หนังสือขอความอนุเคราะห์ฝึกงาน จุฬา

สำหรับนิสิตที่มีความประสงค์จะขอจดหมายขอรับการฝึกงาน หรือขอรับหนังสือส่งตัวเข้าฝึกงาน จากคณะฯ เพื่อนำไปยื่นให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ให้ปฎิบัติดังนี้

1. เข้าไปที่เว็บไซต์กิจการนิสิต https://www.arts.chula.ac.th/project_web/student_affair/?page_id=866
หัวข้อดาวน์โหลด
1.1 เลือก แบบฟอร์มที่นิสิตต้องการ
1.2 เลือกดาวน์โหลดภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
1.3 ฉบับที่ 1 กรอกข้อมูลส่วนตัว
1.4 ฉบับที่ 2 ส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษากรอกข้อมูล และลงนามอิเล็คโทรนิค พร้อมติดรูปถ่ายนิสิต 1 รูป
1.5 สแกนส่งคืนมาที่เมล์ [email protected]

2. กรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มจดหมายขอความอนุเคราะห์รับนิสิตฝึกงาน ตามลิงก์ที่แนบมาพร้อมนี้ https://forms.gle/kfpehnpeLyutRTTh6

เว็บไซต์แปลงไฟล์เอกสาร https://www.ilovepdf.com/th

งานกิจการนิสิต คณะอักษรศาสตร์

หนังสือขอความอนุเคราะห์ฝึกงาน จุฬา

เรื่องล่าสุด
  • ประชาสัมพันธ์ สำนักงาน ก.พ. จะดำเนินการรับสมัครทุนรัฐบาล
  • ประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยฮ่องกงกำลังเปิดรับสมัครสำหรับปี 2023-2024
  • ทุนรัฐบาลจีน ประจำปีการศึกษา 2566/2567
  • ประชาสัมพันธ์ รับสมัครผู้เข้าร่วมแข่งขันโครงการ Chula LegalTech Year 4
  • ประชาสัมพันธ์ งานประชาสัมพันธ์ทุนการศึกษา HSK ประจำปี 2566

หมวดหมู่
หมวดหมู่

2. จดหมายส่งตัวนิสิตเข้ารับการฝึกงาน
    หลังจากหน่วยงานที่นิสิตส่งจดหมายขอความอนุเคราะห์เพื่อขอรับการฝึกงานไปแล้วนั้น ได้รับการตอบรับให้เข้ารับการฝึกงานได้ ให้นิสิตดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
    2.1 ขอรับแบบฟอร์มขอจดหมายส่งตัวฝึกงานที่ฝ่ายกิจการนิสิต
    2.2 กรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มให้ครบ ถูกต้อง และชัดเจน แล้วส่งคืนที่ ฝ่ายกิจการนิสิต
    2.3 รับจดหมายขอส่งตัวเข้ารับการฝึกงาน หลังจากยื่นแบบฟอร์ม ตามวัน – เวลาที่กำหนด และนิสิตนำจดหมายไปส่งที่หน่วยงานที่ตอบรับให้เข้ารับการฝึกงาน

3. จดหมายขอยกเลิกการฝึกงาน/จดหมายขอเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการฝึกงาน
    กรณีที่นิสิตได้ดำเนินการตาม ข้อที่ 1 และ 2 แล้ว ไม่สามารถเข้ารับการฝึกงานได้ตามวัน – เวลา ที่แจ้งไปในตอนแรก ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
    3.1 ขอรับแบบฟอร์มจดหมายขอยกเลิกการฝึกงาน /จดหมายขอเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการฝึกงานที่ฝ่ายกิจการนิสิต
    3.2 กรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มให้ครบ ถูกต้อง และชัดเจน แล้วส่งคืนที่ฝ่ายกิจการนิสิต
    3.3 รับจดหมายขอยกเลิกการฝึกงาน/จดหมายขอเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการฝึกงาน หลังจากยื่นแบบฟอร์ม ตามวัน – เวลาที่กำหนด และนิสิตนำจดหมายไปส่งที่หน่วยงานที่ตอบรับให้เข้ารับการฝึกงาน

4. การส่งคืนใบรายงานผลการฝึกงาน
    หลังจากที่นิสิตได้เข้ารับการฝึกงานครบถ้วนตามวัน – เวลาที่ยื่นขอไว้แล้ว หน่วยงานที่นิสิตเข้ารับการฝึกงานจะต้องประเมินผลการทำงานของนิสิตและส่งคืนที่ ฝ่ายกิจการนิสิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ 10330

ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
    ขอรับฝึกงาน
    หนังสือรับรองความประพฤติ
    ใบรายงานผลการฝึกงาน (ภาษาไทย)
    ฟอร์มขอจดหมายยกเลิกการฝึกงาน(ใหม่)
    ฟอร์มขอเปลี่ยนแปลงระยะเวลาฝึกงาน(ใหม่)
   

ขอให้นิสิตที่มีความประสงค์จะขอหนังสือขอความอนุเคราะห์ฝึกงานจากคณะอักษรศาสตร์ ส่งไปยังหน่วยงานต่าง ๆ กรุณาปฏิบัติดังนี้

1. เข้าไปเว็บไซต์งานกิจการนิสิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย https://shorturl.asia/AVOuI
หัวข้อดาวน์โหลด เลือก แบบฟอร์มสำหรับนิสิตขอฝึกงาน
เลือกดาวน์โหลดภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
ฉบับที่ 1 กรอกข้อมูลส่วนตัว
ฉบับที่ 2 นิสิตติดรูปถ่ายนิสิต 1 รูป ให้อาจารย์ที่ปรึกษากรอกและลงนาม นิสิตขอคืนจากอาจารย์ที่ปรึกษา (หรืออาจารย์ที่ปรึกษาจะส่งให้งานกิจการนิสิตฯ โดยตรงก็ตามแต่อาจารย์สะดวก)

อำนาจหน้าที่

     (ก) ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
     (ข) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น
     (ค) ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและ มาตรฐานการศึกษา
     (ง) ส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีความสามารถพิเศษ
     (จ) ส่งเสริมงานการแนะแนว สุขภาพอนามัย กีฬาและนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน และงานกิจการนักเรียนอื่น
     (ฉ) ส่งเสริมสนับสนุนการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
     (ช) ส่งเสริมงานกิจกรรมพิเศษและงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     (ซ) ประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมป้องกัน แก้ไข และคุ้มครองความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา รวมทั้งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
     (ฌ) ดำเนินงานวิเทศสัมพันธ์
     (ญ) ประสาน ส่งเสริมการศึกษากับการศาสนาและการวัฒนธรรม
     (ฎ) ส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทางการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น
     (ฏ) ประสานและส่งเสริมสถานศึกษาให้มีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
     (ฐ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย