่ท าให้โมเลกุลของอาหารเปลี่ยนสภาพไปเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก พอที่ร่างกายจะ
ดูดซึมและล าเลียงไปยังเซลล์ต่าง ๆ ได้
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถออกแบบแบบจ าลองเพื่ออธิบายกระบวนการย่อยอาหารได้
2. นักเรียนสามารถบอกวิธีการดูแลรักษาระบบย่อยอาหารได้
3. นักเรียนตระหนักถึงการดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบจ าลองระบบย่อยอาหาร
แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
ู้

สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. กระดาษและสีตลอดจนอุปกรณืที่นักเรียนน ามาใช้สร้างแบบจ าลอง
เรียนรู้ 2. อาหารที่นักเรียนรับประทาน
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา
5. คลิปวิดิโอแสดงการท างานของระบบย่อยอาหาร https://www.youtube.com/watch?v=ZBZWgrfZFbU
https://www.youtube.com/watch?v=zr4onA2k_LY
6. อุปกรณ์ประกอบการทดลองเพื่อสังเกตกระบวนการย่อยอาหารในร่างกายมนุษย์
7. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
8. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าค าถามจากกิจกรรม Exit ticket ในครั้งก่อนมาอภิปรายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากเรารับประทานอาหารไป

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนจับคู่สร้างแบบจ าลองอธิบายการท างานของอวัยวะที่เกียวข้องกับระบบย่อย
(Exploration: E2) อาหาร โดยแบบจ าลองที่นักเรียนสร้างขึ้นอาจเป็นแผนภาพ แผนผัง รูปภาพ ข้อความ
แสดงล าดับขั้นตอน ขึ้นอยู่กับนักเรียน
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนติดแบบจ าลองของตนในห้องเรียน จากนั้นแลกเปลี่ยนชมผลงานของเพื่อน บูรณาการวิทยาการ
(Explanation: E3) กลุ่มอื่น ค านวณ
2) ครูน าผลงานที่นักเรียนในห้องชนชอบมากที่สุดมาอภิปรายร่วมกับนักเรียน ถึงความ
ื่
ถูกต้องของแบบจ าลอง
3) นักเรียนรับชมคลิปวิดิโอแสดงการท างานของระบบย่อยอาหาร จากนั้นร่วมกัน
อภิปรายร่วมกับครูและเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนเกี่ยวกับกระบวนการย่อยอาหาร
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนท าการทดลองเพื่อสังเกตกระบวนการย่อยอาหารในร่างกายมนุษย์ โดยน า
(Elaboration: E4) อาหารที่นักเรียนเตรียมมา ใส่ลงในหลอดทดลอง จากนั้นเติมกรด HCl ลงไป 2 ML.ตั้งทิ้ง
ไว้สังเกตการเปลี่ยนแปลง 2 วัน จากนั้นบันทึกผลการทดลองลงใน Exit Ticket
2)ครูให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวกับระบบย่อยอาหารเพิ่มเติม เช่น โรคกระเพาะอาหาร
อักเสบ ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสีย ท้องผูก
3) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการดูแลระบบย่อยอาหาร
จากนั้นท าแบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ ขั้นขยายความรู้ ข้อที่ 1 สามารถท านอกเวลาเรียนได้
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถออกแบบแบบจ าลองเพื่อ ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
อธิบายกระบวนการย่อยอาหารได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2. นักเรียนสามารถบอกวิธีการดูแลรักษา ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
ระบบย่อยอาหารได้ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
3. นักเรียนตระหนักถึงการดูแลรักษาระบบ ชั้นเรียน
ย่อยอาหาร

แผนจัดการเรียนรู้ สารมีกี่ประเภท เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


ู้
มาตรฐานการเรยนร/ ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การริน
ตัวชี้วัด ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันเกี่ยวกับ
การแยกสาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจ าแนกสาร ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การอภิปรายร่วมกันกับเพื่อน
รวบยอด ในกลุ่ม รวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน เราสามารถจ าแนกสารผสมเป็น 2 ประเภทได้ คือ สารเนื้อ

เดียวและสารเนื้อผสม โดยใชลักษณะของเนื้อสารเป็นเกณฑ์ สารเนื้อเดียวจะมองเห็นสารที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน
เนื้อสารมีลักษณะเหมือนกันและมีสมบัติเหมือนกันทั่วทงเนื้อสาร ส่วนสารเนื้อผสมจะมองเห็นสารที่ผสมแยกกัน
ั้
อย่างชัดเจน เนื้อสารมีลักษณะแตกต่างกันและมีสมบัติของเนื้อสารไม่สม่ าเสมอ
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถจ าแนกสารแต่ละประเภทได้
2. นักเรียนสามารถบอกเกณฑ์ที่ใช้ในการจ าแนกสารแต่ละประเภทได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน ตารางจ าแนกสาร

ู้
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. น้ าเชื่อม น้ าส้มสายชู ดิน พริกน้ าปลา น้ าขี้เถ้า ก้อนหิน ลูกโป่งที่บรรจุอากาศ
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) นักเรียนสังเกตน้ าเชื่อมจากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยง
(Engagement: E1) ไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การจ าแนกสาร
ื่
– น้ าเชอมประกอบด้วยสารกี่ชนิด อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 2 ชนิด คือ น้ าที่เป็นตัวท า
ละลายและน้ าตาลที่เป็นตัวละลาย)
ื่
– ถ้าสังเกตด้วยตา น้ าเชอมมีลักษณะใด (แนวค าตอบ เป็นของเหลวและมองเห็นเป็น
สารเนื้อเดียว)


– เมื่อใชเนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะจ าแนกสารเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 2
ประเภท คือ สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม)

– การจ าแนกสารโดยใชเนื้อสารเป็นเกณฑ์มีหลักการอย่างไร (แนวค าตอบ สังเกตด้วย
ตาว่ามองเห็นเนื้อสารเป็นเนื้อเดียวกันหรือไม่)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม สังเกตสารที่ครูเตรียมให้ ร่วมกับสืบค้นข้อมูลจากสื่อที่ครูเตรียม บูรณาการวิทยาการ
(Exploration: E2) ให้ จากนั้นบันทึกข้อมูลลงในตารางจ าแนกสาร ค านวณเรื่องการคิด

2) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน แก้ปัญฆา
และเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา

ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนคัดเลือกผลงานของสมาชิกในกลุ่มไปติดไว้หน้าห้อง
(Explanation: E3) 2) ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับค าตอบแต่ละกลุ่ม โดยได้ข้อสรุปดังแผนภาพ

ของแข็ง เนื้อผสม

ใช้สถานะ ใชเนื้อสาร
ของเหลว แขวนลอย

แก๊ส การจ าแนกสาร คอลลอยด์

เนื้อเดียว

สารบริสุทธ ิ์ สารละลาย

ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)นักเรียนแต่ละกลุ่มจ าแนกสารผสมในชีวิตประจ าวัน โดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
(Elaboration: E4) 2) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางแยกสารผสมออกจากกัน จากนั้นครู
มอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาวิธีการแยกสารผสมมาล่วงหน้า

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู
(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถจ าแนกสารแต่ละประเภท ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2. นักเรียนสามารถบอกเกณฑ์ที่ใชในการ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน

