อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 02-02-2017 ผู้ชม 1,420

[16.5070493, 99.5200578, อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร]

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อุทยานประวัติศาสตร์

          สถานที่แห่งประวิติศาสตร์ที่ได้ยอมรับว่าเป็นหนึ่งในมรดกโลกจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาติ (UNESCO) โดยได้ประกาศได้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2534 และเป็นอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและศรีสัชนาลัยที่สร้างจากสมัยสุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร์แห่งนี้แบ่งออกเป็นโบราณสถานฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิง ซึ่งมีความแตกต่างกันในการใช้วัสดุก่อสร้าง โบราณสถานด้านตะวันออกของแม่น้ำปิงเป็นที่ตั้งเมืองกำแพงเพชร โบราณสถานสร้างด้วยศิลาแลงและมีขนาดใหญ่ ส่วนโบราณสถานฝั่งตะวันตกคือเมืองนครชุมก่อสร้างด้วยอิฐและมีขนาดเล็ก แต่รูปแบบศิลปะที่ปรากฏนั้นมีลักษณะร่วมสมัยระหว่างสุโขทัยและอยุธยา นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานนอกเมืองกำแพงเพชรหรือเขตอรัญญิก ซึ่งเป็นที่อยู่ของสงฆ์เพื่อปฏิบัติวิปัสสนาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือระยะทาง 2 กิโลเมตร

         การจัดตั้งอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
         กรมศิลปากรได้ดำเนินการคุ้มครองป้องกันโบราณสถานเมืองกำแพงเพชรและเมือนครชุม โดยการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อ พ.ศ. 2478 และ พ.ศ. 2480 ต่อมาได้ประกาศขึ้นทะเบียนกำหนดขอบเขตอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2511 ในส่วนของการขุดแต่ง บูรณะ และพัฒนาโบราณสถาน ได้เริ่มดำเนินการครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2508 จนถึง พ.ศ. 2525 กรมศิลปากรจึงได้บรรจุงานปรับปรุงโบราณสถานเมืองกำแพงเพชรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (2525 – 2529) โดยใช้ชื่อ โครงการอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร มุ่งเน้นการอนุรักษ์และพัฒนากลุ่มโบราณสถานทั้งภายในเมืองเนื้อที่ 503 ไร่ และเขตอรัญญิก เนื้อที่ 1,611 ไร่ เพื่อป้องกันมิให้ถูกทำลายหรือเสื่อมค่า พัฒนาโบราณสถาน และบริเวณเพื่อให้เป็นแหล่งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม เกิดความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ของชาติ กรมศิลปากรได้ดำเนินการเปิดอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรอย่างเป็นทางการเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 18 เมษายน พุทธศักราช 2524 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จเป็นองค์ประธาน
         โบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ยังเป็นงานสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น ทั้งในด้านการใช้วัสดุศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้าง รูปแบบทางศิลปกรรมเป็นของแท้ดั้งเดิมที่แสดงถึงฝีมือและความเชื่อของบรรพชนในอดีต ตลอดจนโบราณสถานรวมกลุ่มหนาแน่นในบริเวณป่าธรรมชาติ ซึ่งยังคงบรรยากาศพุทธสถานเขตอรัญวาสีดังเช่นในอดีต ดังนั้นคณะกรรมการมรดกโลกแห่งอนุสัญญาคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและฑรรมชาติของโลก จึงได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมืองสุโขทัยและเมืองบริวารคือ เมืองศรีสัชนาลัย และเมืองกำแพงเพชรเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในปีพุทธศักราช 2534

เวลาทำการ 08.00-17.00 น.

ค่าธรรมเนียเข้าชม         ค่าเข้าชมชาวไทย 20 บาท       ชาวต่างชาติ 100 บาท 

อัตราค่ายานพาหนะ

รถจักรยานสองล้อ  คันละ 10 บาท/คัน

รถจักรยานยนต์ คันละ 20 บาท/คัน

รถจักรยานสามล้อ คันละ 20 บาท/คัน

รถจักรยานยนต์สามล้อ คันละ 30 บาท/คัน

รถยนต์ทุกชนิด คันละ 50 บาท/คัน

คำสำคัญ : ประวิติศาสตร์ , อุทยานประวัติศาสตร์

ที่มา : http://www.oceansmile.com/N/Kampangphet/kampang.htm

รวบรวมและจัดทำข้อมูล :


