วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

หมายเหตุ สำหรับสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ในกรณีเจ็บป่วย บุคคลที่สมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 หากได้รับสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลาง หรือมีสิทธิได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ก็ยังคงได้รับสิทธินั้น ๆ ได้ตามปกติ เนื่องจากสำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองในเรื่องค่ารักษาพยาบาล แต่ให้เป็นเงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลประเภทผู้ป่วยในตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ในอัตราวันละ 200 บาท ปีละไม่เกิน 30 วัน ต่อเมื่อภายในระยะเวลา 4 เดือน ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรยหรือเจ็บป่วย

Show

ประกันสังคมแจ้ง ผู้ประกันตน ม.39 ชำระเงินสมทบ งวดปัจจุบัน และย้อนหลังได้ 1 งวด ผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วิส ธนาคารธนชาต และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทั่วประเทศ

สำนักงานประกันสังคม (สปส.) แจ้ง ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ชำระเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ทั้งงวดปัจจุบัน และย้อนหลัง 1 งวด

นายจีรศักดิ์ สุคนธชาติ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

เปิดเผยว่า ปัจจุบันสำนักงานประกันสังคมได้พัฒนาปรับปรุงการรับชำระเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 39 เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินทางโดยเพิ่มช่องทางการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมให้แก่ ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 จากเดิมสามารถชำระเงินสมทบงวดปัจจุบัน และย้อนหลัง 1 งวด ได้ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ทั่วประเทศ ล่าสุด 1 ต.ค.56 นี้ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ได้ปรับปรุงระบบ ให้สามารถรับชำระเงินสมทบย้อนหลัง 1 งวด ได้ด้วย ซึ่งก่อนหน้านี้ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) รับชำระเงินสมทบผู้ประกันตนมาตรา 39 ได้เฉพาะงวดปัจจุบันเท่านั้น

การรับชำระเงินสมทบผ่านธนาคารทั้ง 3 แห่ง ดังกล่าว ผู้ประกันตนมาตรา 39 ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการชำระเงิน

หากมีข้อสงสัยสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ทั้ง 12 แห่ง จังหวัด/สาขา ที่ท่านสะดวก หรือโทร.1506 (เจ้าหน้าที่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง)

สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
โทร.1506 (บริการตลอด 24 ชั่วโมง) หรือ www.sso.go.th

 

—–

แหล่งที่มา : www.jobdst.co.th

tag

กระทรวงแรงงาน ประกันสังคม ผู้ประกันตน ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ผู้ประกันตน ม.39 สปส. สำนักงานประกันสังคม เงินสมทบ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม

สมัครออนไลน์ เข้าใช้งานได้ทันที เพียงเตรียมข้อมูลบัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรบีเฟิสต์ สมาร์ท พร้อมสมุดบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ หรือสมุดเช็คสำหรับบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน และกำหนดรหัสประจำตัว (User ID) และรหัสลับส่วนตัว (Password) ที่เว็บไซต์ธนาคารได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 7.00-22.00 น.

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เริ่มต้นการสมัครโดยเข้าเว็บไซต์บัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง

เข้าสู่เว็บไซต์ที่ 
https://ibanking.bangkokbank.com  คลิกปุ่ม เข้าสู่ระบบ จากนั้นคลิก “สมัครบริการออนไลน์”

สมัครบริการออนไลน์

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เลือกประเภทบัตรที่ใช้ในการสมัครบริการ

กรณีเลือกบัตรเอทีเอ็ม/บีเฟิสต์ สมาร์ท

กรอกหมายเลขบัตรเอทีเอ็ม และรหัสเอทีเอ็ม โดยเลือกตัวเลขบนแป้นพิมพ์ที่ปรากฏบนหน้าจอ จากนั้นกรอกตัวอักษรให้ตรงกับภาพที่ปรากฏบนหน้าจอ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เลือกประเภทบัตรที่ใช้ในการสมัครบริการ

กรณีเลือกบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพ

กรอกหมายเลขบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพ วันหมดอายุบัตร และวงเงินรวมบัตรเครดิต จากนั้นกรอกตัวอักษรให้ตรงกับภาพที่ปรากฏบนหน้าจอ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ศึกษาข้อตกลงการใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง และบัวหลวง เอ็มแบงก์กิ้ง และคลิก “ยอมรับข้อตกลงฯ”

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

กรอกข้อมูลส่วนบุคคล

ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่

 