จ าแนกสารแต่ละประเภทได้ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชั้นเรียน

ชื่อ – นามสกุล

ตารางจาแนกสาร

ค าชี้แจง: นักเรียนสังเกตตัวอย่างสารจากหน้าชั้นเรียน จากนั้นเขียนเครื่องหมาย √ หน้าชองที่ตรงกับ
ลักษณะของสาร

สารที่น ามาจ าแนก ใช้สถานะเป็นเกณฑ์ ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ ์

ของเหลว ของแข็ง แก๊ส สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
สารบริสุทธิ์ สารละลาย แขวนลอยด์ คอลลอยด์
น้ าเชื่อม

น้ าส้มสายช ู
ดิน
พริกน้ าปลา

น้ าขี้เถ้า
ก้อนหิน
ลูกโ ป่งที่บรรจุ

อากาศ

สารในชีวิตประจาวันของเรา

ค าชี้แจง: ให้นักเรียนยกตัวอย่างสารเนื้อเดียวและสารเนื้อ
ผสมในชีวิตประจ าวัน

สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม


แผนจัดการเรียนรู้ วิธแยกของแข็งในสารเนื้อผสม เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การริน

ู้
ตัวชี้วัด ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันเกี่ยวกับ
การแยกสาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแยกของแข็งออกจากสารเนื้อผสม ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การ
รวบยอด ปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจากของแข็งสามารถท าได้ด้วยการหยิบออก การฝัด และการร่อน ซึ่งแต่ละวิธี
เหมาะกับการแยกของแข็งที่มีลักษณะแตกต่างกัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการแยกของแข็งออกจากของแข็งได้
2. นักเรียนสามารถสามารถปฏิบัติการทดลองการแยกของแข็งออกจากของแข็งได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือสสวท
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. อุปกรณ์ส าหรับการทดลอง ได้แก่ ข้าวเปลือก โกรงบดยา กระด้ง ตะแกรง

ู้
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
6. วิดิทัศน์ตัวอย่างปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สาหรับครู เรื่อง แยกของแข็งที่มีลักษณะต่างกันได้อย่างไร
http://ipst.me/9894
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสีขาวดังนี้
(Engagement: E1) – ข้าวสารที่เรารับประทานได้มาอย่างไร
– การสีข้าวเปลือกให้เป็นข้าวสาร ท าได้อย่างไร
2) นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องการผลิตข้าวสารในหน้า 40จากนั้นอภิปรายร่วมกันกับครูและ
เพื่อนในชั้นเรียน โดยใช้ค าถามน าดังนี้
– การสีข้าวจะได้สารใดบ้าง

– การแยกเมล็ดข้าวสารออกจากสิ่งที่ปนอยู่ทาได้อย่างไร ยกตัวอย่าง
– วิธีการแยกสารมีวิธีใดบ้าง ยกตัวอย่าง
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแบ่งกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมสังเกตการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งจากนั้นส่ง
(Exploration: E2) ตัวแทนกลุ่มออกมารับใบบันทึกการทดลอง แล้วศึกษาร่วมกันดังนี้
กิจกรรมสังเกตการแยกสารผสมที่เป็นของแข็ง
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการแยกสารผสมที่เป็นของแข็ง
อุปกรณ์และสารเคมี
ข้าวเปลือก โกรงบดยา กระด้ง ตะแกรง
วิธีการทดลอง
– เทข้าวเปลือกลงบนถาด แล้วสังเกตลักษณะของข้าวเปลือก บันทึกผล
– เทข้าวเปลือกลงในครกหิน แล้วใชสากหินบดข้าวเปลือกไปมาเพื่อให้เปลือกหลุดออก

จากเมล็ดข้าว สังเกตลักษณะของสาร บันทึกผล
– แยกข้าวสารออก โดยใช้วิธีที่แต่ละกลุ่มเลือก บันทึกวิธีแยกสาร
ค าถามท้ายการทดลอง
–หลังจากใชสากหินบดข้าวเปลือก สารที่ได้จัดเป็นสารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสม สังเกต

จากอะไร
–นักเรียนใช้วิธีใดแยกข้าวสาร และวิธีนั้นมีหลักการอย่างไร

(2) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน
และเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(Explanation: E3) 2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

–หลังจากใชสากหินบดข้าวเปลือก สารที่ได้จัดเป็นสารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสม สังเกต
จากอะไร (แนวค าตอบ สารเนื้อผสม สังเกตจากสารที่ได้มีเนื้อสารไม่เป็นเนื้อเดียวกน คือ

มีทั้งเปลือก ข้าวเปลือก และข้าวสารปนกันอยู่)

–นักเรียนใชวิธีใดแยกข้าวสาร และวิธีนั้นมีหลักการอย่างไร (แนวค าตอบ ใชการร่อน มี

หลักการ คือ ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่ารูของตะแกรงจะลอดผ่านรูลงด้านล่าง เหลือแต่
ของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่ารูของตะแกรงคงอยู่บนตะแกรง
ใชการฝัด มีหลักการ คือ เมื่อกระดกกระด้ง (หรือถาด) ของแข็งที่เบาจะปลิว

ออก เหลือแต่ของแข็งที่หนักตกลงบนกระด้ง (หรือถาด)

ใชการหยิบออก มีหลักการ คือ ใชมือหยิบของแข็งที่ไม่ต้องการออกจากสาร

ผสม)
3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ได้ข้อสรุปว่า การแยกของแข็ง
ออกจากของแข็งต้องพิจารณาลักษณะของของแข็งที่เป็นส่วนผสม จากนั้นจึงเลือกวิธีแยก
สารที่เหมาะสมเพื่อใช้แยกสารที่ต้องการ

ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) ครูยกตัวอย่างการแยกของแข็งออกจากของแข็งในชวิตประจ าวัน แล้วอธิบายเพิ่มเติม

(Elaboration: E4) ให้นักเรียนเข้าใจว่า การแยกสารบางครั้งอาจใชวิธีการแยกสารมากกว่า 1 วิธีเพื่อให้ได้

สารที่ต้องการ เชน การผลิตข้าวสาร เมื่อต าข้าวเปลือกให้เปลือกหลุดออกจากเมล็ดข้าว
แล้ว ผู้ผลิตจะท าการฝัดเพื่อให้เปลือกปลิวไปเหลือแต่ข้าวสาร จากนั้นจะน าข้าวสารมา
ร่อนเพื่อแยกข้าวสารที่เต็มเมล็ดออกจากข้าวสารที่หัก
4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม
– เราสามารถแยกเปลือกหุ้มเมล็ดออกจากถั่วลิสงคั่วด้วยการฝัดได้เพราะอะไร (แนว

ค าตอบ เพราะเปลือกหุ้มเมล็ดเบา เมื่อใชการฝัด เปลือกหุ้มเมล็ดจะถูกแรงลมพัดให้ปลิว
ไปได้)


ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการแยกของแข็ง ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ออกจากของแข็งได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2. นักเรียนสามารถสามารถปฏิบัติการทดลอง ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
การแยกของแข็งออกจากของแข็งได้ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ วิธีแยกของแข็งกับของเหลวในสารเนื้อ เวลา 2 ชั่วโมง
ผสม
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