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร. สืบค้น 16 ตุลาคม 2565, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=213&code_db=610002&code_type=01



อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

สะพานหินธรรมชาติ

สะพานหินธรรมชาติ มีลักษณะเป็นแท่งหินขนาดใหญ่เชื่อมติดกับหน้าผาสองข้างเข้าด้วยกัน คล้ายสะพาน มีความกว้างและความสูงประมาณ 25 เมตร ยาวประมาณ 30 เมตร เบื้องล่างมีลำธารไหลผ่านตลอดทั้งปี สภาพป่าโดยรอบเขียวชะอุ่มร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ ใกล้กับสะพานหินมีถ้ำหินงอกหินย้อยงดงาม สะพานหินธรรมชาติอยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติ ประมาณ 10 กิโลเมตร ต้องติดต่อเจ้าหน้าที่นำทางก่อนเข้าไปเที่ยวชมทุกครั้ง

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 860

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

ตลาดยังเติร์ก

ตลาดนัด Youngturks ตลาดอินดี้ที่กำแพงเพชร ตลาดแห่งนี้เป็นตลาดนัดที่มีเสน่ห์ดึงดูดผู้คนให้เดินทางมาสัมผัสกับมนตร์แปลกใหม่ของการเดินตลาดนัดที่ไม่เคยได้รับมาก่อน เป็นตลาดนัดกลางคืนที่มีคอนเซปต์ตลาดที่อินดี้มาก มีความเรียบง่ายในการจัดรูปแบบของตลาด ที่แห่งนี้จะเน้นกลิ่นอายของความเก่ามาผสมผสานกับความใหม่เข้ากันอย่างลงตัว เป็นการขับเคลื่อนให้ตัวตลาดได้มีชีวิตชีวาเพื่อให้ผู้คนแวะมาอย่างไม่ขาดสายในทุกครั้งที่ตลาดเปิด

เผยแพร่เมื่อ 30-09-2022 ผู้เช้าชม 19

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

พระบรมสารีริกธาตุ

เมื่อมาเยือนถิ่นตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล วัดแรกที่นักท่องเที่ยวต้องมาเพื่อกราบสักการะพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งอัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา และหุ่นขึ้ผึ้งจำลองหลวงพ่อหนู เป็นทีี่พึ่งทางใจประชาชนชาวตำบลนิคทุ่งโพธิ์ทะเล ตำบล จังหวัดใกล้เคียงให้ความเคารพและสักการะย่ิง วัดพัฒนานิคม (บ่อทอง) นี้ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำบลนิคมทุ่งโพธิ์ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร สำหรับเส้นทางการมากราบสักการะ พระบรมสารีริกธาตุนั้นไม่ยาก เนื่องจากติดริมทางสายหลักสายกำแพงเพชร-พิจิตร

เผยแพร่เมื่อ 06-01-2020 ผู้เช้าชม 482

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

ศาลเจ้าพ่อปึงเถ่ากง-ม่า

ผู้ศรัทธาต่อองค์ปึงเถ่ากง-ปึงเถ่าม่า เจ้าพ่อเจ้าแม่กำแพงเพชร องค์เจ้าพ่อเสือ เจ้าแม่ทับทิมและองค์เทพภายในศาลทุกองค์ ผู้ที่ได้มากราบไหว้อธิษฐานจิตต่อศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ปึงเถ่าม่า หากปรารถนาสิ่งใดจะสมหวังตั้งใจ สำเร็จรุ่งเรืองถึงลูกหลาน ร่ำรวยด้วยเงินทอง สมบูรณ์สุขด้วยลาภยศและวาสนา สุขกายใจไร้โรคาเบียดเบียนด้วยผลจากความเพียรที่ผู้กราบไหว้ได้สร้างความดีมาอย่างต่อเนื่อง ตามกำลังแห่งศรัทธาและความมีคุณธรรมอย่างเต็มเปี่ยมในจิตใจ

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,065

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อ่างเก็บน้ำคลองไพร

โครงการอ่างเก็บน้ำคลองไพรเป็นโครงการหนึ่งในโครงการพัฒนาลุ่มน้ำคลองสวนหมาก ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำของราษฎร สำนักแผนงานและโครงการ โดยกลุ่มงานวางโครงการ 4 จึงได้ทำการศึกษารายละเอียดของโครงการพร้อมทั้งจัดทำรายงานการศึกษาเบื้องต้น แล้วเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน  2545