  • เลขประจำตัวประชาชน กรณีคุณเป็นชาวไทย หรือวันเดือนปีเกิด กรณีคุณเป็นชาวต่างชาติ
  • อีเมลแอดเดรส
  • หมายเลขโทรศัพท์มือถือ

 

คลิก “ขั้นตอนต่อไป” ระบบจะส่ง SMS-OTP ไปยังหมายเลขโทรศัพท์มือถือที่ระบุไว้

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ระบุ SMS-OTP ที่ได้รับ เพื่อยืนยันการทำรายการ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

กำหนด “รหัสประจำตัว” (User ID) และ “รหัสลับส่วนตัว” (Password) สำหรับเข้าใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ดังนี้

  • “รหัสประจำตัว” (User ID) ต้องมีความยาว 6-32 ตัวอักษร
  • “รหัสลับส่วนตัว” (Password) ต้องมีความยาว 8-32 ตัวอักษร

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

การสมัครบริการเสร็จสมบูรณ์ และสามารถเข้าสู่ระบบบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งได้ทันที

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

หากคลิกที่เมนู “เข้าสู่หน้าสรุปบัญชี” ระบบจะแสดงข้อมูลบัญชีธนาคารซึ่งผูกกับบัตรที่ใช้ในการสมัครบริการโดยมีรายละเอียดดังนี้

กรณีสมัครด้วยบัตรเอทีเอ็ม/บีเฟิสต์ สมาร์ท

ระบบจะแสดงข้อมูลยอดเงินคงเหลือและยอดเงินที่ใช้ได้ของบัญชีเงินฝากซึ่งผูกกับบัตรที่ใช้ในการสมัครบริการ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

กรณีสมัครด้วยบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพ

ระบบจะแสดงข้อมูลของบัตรเครดิตใบที่ใช้ในการสมัครบริการ ดังนี้

 

  • วงเงินรวม
  • วงเงินคงเหลือ
  • ภาระหนี้รวม
  • คะแนนสะสม

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

คุณสามารถใช้ “รหัสประจำตัว” (User ID) และ “รหัสลับส่วนตัว” (Password) ในการเข้าสู่บริการบัวหลวง
ไอแบงก์กิ้งได้ทันที หรือเพื่อเปิดใช้บริการบัวหลวง เอ็มแบงก์กิ้งในครั้งแรก

หมายเหตุ:

 

คุณจะไม่สามารถสมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ผ่านเว็บไซต์ ได้ในกรณีดังนี้


หากบัตรเอทีเอ็มหรือบัตรบีเฟิสต์ สมาร์ทที่คุณใช้สมัครบริการมีบัญชีหลักเป็นบัญชีร่วม คุณสามารถติดต่อขอสมัครใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งได้ที่ธนาคารกรุงเทพสาขาที่สะดวก โดยเจ้าของบัญชีร่วมทุกคนต้องมาแสดงตน พร้อมนำบัตรประจำตัวประชาชนและสมุดบัญชีเงินฝากไปในวันสมัครบริการด้วย

 

และกรณีข้อมูลในระบบของธนาคารระบุประเภทวีซ่าของคุณเป็น “นักท่องเที่ยว” คุณจะไม่สามารถสมัครบริการผ่านเว็บไซต์ได้ ทั้งนี้ สามารถติดต่อขอสมัครใช้บริการได้ที่สาขาที่สะดวก

 

ภายหลังดำเนินการสมัครบริการเสร็จสมบูรณ์บนเว็บไซต์ คุณสามารถทำธุรกรรมทางการเงินผ่านบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งได้จากทุกบัญชีเงินฝากซึ่งผูกกับบัตรใบที่คุณใช้สมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ทั้งบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ กระแสรายวัน ประจำ และสินมัธยะทรัพย์ทวี ยกเว้นบัญชีเงินฝากที่เป็นบัญชีร่วม

 

คุณสามารถทำธุรกรรมทางการเงิน เช่น เช็กยอดเงินคงเหลือในบัญชี ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวทางบัญชีย้อนหลัง หรือสังซื้อสมุดเช็ค/อายัดเช็ค เป็นต้น และหากต้องการทำธุรกรรมทางการเงินที่ต้องใช้รหัสผ่านครั้งเดียว (OTP) เพื่อยืนยันรายการ เช่น การเพิ่มบัญชี/การโอนเงินไปยังบัญชีบุคคลอื่น หรือชำระค่าสินค้าและบริการ คุณสามารถขอใช้บริการเต็มรูปแบบที่เครื่องบัวหลวงเอทีเอ็ม หรือกรอกแบบฟอร์มคำขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง พร้อมนำบัตรประจำตัวประชาชน และสมุดบัญชีเงินฝากที่ลงทะเบียนไว้แล้วบนบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งเล่มใดเล่มหนึ่ง ติดต่อธนาคารกรุงเทพสาขาที่สะดวก