ู้
มาตรฐานการเรยนร/ ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การริน
ตัวชี้วัด ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันเกี่ยวกับ
การแยกสาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแยกของแข็งในของเหลวออกจากของเหลว ด้วยวิธีการต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้แบบ
รวบยอด Active -Leaning การปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใชในชีวิตประจ าวันได้

สาระการเรียนรู้ การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลวออกจากของเหลวสามารถท าได้ด้วยการตกตะกอน การริน
ออก และการกรอง ซึ่งแต่ละวิธีเหมาะกับการแยกสารผสมที่มีลักษณะแตกต่างกัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการแยกของแข็งออกจากของเหลวได้
2. นักเรียนสามารถปฏิบัติการทดลองการแยกของแข็งออกจากของเหลวได้
3. นักเรียนตระหนักถึงปัญหาขยะในน้ า
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือสสวท

ู้
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. อุปกรณ์ส าหรับการทดลอง ได้แก่ น้ าขี้เถ้า ผ้าขาวบาง กระดาษกรอง กรวยกรอง บีกเกอร์ ช้อนพลาสติก
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/

6. วิดิทัศนข่าวปัญหาขยะในน้ า https://www.youtube.com/watch?v=r010LaGV2M8
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ

ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบวิธีการแยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งกับของแข็ง
(Engagement: E1) ออกจากกันและตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับวิธีการแยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งกับ
ของเหลวออกจากกันโดยใช้คาถามดังต่อไปนี้
1.1 สารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งกับของเหลวมีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ เช่น น้ าผสมแป้ง น้ าโคลน)

1.2 นักเรียนคิดว่าเราสามารถแยกของแข็งออกจากของเหลวในสารเนื้อผสมได้โดย
วิธีการใดบ้าง แต่ละวิธีใช้อุปกรณ์อะไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น การกรอง)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแบ่งกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมแยกของแข็งกับของเหลวในสารเนื้อผสม แล้วศึกษา
(Exploration: E2) ร่วมกัน โดยใช้ค าถามกระตุ้นให้นักเรียนเข้าใจถึงกระบวนการท างาน ดังนี้
กิจกรรมแยกของแข็งกับของเหลวในสารเนื้อผสม
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งกับของเหลวในสารเนื้อผสมออก
จากกัน
อุปกรณ์และสารเคมี
น้ าขี้เถ้า ผ้าขาวบาง กระดาษกรอง กรวยกรอง บีกเกอร์ ช้อนพลาสติก
วิธีการทดลอง
น้ าขี้เถ้า

น้ าขี้เถ้าแยกโดยใช้ผ้าขาวบาง น้ าขี้เถ้าโดยใช้กระดาษกรอง
ค าถามท้ายการทดลอง
– การแยกน้ าขี้เถ้าทั้งสองวิธีแตกต่างกันอย่างไร

- จากการทดลองนักเรียนจะใช้วิธใดแยกสารใดเพื่อแยกขี้เถ้าออกจากน้ า
เพราะอะไร
(2) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน

และเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(Explanation: E3) 2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยเน้นให้นักเรียนได้แสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการแยกสาร เช่น
- การตั้งน้ าขี้เถ้าทิ้งไว้ก่อนน าไปแยกช่วยให้แยกสารได้ง่ายขึ้นหรือไม่
- การตั้งน้ าขี้เถ้าทิ้งไว้ เป็นการแยกสารวิธีหนึ่งหรือไม่ (เป็น เรียกว่าวิธีการตกตะกอน)

- จากทั้งสองวิธ มีข้อแตกต่างกันอย่างไร และจากสถาณกาณ์ดังกล่าวนักเรียนจะเลือกใช ้
วิธีใดเพราะเหตุใด
3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ได้ข้อสรุปว่า การแยกสารที่เป็น
ของแข็งออกจากของเหลวสามารถท าได้โดยการตกตะกอน การรินออก และการกรอง

– การตกตะกอนใชแยกของแข็งที่แขวนลอยอยู่ในของเหลวออกจากของเหลว โดยเมื่อตั้ง
สารผสมทิ้งไว้ของแข็งที่มีน้ าหนักจะตกตะกอน
– การรินออกใชแยกของเหลวออกจากของแข็งที่ตกตะกอนแล้วโดยการเทของเหลวออก

จากสารผสม

– การกรองใชแยกของแข็งออกจากของเหลวด้วยวัสดุกรอง โดยของเหลวจะไหลผ่านรู
ของวัสดุกรองไป ส่วนของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่ารูของวัสดุกรองจะคงอยู่ด้านบน
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนชมวิดิทัศข่าวเกี่ยวกับปัญหาขยะในทะเล
(Elaboration: E4)

จากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าว


ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1.นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการแยกของแข็ง ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ออกจากของเหลวได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2.นักเรียนสามารถสามารถปฏิบัติการทดลอง ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
การแยกของแข็งออกจากของเหลวได้ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
3.นักเรียนตระหนักถึงปัญหาขยะในน้ า ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ การแยกสารแม่เหล็กออกจากสารผสม เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

ู้

มาตรฐานการเรยนร/ ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การริน
ตัวชี้วัด ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันเกี่ยวกับ
การแยกสาร
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแยกสารที่มีแม่เหล็กเป็นองค์ประกอบโดยใช้แม่เหล็ก ผ่านการเรียนรู้แบบ Active
รวบยอด -Leaning การปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การแยกสารที่ใชประโยชน์จากสมบัติเฉพาะของสาร คือ การใชแม่เหล็กดึงดูด โดยถ้ามีสารใดสารหนึ่งเป็นสาร


แม่เหล็กสามารถใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดึงดูดเพื่อแยกสารได้
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายวิธีการแยกสารแม่เหล็กออกจากสารอื่นในสารเนื้อผสมได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายและยกตัวอย่างวิธีการแยกสารแม่เหล็กออกจากสารอื่นในสารเนื้อผสมไปใช ้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือสสวท
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. อุปกรณ์ส าหรับการทดลอง ได้แก่ ขวกน้ าปากแคบบรรจะตะปูหรือสารที่เกิดแรงดึงดูดทางแม่เหล็ก

ู้
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ื่
ขั้นสร้างความสนใจ 1) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อเชอมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ของแข็งที่ไม่
(Engagement: E1) ละลายในของเหลวออกจากของเหลว
– แม่เหล็กมีสมบัติใด (แนวค าตอบ ดึงดูดสารแม่เหล็กได้)
– วัสดุที่ถูกดึงดูดด้วยแม่เหล็กได้คืออะไร (แนวค าตอบ เหล็ก นิกเกิล และโคบอลต์)
– วิธีใดสามารถแยกสาร 2 ชนิดนี้ออกจากกันได้ (แนวค าตอบ ใช้แม่เหล็กดึงดูดลวดเย็บ
กระดาษออกจากเศษกระดาษ)


– นักเรียนใชวิธีดังกล่าวเพราะอะไร (แนวค าตอบ เพราะลวดเย็บกระดาษท าจากเหล็ก
ซึ่งเป็นสารแม่เหล็กจึงถูกดึงดูดด้วยแม่เหล็กได้)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแบ่งกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นร่วมกันวางแผนหาวิธีแยกตะปูออกจากขวด

