จบ ปวช ช่างยนต์ เงินเดือนเท่าไร

10,000 - 15,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


12,000 - 20,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


12,000 - 15,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


10,000 - 15,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


12,000 - 15,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


10,000 - 20,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


15,000 - 25,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์


ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


10,000 - 20,000 บาท/เดือน

กทม. (คลองเตย, สาทร, พระโขนง, บางรัก, บางนา, ห้วยขวาง)

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์

ชลบุรี ระยองและภาคตะวันออก


กทม. (มีนบุรี, ประเวศ, บางนา, สวนหลวง)

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


12,000 - 15,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


15,000 - 20,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)


15,000 - 20,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


20,000 - 30,000 บาท/เดือน

ชลบุรี ระยองและภาคตะวันออก


12,000 - 30,000 บาท/เดือน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประสบการณ์


ปวส. ย่อมาจาก อะไร ?

ปวส. ย่อมาจาก อะไร คำว่า ปวส. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยผู้ที่เรียนจบ ปวส. นั้นจะเทียบเท่าวุฒิ อนุปริญญา โดยหากไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยอีก 2 ปีในสาขาที่เกี่ยวข้องก็จะได้รับวุฒิปริญญาตรี ซึ่ง ปวส. นั้นส่วนมากจะเรียนกัน 2 ปีก็จะจบการศึกษาและไปทำงานได้ทันที โดยการเรียนสายอาชีพนั้นจะเน้นในการปฏิบัติงานเป็นหลัก และเน้นความรู้เฉพาะด้าน เช่น ปวส. ช่างยนต์ ปวส. ก่อสร้าง อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม บริหารธุรกิจ และอื่น ๆ

จบ ปวช ช่างยนต์ เงินเดือนเท่าไร


ซึ่งการเข้าศึกษาในระดับ ปวส. นั้นผู้เรียนนั้นจะต้องสำเร็จการศึกษาจากการศึกษาระดับปวช.ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ มัธยมศึกษา ปีที่ 6 ในสาขาที่เกี่ยวข้องเสียก่อน หรือใกล้เคียงถึงจะสามารถศึกษาต่อในระดับ ปวส. ได้

ปวช. นั้นเป็นการศึกษาสายอาชีพที่สามารถทำงานเฉพาะทางได้เลย เมื่อสำเร็จการศึกษาออกไป ซึ่งเมื่อเทียบกับการศึกษาในสายสามัญนั้น มัธยมปลายนั้นแทบจะทำอะไรไม่ได้ในสายงานดังกล่าว ผู้ที่จบ ปวช. และ ม.6 นั้นมี วุฒิเท่ากัน แต่ว่าถ้าเอาวุฒิ ม. 6 กับ ปวช. ไปสมัครงาน ปวช. จะได้งาน และมีความก้าวหน้ากว่า เพราะว่าทำงานได้เลยทันที และมีโอกาสได้งานทำมากกว่าการใช้วุฒิ ม.6 ไปสมัครงาน แต่ไม่สามารถเอาวุฒิ ปวช. ไปสอบเข้ามหาวิทยาลัยทั่วไปได้ เพราะว่าการเรียนในหลักสูตรนั้นแตกต่างกันนั่นเอง

ผู้ที่เรียนจบ ปวช. นั้นจะต้องไปเรียนต่อในสาขาที่เกี่ยวข้อง ในระดับ ปวส. 2 ปีก่อนถึงจะสามารถใช้วุฒิ ปวส. นั้นไปสมัครเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยที่เปิดรับวุฒิ ปวส. ซึ่งสามารถเทียบได้กับ วุฒิอนุปริญญา นั่นเองแต่ก็จะมีตัวเลือกมหาวิทยาลัยน้อยมาก ส่วนมากจะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งจะรับเทียบวุฒิ ปวส. เรียนต่ออีก 2 ปีก็จะได้วุฒิปริญญาตรี

  • สายอาชีพ จบ ม.3 > ปวช.  > ปวส.  > เรียน 2 ปี ปริญญาตรี
  • สายสามัญ จบ ม.3  > ต่อ ม.4-ม.6   > ปริญญาตรี 