สมัครที่เครื่องบัวหลวงเอทีเอ็ม

เพียงใช้บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรบีเฟิสต์ สมาร์ท สมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ที่เครื่องบัวหลวงเอทีเอ็ม โดยเลือกเมนู “สมัครใช้บริการ” จากนั้น ทำตามคำแนะนำที่ขึ้นบนหน้าจอจนจบขั้นตอน

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

สอดบัตรแล้วกดรหัสบัตรของคุณ เลือก "ภาษาไทย" จากนั้นเลือกเมนู "สมัครใช้บริการ" จากหน้าจอเมนูหลักซึ่งจะปรากฏขึ้นเป็นหน้าแรก

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เลือก "บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง"

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ระบบจะแสดงหน้ายืนยันความประสงค์ในการสมัครใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง กรุณาเลือก "ยืนยันการทำรายการ" เพื่อดำเนินการต่อ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

กำหนด "รหัสลับแรกเข้า (PIN)" เพื่อใช้ในการเข้าสู่ระบบบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งครั้งแรก โดยระบบจะขอให้คุณยืนยันรหัสลับแรกเข้าสองครั้ง

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ระบุ "หมายเลขโทรศัพท์มือถือ" ของคุณ โดยหมายเลขโทรศัพท์มือถือดังกล่าวจะเป็นช่องทางที่ธนาคารจัดส่ง "รหัสผ่านครั้งเดียว (One Time Password - OTP)" ให้คุณใช้ยืนยันเพื่อทำธุรกรรมทางการเงินต่างๆ

หากหมายเลขโทรศัพท์มือถือที่คุณระบุไว้ไม่ถูกต้อง
คุณจะไม่สามารถดำเนินการสมัครใช้บริการบัวหลวง
ไอแบงก์กิ้งต่อจนเสร็จสมบูรณ์ได้

ตรวจสอบหมายเลขโทรศัพท์มือถืออีกครั้ง ก่อนเลือก "ถูกต้อง" เพื่อดำเนินการต่อ

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เมื่อคุณทำรายการสมัครที่เครื่องเอทีเอ็มเสร็จเรียบร้อย ระบบจะแสดงหน้าจอยืนยันการสมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งผ่านเครื่องเอทีเอ็ม พร้อมทั้งพิมพ์ใบบันทึกรายการ (ATM Slip) ที่ระบุ "รหัสประจำตัวลูกค้า (User ID)" ซึ่งระบบกำหนดให้คุณ โดยใช้เข้าสู่บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง คู่กับ "รหัสลับแรกเข้า (PIN)" ที่คุณเป็นผู้กำหนดเอง

"รหัสลับแรกเข้า (PIN)" มีอายุการใช้งานภายใน 3 วันนับถัดจากวันที่คุณสมัครบริการผ่านเครื่องเอทีเอ็ม โปรดเข้าสู่บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งผ่านทางเว็บไซต์ภายใน 3 วัน เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่สะดวกที่อาจเกิดขึ้นหากต้องเริ่มทำขั้นตอนการสมัครที่เครื่องเอทีเอ็มใหม่ทั้งหมด

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ครั้งแรก เพื่อให้การสมัครใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง เสร็จสมบูรณ์

หลังจากผ่านขั้นตอนการสมัครใช้บริการที่เครื่องเอทีเอ็มแล้ว คุณสามารถเข้าสู่เว็บไซต์ https://ibanking.bangkokbank.com เพื่อทำรายการสมัครใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งให้เสร็จสมบูรณ์ได้ง่ายๆ ด้วยขั้นตอน ดังนี้

ระบุ "รหัสประจำตัวลูกค้า (User ID)" และ "รหัสลับแรกเข้า (PIN)" (รหัสประจำตัวลูกค้าจะปรากฏอยู่ในใบบันทึกรายการหรือเอทีเอ็มสลิป และรหัสลับแรกเข้า คือ ตัวเลขที่คุณกำหนดขึ้นเอง ขณะทำการสมัครที่เครื่องเอทีเอ็ม)