(Exploration: E2) น้ าปากแคบ โดยใชเวลาน้อยที่สุด และไม่มีน้ าหก จากนั้นแต่ะละกลุ่มส่งตัวแทน
ั้
อธิบายแนวทางการแก้ปัญหาของตนพร้อมทั้งลงมือปฏิบัติกิจกรรมหน้าชนเรียน โดย
ครูท าหน้าที่จับเวลาหากกลุ่มใดแยกตะปูออกจากขวดแก้วได้หมดก่อนเป็นฝ่ายชนะได้
แต้มสะสม
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ได้ข้อสรุปดังน ี้

(Explanation: E3) การใชแม่เหล็กดึงดูด เหมาะส าหรับแยกสารผสมที่มีสารแม่เหล็กปนอยู่กับสารอื่น ๆ ที่
ไม่ใช่สารแม่เหล็ก
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ของการแยกสารผสมด้วยแม่เหล็ก


(Elaboration: E4) - ประโยชน์จากการแยกสารเนื้อผสมโดยการใชแม่เหล็กดึงดูดสามารถน าไปใชใน
ชวิตประจ าวันได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามข้อมูลที่ได้จากการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม

หรือจากประสบการณ์ของตนเอง เชน หากอยากทราบว่าซีเรียลมีผงเหล็กปนอยู่หรือไม่


สามารถใชแม่เหล็กทดสอบได้โดยถ้ามีผงเหล็กปนอยู่ แม่เหล็กจะดึงดูดผงเหล็กแยก
ออกมา นอกจากนการแยกเศษเหล็กออกจากเศษขยะประเภทอื่น ๆ สามารถใช้แม่เหล็ก
ี้
แยกได้)

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1.นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายวิธีการ ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
แยกสารแม่เหล็กออกจากสารอื่นในสารเนื้อ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ผสมได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
2.นักเรียนสามารถอภิปรายและยกตัวอย่าง สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
วิธีการแยกสารแม่เหล็กออกจากสารอื่นในสาร ชั้นเรียน
เนื้อผสมไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้

แผนจัดการเรียนรู้ การแยกสารกับปัญหาในชีวิตประจ าวัน เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย เวลา 10 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


มาตรฐานการเรยนร/ ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การริน
ู้
ตัวชี้วัด ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันเกี่ยวกับ
การแยกสาร

สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้น าความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาบทเรียนมาประยุกต์ใชแก้ปัญหาในชวิตประจ าวัน ผ่านการเรียนรู้

รวบยอด แบบ Active -Leaning กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ การแยกสารวิธีต่าง ๆ ต้องสังเกตลักษณะและสมบัติของสารที่ผสมกัน ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญในการเลือกวิธีการที่
เหมาะสมเพื่อใช้แยกสาร ซึ่งการแยกสารบางชนิดในชีวิตประจ าวันอาจต้องใชวิธีแยกสารมากกว่า 1 วิธี เพื่อให้ได้

สารที่ต้องการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกวิธีการแยกสารจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน ตอบค าถามลงในสมุด

ู้
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. กระดาษค าถามแต่ละฐาน
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมอย่างง่าย
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
(Engagement: E1) – ถ้าต้องการแยกเศษผงออกจากน้ าควรใช้วิธีใด (แนวค าตอบ การกรอง)
– ถ้าต้องการแยกกรวดออกจากข้าวสารควรใช้วิธีใด (แนวค าตอบ การร่อน)
– การกรองและการร่อนมีลักษณะใดเหมือนกัน (แนวค าตอบ การกรองและการ
ร่อนต้องใช้อุปกรณ์ที่มีรูพรุนเพื่อแยกของผสมออกจากกันเหมือนกัน)

– การกรองและการร่อนมีลักษณะใดแตกต่างกัน (แนวค าตอบ การกรองใชแยก
ของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลวออกจากของเหลว ส่วนการร่อนใชแยกของแข็ง

ออกจากของแข็ง)

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม ออกเป็น 5 กลุ่ม จากนั้นแต่ละกลุ่มประจ าจุดที่ได้รับมอบหมาย
(Exploration: E2) ดังภาพ

ยกตัวอย่างการแยกสาร 1 การรินออกใช้แยกน้ าปูนใส
ที่ต้องใช้มากกว่า 1 วิธี 5
ออกจากสารผสมได้หรือไม่
มา 2 ตัวอย่าง เพราะอะไร

การแยกสารผสมใดที่ 2 ถ้าต้องการแยกใบชาออก
ต้องใช้วิธีการแยกสาร 4
มากกว่า 1 วิธี และใช้ จากน้ าชา วัสดุกรองต้องมี
3 ลักษณะส าคัญใด
วิธีการแยกสารใดบ้าง

ถ้าเราไม่มีแม่เหล็ก เรามีวิธีใดที่จะแยกเศษกระดาษ
ออกจากลวดเย็บกระดาษได้

2) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดตอบค าถามตามจุดที่ตนได้รับลงในแบบฝึกหัด
เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเปลี่ยนฐานจากครู จึงจะสามารถเปลี่ยนฐานได้
การเปลี่ยนฐาน กลุ่ม 1 >>>>>> 2
กลุ่ม 2 >>>>>> 3
กลุ่ม 3 >>>>>> 4
กลุ่ม 4 >>>>>> 5
กลุ่ม 5 >>>>>> 1

3) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ บริเวณที่
นักเรียนส ารวจและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแลกเปลี่ยนผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(Explanation: E3) 2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ดังน ี้
– ยกตัวอย่างการแยกสารที่ต้องใช้มากกว่า 1 วิธีมา 2 ตัวอย่าง
(แนวค าตอบ การแยกเศษขยะจากน้ าที่ไหลลงท่อระบายน้ าด้วยการกรอง และการแยก
กรวดและหินออกจากทรายที่ใช้ในการก่อสร้างด้วยการร่อน)
– การแยกสารผสมใดที่ต้องใช้วิธีการแยกสารมากกว่า 1 วิธี และใช้วิธีการแยกสารใดบ้าง


ิ้
(แนวค าตอบ การท าน้ าหมักชวภาพใชการตกตะกอนเพื่อตกตะกอนชนผลไม้ที่น ามาท า


น้ าหมักชวภาพ ใชการรินออกเพื่อรินเฉพาะของเหลวออกจากสารผสม และใชการกรอง

เพื่อให้ได้เฉพาะของเหลวที่ไม่มีเศษผลไม้ขนาดเล็กปนอยู่)
– ถ้าเราไม่มีแม่เหล็ก เรามีวิธีใดที่จะแยกเศษกระดาษออกจากลวดเย็บกระดาษได้
(แนวค าตอบ ท าให้เกิดแรงไฟฟ้าที่ปลายไม้บรรทัดพลาสติกเพื่อดึงดูดเศษกระดาษให้แยก
ออกมา)
– ถ้าต้องการแยกใบชาออกจากน้ าชา วัสดุกรองต้องมีลักษณะส าคัญใด
(แนวค าตอบ รูของวัสดุกรองต้องมีขนาดเล็กกว่าขนาดของใบชา)
– การรินออกใช้แยกน้ าปูนใสออกจากสารผสมได้หรือไม่ เพราะอะไร