เผยแพร่เมื่อ 30-09-2022 ผู้เช้าชม 20

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

กรมศิลปากรได้ดำเนินการคุ้มครองป้องกันโบราณสถานเมืองกำแพงเพชรและเมือนครชุม โดยการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อ พ.ศ. 2478 และ พ.ศ. 2480 ต่อมาได้ประกาศขึ้นทะเบียนกำหนดขอบเขตอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2511 ในส่วนของการขุดแต่ง บูรณะ และพัฒนาโบราณสถาน ได้เริ่มดำเนินการครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2508 จนถึง พ.ศ. 2525 กรมศิลปากรจึงได้บรรจุงานปรับปรุงโบราณสถานเมืองกำแพงเพชรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (2525 – 2529) โดยใช้ชื่อ โครงการอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร มุ่งเน้นการอนุรักษ์และพัฒนากลุ่มโบราณสถานทั้งภายในเมืองเนื้อที่ 503 ไร่ และเขตอรัญญิก เนื้อที่ 1,611 ไร่ เพื่อป้องกันมิให้ถูกทำลายหรือเสื่อมค่า

เผยแพร่เมื่อ 02-02-2017 ผู้เช้าชม 1,420

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกำแพงเพชร จัดแสดงโบราณวัตถุสมัยต่างๆ ที่ขุดค้นพบในเมืองกำแพงเพชร โดยส่วนใหญ่จะเป็น เครื่องปั้นดินเผาลวดลายปูนปั้น เครื่องสังคโลก ปูนปั้นรูปยักษ์เทวดา และมนุษย์ซึ่งใช้ประดับฐานเจดีย์ เศียรพระพุทธรูป 

เผยแพร่เมื่อ 25-02-2017 ผู้เช้าชม 969

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

หอไตรวัดคูยาง

สถานที่ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและ ศิลปกรรมท้องถิ่นกำแพงเพชรแล้ว ยังเป็นศูนย์เผนแพร่พระพุทธศาสนา เป็นสำนักเล่าเรียนพระธรรมวินัย ของพระภิกษุสามเณร และประชาชนทั่วไป เป็นสนามสอบบาลีสนามหลวงประจำจังหวัด และเป็นศูนย์รวมการปกครอง ของคณะสงฆ์จังหวัดกำแพงเพชร ต่อเนื่องมาเป็นเวลายาวนานจนถึงปัจจุบัน  

เผยแพร่เมื่อ 25-02-2017 ผู้เช้าชม 1,586

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

ถนนพระร่วง

ถนนพระร่วงเป็นถนนสายประวัติศาสตร์ที่ตัดผ่านตำบลหนองปลิง มีหลักฐานที่ชัดเจนและมีตำนานที่เล่าขานกันมานาน ว่าพระร่วงเจ้า ทรงใช้พระบาทซ้ายและพระบาทขวา กวาดให้เป็นถนนพระร่วง ตั้งแต่กำแพงเพชรไปสุโขทัย และสุโขทัยไปศรีสัชนาลัย ระยะทางประมาณ 128 กิโลเมตร นับว่าเป็นส่ิงมหัศจรรย์ ทางการก่อสร้างที่ถนนกว้างถึง 8-12 เมตร สูง 2-5 เมตร ตัดผ่านจากประตูสะพานโคม บริเวณสระมนพระราชวังโบราณของเมืองกำแพงเพชร 

เผยแพร่เมื่อ 19-04-2019 ผู้เช้าชม 2,371

อุทยานประวัติศาสตร์กําแพงเพชร ค่าเข้า

เมืองไตรตรึงษ์

เมืองไตรตรึงษ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลไตรตรึงษ์ เป็นเมืองเก่าแก่ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าไชยสิริกษัตริย์เชียงราย ซึ่งได้หนีข้าศึกจากเชียงรายลงมาสร้างเมืองนี้ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1542 ปัจจุบันโบราณสถานต่างๆ ทรุดโทรมลงมาก เหลือเพียงซากเจดีย์และเชิงเทินเท่านั้น

เผยแพร่เมื่อ 25-02-2017 ผู้เช้าชม 2,630