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ระบบจะแสดงข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการ คลิกทำเครื่องหมาย  เพื่อแสดงว่าคุณได้อ่านและทำความเข้าใจข้อตกลงและเงื่อนไขดังกล่าวแล้ว จากนั้น คลิก "ยอมรับ" เพื่อเข้าสู่ระบบในขั้นตอนต่อไป

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

ระบบจะส่ง "รหัสผ่านครั้งเดียว (OTP)" ทาง SMS ไปยังหมายเลขโทรศัพท์มือถือของคุณตามที่ได้ลงทะเบียนไว้ที่เครื่องเอทีเอ็ม กรุณาระบุ OTP ที่คุณได้รับ และระบุ "หมายเลขบัตรประชาชน" เพื่อยืนยันตัวตน จากนั้น คลิก "ยืนยัน" เพื่อดำเนินการต่อ (กรณีผู้สมัครเป็นชาวไทย)

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

หรือระบุ OTP ที่คุณได้รับ และเลือก "วันเดือนปีเกิด" ของคุณเพื่อยืนยันตัวตน จากนั้น คลิก "ยืนยัน" เพื่อดำเนินการต่อ (กรณีผู้สมัครเป็นชาวต่างชาติ)

วิธีจ่ายประกันสังคมย้อนหลัง

กำหนด "รหัสลับส่วนตัว (Password)" ใหม่ สำหรับใช้ในการเข้าสู่บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งครั้งต่อๆ ไป แล้วคลิก "ยืนยัน" จากนั้น ระบบจะแสดงข้อมูลทางบัญชีของคุณในหน้า "รายการบัญชี"

หมายเหตุ:

คุณจะไม่สามารถสมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ผ่านเครื่องบัวหลวงเอทีเอ็มได้ในกรณีดังนี้:

หากบัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรบีเฟิสต์ ที่คุณใช้สมัครบริการมีบัญชีหลักเป็นบัญชีร่วม คุณสามารถติดต่อขอสมัครใช้บริการบัวหลวง
ไอแบงก์กิ้งได้ที่ธนาคารกรุงเทพสาขาที่คุณสะดวก โดยเจ้าของบัญชีร่วมทุกคุณต้องมาแสดงตน พร้อมนำบัตรประจำตัวประชาชนและสมุดบัญชีเงินฝากไปในวันสมัครบริการด้วย

และกรณีข้อมูลในระบบของธนาคารระบุประเภทวีซ่าของคุณเป็น "นักท่องเที่ยว" คุณจะไม่สามารถสมัครบริการที่เครื่องบัวหลวงเอทีเอ็มได้ ทั้งนี้ สามารถติดต่อขอสมัครบริการได้ที่สาขาที่คุณสะดวก

  • "รหัสลับแรกเข้า (PIN)" ที่คุณกำหนดมีอายุ 3 วันนับถัดจากวันที่คุณสมัครบริการผ่านเครื่องเอทีเอ็ม หากรหัสลับแรกเข้าหมดอายุ คุณสามารถทำการสมัครบริการ และกำหนดรหัสลับแรกเข้าใหม่ได้อีกครั้งที่เครื่องเอทีเอ็มธนาคารกรุงเทพเครื่องใดก็ได้
  • กรณีที่คุณทำใบบันทึกรายการ (ATM Slip) หาย หรือ รหัสประจำตัวลูกค้า (User ID) ที่แสดงอยู่มองเห็นไม่ชัดเจน คุณสามารถทำการสมัครบริการ และกำหนดรหัสลับแรกเข้าใหม่ได้อีกครั้งที่เครื่องเอทีเอ็มธนาคารกรุงเทพเครื่องใดก็ได้
  • ภายหลังดำเนินการสมัครบริการจนเสร็จสมบูรณ์บนเว็บไซต์แล้ว คุณสามารถทำธุรกรรมทางการเงินผ่านบริการบัวหลวง
    ไอแบงก์กิ้งได้จากทุกบัญชีเงินฝากซึ่งผูกกับบัตรใบที่คุณใช้สมัครบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ทั้งบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ กระแสรายวัน ประจำ และสินมัธยะทรัพย์ทวี ยกเว้น บัญชีเงินฝากที่เป็นบัญชีร่วม
  • ในกรณีต้องการเพิ่มบัญชีเงินฝาก บัญชีกองทุนรวม บัญชีร่วม หรือบัตรเครดิตของคุณเข้าสู่บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง คุณสามารถกรอกแบบฟอร์มคำขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลบริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง พร้อมนำบัตรประชาชน และสมุดบัญชี หรือบัตรเครดิตที่จะขอใช้บริการในบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง ยื่น ณ ธนาคารกรุงเทพสาขาที่คุณสะดวก