(แนวค าตอบ ได้ เพราะปูนแดงมีขนาดใหญ่จึงตกตะกอนเมื่อตั้งทิ้งไว้ การรินน้ าปูนใสที่
อยู่ส่วนบนออกจะสามารถแยกน้ าปูนใสออกจากสารผสมได้)
3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยได้ข้อสรุปว่า เมื่อพิจารณา
ลักษณะและสมบัติของสารที่ผสมกันได้ เราก็สามารถใชวิธีการแยกสารที่เหมาะสมเพื่อ

แยกสารที่ต้องการได้
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนอ่านเรื่องในกิจกรรม 1.4 ในหนังสือเรียน จากนั้นร่วมอภิปรายกับครูและ
(Elaboration: E4) เพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ดังนี้
-จากบทความ น้าตาลมะพร้าวที่รวบรวมจากกระบอกน้ าตาลเป็นสารเนื้อเดียวหรือสาร
เนื้อผสม เพราะเหตุใด (สารเนื้อผสมเพราะมีเศษฝุ่นหรือแมลงปนอยู่ในน้ าตาลมะพร้าว)
- การท าน้ าตาลปึกมีขั้นตอนใดบ้างที่ต้องใช้วิธการแยกสารและเรียกวิธีนั้นว่าอะไร (1.เก็บ


มดและแมลงออกจากจั่นมะพร้าวเป็นวิธีการหยิบออก 2.ใชผ้าขาวบางกรองเศษฝุ่นและ
แมลงออกจากน้ าตาลมะพร้าว เป็นวิธีการกรอง 3. ตักเอาฟองออกจากน้าตาลมะพร้าว
เป็นวิธีการตักออก)
-ถ้าไม่มีการแยกเอาเศษฝุ่นหรือแมลงออก นักเรียนคิดว่าน้ าตาลปึกที่ได้จะมีลักษณะ
อย่างไร (น้าตาลปึกจะไม่สะอาดมีเศษฝุ่นและแมลงปนอยู่ในน้ าตาลปึกท าให้ไม่น่า
รับประทาน)
-ในการท าน้ าตาลปึก การแยกสารมีประโยชน์อย่างไร (ช่วยแยกสารที่ไม่ต้องการออกจาก
น้าตาลมะพร้าว ท าให้ได้น้าตาลปึกที่น่ารับประทานและปลอดภัยต่อการบริโภค)

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ หากมีเวลาอาจน ารูปสารผสมมาให้นักเรียนช่วยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการแยกสาร
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1.นักเรียนสามารถบอกวิธีการแยกสารจาก ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ ประเภทของหิน เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจาก

ู้
ตัวชี้วัด แบบจ าลอง
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของหิน ประเภทของหินหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ผ่านการ
รวบยอด เรียนรู้แบบ Active -Leaning การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม
เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ หินเป็นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป หินสามารถจ าแนกตาม
กระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบายองค์ประกอบของหินได้
2. นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายลักษณะทางกายภาพของหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือ
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. รูปสิ่งของใกล้ตัว ได้แก่ ครก แป้งทาตัว แว่นขยาย กระจก บีกเกอร์

ู้
เรียนรู้ 2. หินที่นักเรียนเตรียมมา
3. ชุดตัวอย่างหินทั้งสามประเภทได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
4. แว่นขยาย
5. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
6. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
7. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
8. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูแสดงรูปสิ่งของใกล้ตัว ได้แก่ ครก แป้งทาตัว แว่นขยาย กระจก บีกเกอร์ จากนั้น
(Engagement: E1) ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสิ่งของเครื่องใช้ใดท ามาจากหิน
2) นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งของใกล้ตัวที่ท ามาจากหิน
3) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเกิดหินและองค์ประกอบของหิน
4) นักเรียนท าส ารวจความรู้ก่อนเรียนเพื่อทบทวนความรู้พื้นฐานหน้า 64-65

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม สังเกตลักษณะของหิน ตามขั้นตอน ดังนี้
(Exploration: E2) – แต่ละกลุ่มเก็บหินในบริเวณท้องถิ่นที่มีขนาดใกล้เคียงกันมา 5 ก้อน
– สังเกตหินอย่างละเอียดด้วยสายตาหรือแว่นขยาย และชงมวลหิน บันทึกผล (ขั้นตอน บูรณาการความรู้
ั่
การชั่งมวลหิน กรณีไม่มีเครื่องชั่งอาจใช้ถ้วยยูเรก้าแล้ววัดปริมาตรน้ าที่ออกมาแทน) วิทยาศาสตร์เรื่อง
– ก าหนดเกณฑ์ที่ใชจ าแนกประเภทของหินและจ าแนกประเภทของหินตามเกณฑ์ที่ แรงลอยตัว

สมาชิกกลุ่มสร้างขึ้น บันทึกผล
– แต่ละกลุ่มน าเสนอวิธีการจ าแนกประเภทของหินหน้าห้องเรียน จากนั้นอภิปรายผล
ร่วมกัน

หมายเหต นักเรียนอาจศึกษาหรือสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหินเพิ่มเติม เชนจากเนื้อเรื่องใน

หนังสือเรียน หน้า 69-70

ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนอภิปรายร่วมกันหลังจากปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
(Explanation: E3) – ลักษณะของหินมีอะไรบ้าง (ลักษณะของหิน เช่น มีลวดลาย สี ผิวสัมผัส ความแข็ง)
– องค์ประกอบของหินมีอะไร (โดยทั่วไปมีแร่เป็นองค์ประกอบ)
– นักเรียนจ าแนกประเภทของหินเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
– เกณฑ์ที่นักเรียนใช้จ าแนกประเภทของหินคืออะไร เพราะอะไรจึงใช้เกณฑ์ดังกล่าว
– นักวิทยาศาสตร์จ าแนกหินได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง และใชอะไรเป็นเกณฑ์

(นักวิทยาศาสตร์จ าแนกหินออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
โดยใช้กระบวนการเกิดเป็นเกณฑ์ในการจ าแนก)
– เกณฑ์ที่นักเรียนใช้จ าแนกประเภทของหินแตกต่างจากนักธรณีวิทยาหรือไม่ อย่างไร
2) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ได้ข้อสรุปดังนี้
หินเป็นของแข็งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยทั่วไปมีแร่เป็นองค์ประกอบ
นักวิทยาศาสตร์จ าแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หิน
ตะกอน และหินแปร
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนปรับปรุงค าตอบเกี่ยวกับการจ าแนกหินในขั้นตอนที่ 2 จากนั้นตอบค าถามในรู้
(Elaboration: E4) หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 67

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน

หมายเหต ุ ครูมอบหมายให้นักเรียนเตรียมหินมาจากบ้าน คนละ 1 ก้อน
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบาย ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
องค์ประกอบของหินได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
2. นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายลักษณะ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
ทางกายภาพของหินอัคนี หินตะกอน และ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
หินแปร ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ สมบัติและประโยชน์ของหินแต่ละประเภท เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจาก
ู้
ตัวชี้วัด แบบจ าลอง
ว 3.2 ป. 6/2บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจ าวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเกิดและสมบัติของหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ผ่านการเรียนรู้แบบ
รวบยอด Active -Leaning การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้สามารถน า
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ สมบัติของหินทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะ และประโยชน์ของหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนได้
2. นักเรียนสามารถเล่นเกมส์ Rocks Dominoes ได้อย่างถูกต้อง
สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือ
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. ชุดเกม Rocks Dominoes http://ipst.me/10918