ถ้าจะให้เปรียบเทียบกันง่ายๆ แบบเห็นภาพจริงก็คือ

  • ปวช. วุฒิเทียบเท่า มัธยมปลาย
  • ปวช.1 คือ ม.4
  • ปวช.2 คือ ม.5
  • ปวช.3 คือ ม.6
  • ปวส. เทียบเท่า มหาวิทยาลัย ปี 2 สำเร็จการศึกษา ไปเรียนต่อมหาวิทยาลัย 2 ปี ก็จะได้วุฒิปริญญาตรีนั่นเอง


เปรียบเทียบ ข้อดีข้อเสีย ของสายสามัญ และ สายอาชีพ

สายสามัญ

ข้อดี : เรียนสายสามัญนั้นจะดีกว่า ตรงที่สามารถเรียนต่อ ป.ตรี ได้ทุกมหาวิทยาลัย ทุกคณะ ทุกสาขา โดยเฉพาะ ม.ปลาย สายวิทย์-คณิต ที่สามารถเลือกสมัคร สอบ เรียนต่อได้ทุกสาขาวิชา ทุกคณะ โดยนักเรียนกลุ่มนี้ จะสามารถสมัครสอบเข้า มหาวิทยาลัยของรัฐชื่อดังต่าง ๆ เช่น จุฬา, ธรรมศาสตร์, เกษตร, มหิดล ฯลฯ ได้เลยถ้าสอบติด หรือผ่านการคัดเลือก หรือสามารถนำวุฒิไปสอบเป็นพนักงานราชการ สมัครงานหน่วยงานรัฐ ทหาร ตำรวจ นายสิบ
ข้อด้อย : ถ้าเรียนจบสายสามัญ ม.ปลาย แล้วไม่เรียนต่อ ป.ตรี ที่มหาวิทยาลัยนั้นหาตำแหน่งงานยากพอสมควรเพราะว่าไม่มีความรู้เฉพาะทางเหมือนอย่างสายอาชีพที่จบ ปวช. ที่จบออกมาแล้วสามารถทำงานได้เลย ซึ่งงานที่ได้ก็จะเงินเดือนไม่ค่อยดีเท่าที่ควรเช่นเป็นพนักงานเซเว่น พนักงานบริการ
ถ้าจบมัธยมปลายแล้วนั้นแนะนำให้ไปเรียนต่อปริญญาตรีต่ออีก 4 ปีในมหาวิทยาลัยรัฐหรือเอกชน จะช่วยให้ได้งานและได้เงินเดือนมากกว่า ม.6 และ วุฒิ ปวส. แน่นอน และมีโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่การงานมากกว่าวุฒิปวส. อยู่พอสมควร

สายอาชีพ

ข้อดี : ในสายอาชีพนั้น ในวุฒิ ปวช. นั้นเมื่อสำเร็จการศึกษาออกมาในสาขาต่าง ๆจะสามารถทำงานได้เลยทันที โดยจะเป็นแรงงานที่มีคุณภาพ ที่สามารถใช้ความรู้ในการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือประกอบอาชีพส่วนตัวได้ในระดับหนึ่ง แต่ถ้าต้องการเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นและความสามารถที่มากขึ้น รวมทั้งเงินเดือนที่เยอะขึ้นนั้นแนะนำว่าให้เรียนต่อในระดับ ปวส. จะดีกว่า และก็จะได้เงินเดือนดีกว่าจบ ม.ปลาย และหางานได้ง่ายกว่านั่นเอง
ข้อด้อย : แต่สำหรับ กลุ่มที่จบ ปวส.นั้นหากต้องการที่จะเรียนต่อในระดับปริญญาตรีนั้น จะมีมหาวิทยาลัยที่เป็นตัวเลือกที่ค่อนข้างจำกัด โดยจะมีพวก ราชมงคล, ม.ราม, มสธ., ม.เอกชน, สายช่าง 3 พระจอม, สายเกษตร แม่โจ้ ซึ่งมีตัวเลือกน้อยกว่าสายสามัญพอสมควร และข้อเสียของสายอาชีพที่จบ ปวส. นั่นก็คือ พอทำงานไปถึงจุดจุดหนึ่ง ทั้งตำแหน่งงาน และเงินเดือน จะตันในช่วงปลายเพราะว่าวุฒิการศึกษา มันปรับระดับให้เงินเดือนได้สูงสุดแค่นั้น ซึ่งแตกต่างจากจบปริญญาตรี ตรงที่ตำแหน่งถึงจะตันเหมือนกัน แต่ตันช้ากว่า และตันที่เงินเดือนสูงกว่า นั่นเอง ดังนั้นสำหรับคนที่จบ ปวส.แนะนำให้เรียนต่อ อีก 2 ปีให้ได้ปริญญาตรีจะช่วยให้อาชีพมีความก้าวหน้ามากขึ้น