สมัครที่สาขาธนาคาร

เพียงพิมพ์และกรอกรายละเอียดในใบสมัครใช้บริการบัวหลวง ไอแบงก์กิ้งให้ครบถ้วน แล้วนำไปยื่นให้เจ้าหน้าที่ ณ สาขาที่คุณสะดวก (หรือติดต่อขอรับใบสมัครได้ที่สาขา) พร้อมเอกสารประกอบ ได้แก่

 

  • บัตรประจำตัวประชาชน หรือหนังสือเดินทางสำหรับชาวต่างชาติ 
  • สมุดเงินฝากสำหรับบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ หรือสมุดเช็ค
  • ใบคำขอซื้อเช็คสำหรับบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของบัญชีที่คุณต้องการทำธุรกรรมผ่านบัวหลวง ไอแบงก์กิ้ง/เอ็มแบงก์กิ้ง

 

ในกรณีลูกค้าชาวต่างชาติ จะต้องจัดเตรียมหนังสือเดินทางและหลักฐานแสดงถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย (ไม่รับเลขที่ตู้ไปรษณีย์หรือที่อยู่โรงแรม) พร้อมเอกสารแสดงตนเพิ่มเติมเพื่อประกอบการสมัครบริการ ดังนี้

 

 

ประเภทลูกค้า

เอกสารประกอบการสมัคร

ชาวต่างชาติที่มี
ถิ่นที่อยู่ถาวรในประเทศไทย

1. หนังสือเดินทาง หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่
2. ทะเบียนบ้านในประเทศไทย

ชาวต่างชาติที่มี
ใบอนุญาตทำงาน

1. หนังสือเดินทาง
2. ใบอนุญาตทำงานในประเทศไทย

ชาวต่างชาติที่ไม่มี
ใบอนุญาตทำงาน

1. หนังสือเดินทาง และ
2. เอกสารประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
2.1 หนังสือรับรองที่ออกโดย

  • สถานทูตหรือองค์กรระหว่างประเทศ
  • หน่วยงานต่างประเทศ เช่น หนังสือรับรองการรับเงินบำนาญจากหน่วยงานรัฐบาลต่างประเทศ
  • ธนาคารของผู้ขอเปิดบัญชีในต่างประเทศ ส่งผ่าน SWIFT
  • บุคคลที่ธนาคารเชื่อถือได้ เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคาร ลูกค้า ข้าราชการ ผู้บริหารบริษัทเอกชน
  • สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทยที่ธนาคารเชื่อถือได้
  • บริษัทที่ธนาคารเชื่อถือได้ เช่น หนังสือรับรองการทำงานของลูกค้าจากบริษัท กรณีลูกค้าอยู่ในระหว่างยื่นขออนุญาตทำงานและยังไม่มี Work Permit

2.2 เอกสารอื่นๆ ที่มีชื่อของลูกค้า เช่น เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ สัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด เป็นต้น

จ่ายประกันสังคมย้อนหลังทำไง

ประกันสังคมแจ้ง ผู้ประกันตน ม.39 ชำระเงินสมทบ งวดปัจจุบัน และย้อนหลังได้ 1 งวด ผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วิส ธนาคารธนชาต และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทั่วประเทศ

จ่ายประกันย้อนหลังได้ไหม

ทั้งนี้ ในการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเป็นรายเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง และจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ครั้งละไม่เกิน 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้

ประกันสังคมจ่ายล่วงหน้าได้ไหม

โดยประกันสังคม ได้ระบุว่า ผู้ประกันตนสามารถจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ถึง 12 เดือนแต่ไม่สามารถจ่ายย้อนหลังได้ *กรณีผู้ประกันตนมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบจะกี่เดือนก็ตาม ยังคงสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 อยู่ ระยะเวลาในการนำส่งเงินสมทบ

จ่ายเงินประกันสังคม ม.39 ที่ไหน

ทั้งนี้ สำนักงานประกันสังคม ขอให้ผู้ประกันตนมาตรา 39 สามารถชำระเงินสมทบผ่านธนาคาร และหน่วยบริการอื่นที่เป็นตัวแทนให้บริการชำระเงิน ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) เคาน์เตอร์เซอร์วิส ไปรษณีย์ไทย เทสโก้ โลตัส และเคาน์เตอร์ CenPay Powered by บุญเติม สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ชำระ ...