ู้
เรียนรู้ 2. วิดิทัศน์วิธีการเล่นเกม Rocks Dominoes http://ipst.me/11376
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
7. วิดิโอ Types Of Rockshttps://www.youtube.com/watch?v=CeuYx-AbZdo
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าประเด็นที่น่าสนใจใน Exit ticket จากคาบก่อนหน้ามาอธิบายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชอมโยง
ื่
ไปสู่การเรียนรู้
– หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรมีกระบวนการเกิดเหมือนหรือแตกต่างกัน (แนว
ค าตอบ แตกต่างกัน)


– กระบวนการเกิดหินแต่ละประเภทเกี่ยวของกับลักษณะของหินอย่างไร (แนวค าตอบ
กระบวนการเกิดที่แตกต่างกัน ท าให้หินแต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน)
– การเลือกใช้งานหินประเภทต่าง ๆ พิจารณาจากอะไร (แนวค าตอบ ลักษณะของหิน)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนเล่นเกมส์ Rocks Dominoes เพื่อศึกษาองค์ประกอบของหิน การเกิดหิน
(Exploration: E2) และสมบัติของหินแต่ละประเภท
2) นักเรียนลงมือท ากิจกรรม 1.1
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการเล่นเกม และอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการเกิด
(Explanation: E3) และลักษณะของหินอัคนี หินตะกอน และหินแปรร่วมกับครู ได้ข้อสรุปดังนี้
หินแต่ละชนิดมีกระบวนการเกิดและลักษณะแตกต่างกัน นักธรณีวิทยาจ าแนกประเภท
ของหินตามกระบวนการเกิดเป็น 3 ประเภท ดังนี้
– หินอัคนี เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืดหรือแมกมาใต้เปลือกโลก หรือเกิด
จากการเย็นตัวของลาวาบนผิวโลก เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึก ทั้งผลึกขนาดใหญ่และ
ผลึกขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้วหรือมีรูพรุน
ื่
– หินตะกอน เกิดจากการทับถมของตะกอนเมื่อถูกแรงกดทับและมีสารเชอม
ประสานจึงเกิดเป็นหิน เนื้อหินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเนื้อหยาบ
และเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกัน เกิดจากการตกผลึกหรือตกตะกอน
จากน้ าโดยเฉพาะน้ าทะเล บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้น ๆ จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หินชั้น
– หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม ซึ่งอาจเป็นหินอัคนี หินตะกอน
หรือหินแปร โดยการกระท าของความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมี เนื้อหินของหิน
แปรบางชนิดผลึกของแร่เรียงตัวขนานกันเป็นแถบ บางชนิดแซะออกเป็นแผ่นได้ บาง
ชนิดเป็นเนื้อผลึกที่มีความแข็งมาก


เราสามารถน าหินไปใชประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ เชน ท าหินประดับ
ก่อสร้าง และอุตสาหกรรมเซรามิก
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนชมวิดิทัศเกี่ยวกับการเกิดหิน บูรณาการความรู้
(Elaboration: E4) ภาษาอังกฤษ

จากนั้นจดค าศัพธ์ที่เกี่ยวข้อง

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ ครูมอบหมายให้นักเรียนเตรียมหินมาจากบ้าน คนละ 1 ก้อน

การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถอธิบายกระบวนการเกิด ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ลักษณะ และประโยชน์ของหินอัคนี หินแปร การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
และหินตะกอนได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
2. นักเรียนสามารถเล่นเกมส์ Rocks สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
Dominoes ได้อย่างถูกต้อง ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ วัฏจักรหิน เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจาก

ู้
ตัวชี้วัด แบบจ าลอง
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฏจักรหิน ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ การ
รวบยอด แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรมีการเปลี่ยนแปลงจากประเภทหนึ่งไปเป็นอกประเภทหนึ่ง หรือประเภทเดิมได้

โดยมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงคงที่และต่อเนื่องเป็นวัฏจักร
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงของหินในวัฏจักรหินจากแบบจ าลองได้
2. นักเรียนสามารถออกแบบจ าลองอธิบายวัฏจักรหินได้

สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบจ าลองวัฏจักรหิน
ู้
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เรียนรู้ 2. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
3. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
4. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
5. e-poster เรื่อง กระบวนการเกิดหินและวัฏจักรหิน
https://www.scimath.org/desktop-application/item/10925-e-poster-10925
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าประเด็นที่น่าสนใจใน Exit ticket จากคาบก่อนหน้ามาอธิบายเพิ่มเติม
ื่
(Engagement: E1) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชอมโยง
ไปสู่การเรียนรู้เรื่อง วัฏจักรหิน
– นักเรียนคิดว่าหินแต่ละก้อนมีที่มาจากแหล่งเดียวกันหรือไม่
– เพราะเหตุใด หินประเภทเดียวกันถึงมีลักษณะต่างกัน (องค์ประกอบต่างกัน)
– หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใด (หินแต่ละประเภท
สามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงจากหินประเภทหนึ่งไปเป็นหินอีกประเภทหนึ่งได้ รวมทั้ง
ยังเปลี่ยนกลับมาเป็นหินประเภทเดิมได้)

ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวัฏจักรหิน จากนั้นสรุปความรู้ที่ได้จัดท าเป็น
(Exploration: E2) แบบจ าลองวัฏจักรหิน โดยสามารถออกแบบเป็นภาพวาด แผนผัง ขึ้นอยู่กับนักเรียน

2) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน
และเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าผลงานติดภายในชั้นเรียน ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินชมผลงาน
(Explanation: E3) เพื่อน (เทคนิคGalley walk)
2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– เมื่อหินหนืดหรือแมกมาเย็นตัวลงจะเกิดเป็นหินอะไร (แนวค าตอบ หินอัคนี)
– หินที่เกิดจากการตกผลึกหรือตกตะกอนจากน้ าทะเลคืออะไร (แนวค าตอบ หินตะกอน)
– หินที่ถูกความร้อน ความกดดัน และปฏิกิริยาเคมีกระท าจนเปลี่ยนสภาพคืออะไร (แนว
ค าตอบ หินแปร)
3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมว่า หินแต่ละประเภทล้วนมี
กระบวนการเกิด การด ารงอยู่ และการเปลี่ยนแปลงอย่างสัมพันธ์กัน เนื่องจาก
กระบวนการทางธรณีวิทยาส่งผลให้หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรเกิดการเปลี่ยนแปลง
จากหินประเภทหนึ่งไปเป็นหินอีกประเภทหนึ่ง รวมทั้งยังอาจเปลี่ยนกลับมาเป็นหิน

ประเภทเดิมได้อีก หมุนเวียนเชนนี้ต่อไปเรื่อย ๆ กระบวนการดังกล่าวนี้เรียกว่า วัฏจักร
หิน โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาที่ท าให้เกิดวัฏจักรหิน ได้แก่ การหลอมเหลว การผุพัง
และการกัดเซาะและการแปรสภาพ

ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1)ครูขยายความเข้าใจเกี่ยวกับวัฏจักรหินโดยใช e-poster เรื่อง กระบวนการเกิดหิน
(Elaboration: E4) และวัฏจักรหิน เป็นสื่อเสริมเพิ่มความรู้ที่อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการเกิดหินแต่ประเภท
และกระบวนการเปลี่ยนแปลงของหินในวัฏจักรหิน


ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู
(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบาย ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของหินในวัฏจักร การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
หินจากแบบจ าลองได้ ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
2. นักเรียนสามารถออกแบบจ าลองอธิบายวัฏ สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
จักรหินได้ ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ ประเภทของแร่ เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/2 บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจ าวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้

ู้
ตัวชี้วัด
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแร่ชนิดต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ การ
รวบยอด แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ แร่แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แร่ประกอบหิน คือ แร่ที่เป็นส่วนประกอบส าคัญภายในหิน และแร่เศรษฐกิจ คือ
แร่ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ สามารถน ามาใชในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แร่โลหะและแร่

อโลหะ
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบายประเภทของแร่ได้

สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. ภาพ ครกหิน หินขัดตัว หินลับมีด ไส้กรองในตู้ปลา แผ่นหินปูพื้น ซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์ แก้วน้า กระจก ไส้
ู้

เรียนรู้ ดินสอด า เหรียญ จานกระเบื้อง เครื่องประดับ
2. ภาพแร่ดีบุก
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าประเด็นที่น่าสนใจใน Exit ticket จากคาบก่อนหน้ามาอธิบายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างของหินและแร่ ตามความ

เข้าใจของตนเอง จากนั้นรวมกลุ่มเพื่อชวยกันจ าแนกภาพสิ่งของรอบตัว โดยจ าแนก
สิ่งของที่ท ามาจากหินและแร่


ขั้นส ารวจและค้นหา 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของแร่จากนั้นชวยกันชวยกันสรุป
(Exploration: E2) แลกเปลี่ยนภายในกลุ่ม
2) นักเรียนลงมือท าแบบฝึกหัด

3) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน

และเปิดโอกาสให้
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(Explanation: E3) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– แร่ประกอบหินคืออะไร (แนวค าตอบ แร่ที่เป็นส่วนประกอบส าคัญภายในหิน)
– ยกตัวอย่างแร่ประกอบหินมา 2 ชนิด (แนวค าตอบ ควอตซ์และไมกา)
– แร่เศรษฐกิจคืออะไร (แนวค าตอบ แร่ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ สามารถน ามาใชใน

อุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้)
– ยกตัวอย่างแร่เศรษฐกิจมา 2 ชนิด (แนวค าตอบ ทองค าและเพชร)
3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมว่า แร่แบ่งเป็น 2 ประเภท
ได้แก่ แร่ประกอบหินและแร่เศรษฐกิจ
– แร่ประกอบหิน คือ แร่ที่เป็นส่วนประกอบส าคัญภายในหิน เชน หินแกรนิต

ประกอบด้วยแร่ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ ไมกา หินทรายประกอบด้วยแร่ควอตซ์ เฟลด์สปาร์
และแร่ดิน หินปูนประกอบด้วยแร่แคลไซต์ แร่ประกอบหิน ส่วนใหญ่จะกระจัด
กระจายอยู่ในเนื้อหินท าให้น าแร่ออกมาใช้ได้ยาก จึงใช้ประโยชน์ในสภาพที่อยู่ในหินและ

นิยมใชเพื่อจ าแนกชนิดของหิน แต่ถ้าเกิดปริมาณมากเป็นสายแร่ ก็สามารถน ามาใช ้
ประโยชน์ได้
– แร่เศรษฐกิจ คือ แร่ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ สามารถน ามาใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แร่โลหะ เป็นแร่ที่อยู่ในรูปของสารประกอบออกไซด์ของโลหะ

ซึ่งประกอบด้วยโลหะกับออกซิเจน ดังนั้น ก่อนน ามาใชประโยชน์จะต้องถลุงแร่ให้เป็น
สารบริสุทธิ์ก่อน และแร่อโลหะ เป็นแร่ที่มีอโลหะเป็นองค์ประกอบ การน าไปใช้ประโยชน์
ไม่ต้องผ่านการถลุงเพื่อแยกให้เป็นสารบริสุทธิ์ก่อน แต่อาจมีการแปรรูปก่อนน าไปใช ้
ประโยชน์ แร่อโลหะบางชนิดจะมีผลึกงดงาม สามารถเจียระไนและน าไปเป็น
เครื่องประดับได้ เรียกแร่ชนิดนี้ว่า รัตนชาติ
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) ครูน าภาพแร่ดีบุกมาให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นว่าเป็นแร่ชนิดใด
(Elaboration: E4)

ที่มา: http://chemistconfused.blogspot.com/p/blog-page_8475.html

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู

(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน
หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล

ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบาย ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
ประเภทของแร่ได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชั้นเรียน

ภาพประกอบการสอน

แผนจัดการเรียนรู้ สมบัติทางกายภาพของแร่ เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่

มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/2 บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจ าวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้

ู้
ตัวชี้วัด
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของแร่ ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การเรียนรู้ผ่านการ
รวบยอด ปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน
ได้
สาระการเรียนรู้ แร่แต่ละชนิดมีการเรียงตัวและธาตุที่เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน จึงท าให้แร่แต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพ
แตกต่างกัน เช่น สี สีผงละเอียด ผลึก ความแข็ง ความวาว ความโปร่งใส รอยแตก และความหนาแน่น
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบายสมบัติของแร่ได้

สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน
ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบบันทึกกิจกรรมในหนังสือเรียน
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. รูปไส้ดินสอ
ู้

เรียนรู้ 2. ฟิวเจอร์บอร์ดสีขาวและเมจิก
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
5. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
6. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าประเด็นที่น่าสนใจใน Exit ticket จากคาบก่อนหน้ามาอธิบายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) นักเรียนดูรูปไส้ดินสอ แล้วตอบค าถาม ดังนี้
– ไส้ดินสอท ามาจากอะไร (แนวค าตอบ แกรไฟต์)
– ไส้ดินสอเกี่ยวข้องกับแร่หรือไม่ ลักษณะใด (แนวค าตอบ เกี่ยวข้อง เนื่องจากแกรไฟต์
เป็นแร่ชนิดหนึ่ง)
– แร่คืออะไร (แนวค าตอบ ธาตุและสารประกอบที่มีเนื้อเดียวกัน เกิดขึ้นเองโดย
ธรรมชาติมีโครงสร้างและส่วนประกอบทางเคมีที่แน่นอน หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลง
ได้ในวงจ ากัด)

– แร่แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 2 ประเภท ได้แก่ แร่ประกอบหินและ
แร่เศรษฐกิจ)
ขั้นส ารวจและค้นหา 1) ) นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม สังเกตลักษณะทางกายภาพของแร่ ตามขั้นตอน
(Exploration: E2) ดังนี้
– สังเกตสี ความวาว และความหนาแน่นของแร่ตัวอย่าง บันทึกผล
– น าก้อนแร่ตัวอย่างขูดบนกระเบื้องผิวด้านสีขาว สังเกตสีผงละเอียดของรอยขูด บันทึก
ผล