คุณอาจจะได้ยินคนบอกว่า คนทำงานสายอาชีพนั้น หางานง่ายกว่าคนที่จบบปริญญาตรี ถูกต้องเพราะว่าคนจบ ปวส. นั้นเงินเดือนน้อยกว่าคนจบปริญญาตรี แต่อย่างลืมว่า ในสายงานเดียวกัน ตำแหน่งเดียวกัน เริ่มต้นพร้อมกัน เงินเดือน ป.ตรีสตาร์ทสูงกว่า ปวส. แน่นอน เพราะว่ามีวุฒิสูงกว่าและมีความก้าวหน้ามากกว่า ปวส.

ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ

ปวส.ช่างไฟฟ้า กับ ป.ตรี วิศวกรไฟฟ้า วิศวกร วุฒิ ป.ตรี ย่อมได้เงินเดือนสตาร์ทสูงกว่านายช่าง ปวส. และมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานมากกว่า

แหล่งข้อมูลอ้างอิง : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

http://statstd.nso.go.th/definition/projectdetail.aspx?periodId=45&defprodefId=538

จบ ปวช ช่างยนต์ ทํางานอะไรได้บ้าง

- ช่างยนต์ประจำศูนย์บริการรถยนต์และรถจักรยานยนต์ - ช่างซ่อมบำรุงประจำบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม - ช่างเทคนิคประจำบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม - ช่างซ่อมรถยนต์ประจำอู่ซ่อมรถยนต์หรือบริษัท

ช่างยนต์มีกี่ปี

ระยะเวลาในการศึกษา ๓ ปีการศึกษา สาขาวิชาช่างยนต์ เน้นการศึกษาเกี่ยวกับ งานจักรยานยนต์ งานเครื่องยนต์เล็ก งานเครื่องยนต์เบนซิน งานเครื่องยนต์ดีเซล งานส่งกำลังรถยนต์ งานเครื่องล่างรถยนต์ งานไฟฟ้ารถยนต์ งานเครื่องปรับอากาศรถยนต์ งานสีรถยนต์ งานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ การขับรถยนต์ งานบำรุงรักษารถยนต์

ปวส.ช่างยนต์เรียนอะไร

เน้นการศึกษาเกี่ยวกับ งานเครื่องยนต์เบนซิน งานเครื่องยนต์ดีเซลงานส่งกำลังรถยนต์ งานเครื่องล่างรถยนต์ งานไฟฟ้ารถยนต์ งานเครื่องปรับอากาศรถยนต์ งานสีรถยนต์ งานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ งานวิเคราะห์ปัญหาเทคนิคยานยนต์ ประสบการณ์การปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ แนวทางการประกอบอาชีพ

ช่างยนต์ต้องเรียนสายอะไรบ้าง

สาขาวิชาช่างยนต์ คือ สาขาวิชาที่เรียนเกี่ยวกับการบำรุงรักษารถยนต์ เช่น การบำรุงรักษาระบบเครื่องยนต์ ระบบเครื่องล่างรถยนต์ ระบบส่งกำลังรถยนต์ ระบบไฟฟ้าและระบบปรับอากาศรถยนต์ เป็นต้น รวมไปถึงรถจักรยานยนต์และเครื่องยนต์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันหรือใช้ในการเกษตร การเรียนในสาขาวิชาช่างยนต์นั้นจะเน้นการฝึกปฏิบัติและทฤษฎี ...