– หาความแข็งของแร่ตัวอย่างโดยใชวัสดุที่รู้ค่าความแข็งขูดบนแร่ตัวอย่าง เชน เล็บ
เหรียญ มีดหรือตะไบ และกระจก ซึ่งมีค่าความแข็งเท่ากับ 1–2, 3, 4 และ 5–7
ตามล าดับ เมื่อขูดแร่ตัวอย่างแล้วสังเกตรอยที่เกิดขึ้น แล้วเปรียบเทียบกับมาตรฐานความ
แข็งของโมส์ บันทึกผล
– ระบุชนิดของแร่ตัวอย่างที่น ามาสังเกต โดยเปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้กับข้อมูล
แสดงลักษณะทางกายภาพของแร่
2) นักเรียนลงมือท าแบบฝึกหัด

3) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียน
และเปิดโอกาสให้
ขั้ น ก า ร อ ธิ บ า ย 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(Explanation: E3) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– เรียงล าดับความแข็งของแร่ตัวอย่างจากมากไปน้อย (แนวค าตอบ ควอตซ์ ดีบุก ไพไรต์
เฟลด์สปาร์ ฮีมาไทต์ ฟลูออไรต์ แบไรต์ แคลไซต์ และยิปซัม)
– การเปรียบเทียบความหนาแน่นของสารชนิดต่าง ๆ นิยมเปรียบเทียบกับความหนาแน่น
ของอะไร และเรียกอัตราส่วนที่ได้จากการเปรียบเทียบว่าอะไร (แนวค าตอบ นิยม
เปรียบเทียบกับความหนาแน่นของน้ า และเรียกอัตราส่วนดังกล่าวว่า ความหนาแน่น
สัมพัทธ์ของสาร)
– เรียงล าดับความหนาแน่นของแร่ตัวอย่างจากมากไปน้อย (แนวค าตอบ ดีบุก ฮีมาไทต์
ไพไรต์ แบไรต์ ฟลูออไรต์ แคลไซต์ ยิปซัม ควอตซ์ และเฟลด์สปาร์)
3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมว่า ว่า แร่ คือ ธาตุและ
ี่
สารประกอบทมีเนื้อเดียวกัน เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ มีโครงสร้างและส่วนประกอบทาง
เคมีที่แน่นอน หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ในวงจ ากัด แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แร่
ประกอบหินและแร่เศรษฐกิจ เมื่อสภาวะแวดล้อมธรรมชาติอยู่ภายใต้อุณหภูมิและความ
ดันที่เหมาะสมธาตุและสารประกอบจะตกผลึกเป็นแร่ แร่จึงเป็นส่วนประกอบของเปลือก
โลก กระบวนการเกิดแร่มีผลต่อโครงสร้างของแร่ โดยแร่แต่ละชนิดมีการเรียงตัวและธาตุ
ที่เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน จึงท าให้แร่มีสมบัติแตกต่างกัน
ขั้ น ข ย า ย ค ว า ม รู้ 1) นักเรียนไปสืบค้นสมบัติอื่น ๆ ของแร่ จากนั้นน ามาแลกเปลี่ยนในชั้นเรียนครั้งต่อไป
(Elaboration: E4)

ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใชเทคนิค Exit Ticket ในการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และเป็นข้อมูลที่ครู
(Evaluation:E5) สามารถน ามาใชในการปรับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

ได้มากยิ่งขึ้น
1) นักเรียนแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ โดยเขียนตอบลงในสมุด ดังนี้
1) นักเรียนได้ความรู้เรื่องอะไร
2) นักเรียนพบปัญหาในการเรียนหรือไม่ และนักเรียนแก้ไขอย่างไร
3) นักเรียนอยากรู้อะไรเพิ่มเติม
2) นักเรียนประเมินระดับความพึงพอใจผ่านสติ๊กเกอร์รูปคน

หมายเหต ุ
การวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าของผู้เรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่านขั้นต่ า
1. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและอธิบาย ประเมินความก้าวหน้าของ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ได้คะแนน 5 คะแนน หรือระดับ
สมบัติของแร่ได้ การเรียนรู้ ความก้าวหน้าของ คุณภาพ ปานกลาง ขึ้นไป ถือว่า
ตรวจจาก Exit Ticket การเรียนรู้ ผ่าน
สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชั้นเรียน

แผนจัดการเรียนรู้ กระบวนการเกิดซากดึกด าบรรพ์ เวลา 2 ชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกด าบรรพ์ เวลา 16 ชั่วโมง
โรงเรียน บ้านห้วยส้ม ระดับชั้นที่สอน ประถมศึกษาปีที่ 6
ผู้สอน นางสาวปัทมาภรณ์ ทองแก้ว วันที่


มาตรฐานการเรยนร/ ว 3.2 ป. 6/3 สร้างแบบจ าลองที่อธบายการเกิดซากดึกด าบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึก

ู้
ตัวชี้วัด ด าบรรพ์
สาระส าคัญ/ความคิด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเกิดซากดึกด าบรรพ์ ผ่านการเรียนรู้แบบ Active -Leaning การเรียนรู้
รวบยอด ผ่านการปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใชใน

ชีวิตประจ าวันได้
สาระการเรียนรู้ ซากดึกด าบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับรอยของสิ่งมีชวิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือ

ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏอยู่ในหิน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถสร้างแบบจ าลองและอธิบายการเกิดซากดึกด าบรรพ์ได้

สมรรถนะส าคัญของ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
ผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พ ง 1.มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการท างาน

ประสงค ์
ภาระงาน / ชิ้นงาน แบบจ าลองซากดึกด าบรรพ์
สื่อการเรยนร/แหล่งการ 1. อุปกรณ์ส าหรับสร้างแบบจ าลองซากดึกด าบรรพ์

ู้
เรียนรู้ 2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint เรื่อง หินและซากดึกด าบรรพ์
4. โปรแกรม ClassDojo ส าหรับบริหารจัดการชั้นเรียนและสรุปความรู้
5. โครงการ Project 14 ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p6/p6-sci-book1/
กระบวนการจัดการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ขั้นตอนจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการวิชา
อื่น ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ 1) ครูน าประเด็นที่น่าสนใจใน Exit ticket จากคาบก่อนหน้ามาอธิบายเพิ่มเติม
(Engagement: E1) 2) ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเกิดหิน โดยใช้คาถามว่าหิน
ประเภทใดที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนและการเชื่อมประสาน
ตะกอน (หินตะกอน)
3) ครูน ารูปก้างปลา กระดูกหมู กระดูกไก่ ซากดึกดาบรรพ์ปลา ซากดึกดาบรรพ์รอยตีน
ไดโนเสาร์ มาให้นักเรียนดูและน าอภิปราย โดยใช้ค าถามดังนี้
– จากรูปอะไรบ้างที่เป็นซากดึกด าบรรพ์
– ถ้าสัตว์เลี้ยงของนักเรียนตายแล้วน าไปฝัง นกเรียนคิดว่าสัตว์เลี้ยงของนักเรียนจะ

กลายเป็นซากดึกด าบรรพ์ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด