การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี

คือ “การวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุที่แท้จริง(Root Cause) ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบหรือปรากฎการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ขึ้น (Effect) ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน โดยไม่เกิดสภาพการณ์ตกหล่น และซ้ำซ้อน และไม่จินตนาการเอง”



เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาสาเหตุของปัญหา

เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาสาเหตุของปัญหาตัวอย่าง

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี


เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาด้วย (5G)

  • Genba สถานที่ / หน้างาน จริง

  • Genbutsu .. สิ่งของ/ ชิ้นงานที่เป็นตัวปัญหาจริง

  • Genjitsu สถานการณ์จริง

  • Genri ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จริง

  • Gensoku เงื่อนไขประกอบที่เกี่ยวข้อง จริง

  • เทคนิคการประยุกต์ใช้เครื่องมือ 5G กับ 5 Why

hy

why-why Analysis คืออะไร

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี

why-why Analysis เป็นเทคนิคการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุทำให้เกิดปรากฏการอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน ไม่เกิดการตกหล่น ซึ่งไม่ใช่การคิดแบบคาดเดาหรือนั่งเทียน



8D Problem Solving

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี


กระบวนการของ 8D

"8D" หมายถึง 8 วินัย (Disciplines) หรือ 8 ขั้นตอน(steps) ในการแก้ปัญหา "วินัย (Disciplines)" หมายถึง ชุดของข้อ ขั้นตอนระเบียบปฏิบัติ (อ้างอิงมาตรฐาน) สิ่งสำคัญ คือ ต้องระบุประเด็นสำคัญในแต่ละระเบียบวินัย ในขั้นตอนระเบียบปฏิบัติ 8D สามารถช่วยใช้ บริษัทฯ บรรลุความพึงพอใจของลูกค้า เมื่อเราใช้วิธีแก้ปัญหา 8D อย่างถูกต้องจะช่วยป้องกันปัญหาจากการเกิดซ้ำ ดั้งนั้นเราสามารถตอบสนองความมุ่งมั่นของเราให้กับลูกค้า


ผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram)

เป็นแผนพังที่แสดงสมมติฐานของความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุ ที่ส่งผลต่อปัญหาหนึ่งปัญหา

การพิจารณาให้มองว่าอะไรต้องแก้ไข หรือ ควรจะแก้ไข มากน้อย แค่ไหนนั่นคือสิ่งที่ต้องจัดการ หากเปรียบเทียบกับ“อริยสัจ 4” ก็คือ อะไร คือ “ทุกข์” ซึ่งหมายถึงปัญหานั่นเอง

2. การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง

      ในขั้นนี้ต้องอาศัยการรวบรวมข้อเท็จจริงให้ได้มากที่สุดเพื่อนำมาค้นหาสาเหตุของปัญหา
ซึ่งก็คือ “สมุทัย”ในความหมายของอริยสัจ

การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
      ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการแก้ปัญหาใดๆคือการรวบรวมข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ บางคนพอ เห็นปัญหาก็สรุปเลย แบบ Jump conclusion โดยไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลให้ถี่ถ้วน ส่งผลให้เกิดปัญหาใหม่อีกไม่สิ้นสุด ข้อมูลที่สมบูรณ์หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง เรียกว่า “ภาวะวิสัย” (Objective evidence) ไม่ใช่จากการปรุงแต่งใส่ไข่ด้วยอารมณ์ซึ่งมักพบบ่อยๆเรียกว่า “สักวิสัย”(Subjective evidence)

การวิเคราะห์ข้อมูล
      นำข้อมูลทั้งหมดมาแยกเป็นประเด็น โดยวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในมุมมองของ รูปธรรม คือสิ่งที่สัมผัสได้หรือ “อาการ”(Symptoms) และนามธรรม คือปัจจัยที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังที่ไม่ได้ปรากฏให้เราได้เห็น หรือ “ต้นเหตุ”( Cause) ซึ่งทุกปัญหาที่เกิดขึ้นล้วนมาจากความไม่เป็นไปตามที่ควรเป็น หรือความต้องการของมนุษย์

การค้นหาเหตุของปัญหา
      การทบทวน “อาการ” และ “ต้นเหตุ” ว่าสอดคล้องกันหรือไม่ โดยมองหลายๆมุมที่เป็นไปได้ ขั้นตอนนี้ควรทำในรูปแบบระดมสมอง เพื่อให้ได้ทุมมองที่หลากหลาย และการระบุปัญหาที่ สามารถครอบคลุมการแก้ไขให้เบ็ดเสร็จ

การสรุปประเด็นของปัญหาและสาเหตุที่แท้จริง
      เมื่อระบุปัญหาได้แล้ว นำมารวบรวมเป็นประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้อง ในขั้นตอนนี้เราจะเริ่มมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาได้แล้ว

1. การพัฒนาทางเลือก
      ได้แก่การมองหาแนวทางที่จะแก้ปัญหา ก็คือ “นิโรธ” ของอริยสัจ นั่นเอง สร้างทางเลือกหลายๆทางเอาประเด็นปัญหาที่เป็นไปได้ทั้งหมดมา หาคำตอบ และระดมแนวทางแก้ปัญหาโดยสร้างคำตอบออกมาหลายๆแนวทางที่เป็นไปได้ โดยการสร้าง Decision treeเพื่อให้เห็นหลายๆแนวทางแล้วเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
 

2. การประเมินทางเลือก
      เปรียบได้กับ “มรรค” หนทางแห่งการดับทุกข์ หรือ ปัญหา ในอริยสัจ ทบทวนทางเลือก วิเคราะห์ความเสี่ยงนำแต่ละคำตอบมาวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้ ที่อาจเบี่ยงเบนผลลัพธ์
 

3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
      ทำการเลือกวิธีแก้ปัญหาที่ให้ผลดีและครอบคลุมการแก้ปัญหามากที่สุด กำหนดผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนทรัพยากรที่ใช้
 

4. วิเคราะห์ผลที่ตามมาของการตัดสินใจโดยทำแบบทดสอบเหมือนจริง( Simulation)
 

5. การดำเนินการของการตัดสินใจ

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ

      1. การรับรู้ภาพพจน์ (Stereotyping)คือการรับรู้และมีความโน้มเอียงในการยอมรับภาพพจน์ของบุคคลทำ ให้มีผลต่อการตัดสินใจ(BIAS)ทั้งด้านบวก และด้านลบ
 

      2. การรับรู้ในทางบวก(Halo Effect) คือการรับรู้ในด้านบวกหรือด้านลบของบุคคลใดบุคคลหนึ่งมานานแล้วยอมให้ คุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งมาบดบังอีกคุณลักษณะหนึ่ง เช่น ทำดีมาทั้งปี พอทำผิดมีข้อบกพร่องก็มองข้ามไม่นำมาเป็นปัจจัยการตัดสินใจ หรือตรงกันข้าม ทำไม่ดีมาทั้งปี ทำดีแค่สามเดือนก่อนประเมินผู้ประเมินมองแต่ความดี ไม่เอาสิ่งไม่ดีมาเป็นปัจจัยในการประเมิน

ทฤษฎีเกม(Game Theory) กับการตัดสินใจ
      ทฤษฎีนี้พยายามจะคาดคะเนว่าบุคคลมีเหตุผลอย่างไรที่จะตัดสินใจภายใต้ สถานการณ์ของการแข่งขันหรือเพื่อการอยู่รอดบนความสญเสียผลประโยชน์น้อยที่ สุด เป็นทฤษฎีที่ DR. NASH ได้รับรางวัลโนเบิลไพรซและถูกนำมาประยุกต์กับ เศรษฐศาสตร์ การทหาร การแข่งขันในธุรกิจทั่วไป

      ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการตัดสินใจของบุคคลภายใต้สถานการณ์ที่แข่งขันชิงดี และบีบขั้นโดยที่ไม่ทราบความคิดของอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ต้องอาศัยพิจารณาถึงเงื่อนไขที่กำหนดผลลัพธ์ในแต่ละสถานการที่ต้องตัดสิน ใจดังนั้น ต่างฝ่ายต่างต้องเลือกทางที่สูญเสียน้อยที่สุด ซึ่งอาจไม่ใช่หนทางที่ได้ประโยชน์สูงสุดก็ได้ เช่น เกมนักโทษ (Prisoner dilemma)

นักโทษสองคนร่วมทำผิดถูกจับแยกขัง เงื่อนไขการตัดสินคือ
      1. ถ้าคนใดรับสารภาพและปรักปรำอีกคน เขาจะได้ลดโทษ
      2. ถ้าคนหนึ่งสารภาพ อีกคนปฏิเสธ คนสารภาพจะได้อิสระ คนปฏิเสธจะได้รับโทษสูงสุด
      3. ถ้าทั้งสองคนสารภาพ จะได้ลดโทษแต่ไม่ได้ปล่อยอิสระ
      4. ถ้าทั้งสองปฏิเสธ แต่ละคนจะได้รับโทษน้อยที่สุดเพราะขาดหลักฐาน

      ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ถ้าทั้งคู่ร่วมมือสัญญากันหนักแน่น น่าจะเลือกปฏิเสธทั้งคู่ แต่ว่าถ้าอีกฝ่ายเกิดสารภาพตนก็จะได้รับโทษสูงสุด ปัญหาอยู่ที่ว่า “จะไว้ใจอีกคนได้อย่างไร ?”ทำให้ข้อที่4 ซึ่งดีที่สุดก็ไม่มีใครเลือก และมักไปเลือกข้อที่ 3 ซึ่งเป็นลักษณะของ Win-Win ในยุคสงครามเย็นระหว่างรัสเซียและอเมริกาก็เช่นกัน มีการสะสมอาวุธนิวเคลีย กันโดยการขู่กันไปมา หากใครใช้ก่อนก็จะตอบโต้ทันทีความเสียหายก็จะเกิดขึ้นทั้งสองฝ่ายอย่าง เลี่ยงไม่ได้ ในที่สุด ทั้งคู่ก็เลือกวิธีลดอาวุธทั้งคู่

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหามีกี่วิธี *

5 ขั้นตอนการตัดสินใจที่ดี (Decision Making) โดยศศิมา สุขสว่าง.
กำหนดขอบเขต/ความสำคัญของการตัดสินใจ (Identity of Decision making) ... .
รวบรวมทางเลือกที่มีทั้งหมดออกมา (list the Option) ... .
ศึกษาและกำหนดขอบเขตของแต่ละทางเลือก (Rating the Option) ... .
ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Select the best solution).

การตัดสินใจแก้ปัญหาคืออะไร

“ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหา” เป็นการศึกษาเพื่อให้เราสามารถเข้าใจปัญหาและเห็น ความส าคัญของปัญหาต่าง ๆ และส่งเสริมทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยยึดหลักการที่ เหมาะสม ได้เรียนรู้การวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ของปัญหาก่อนที่จะตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ไข ปัญหานั้น ๆ รวมถึงสามารถยกระดับความสามารถในการตัดสินใจโดยใช้ ...

รูปแบบของการตัดสินใจมีกี่ประเภท

ประเภทของการตัดสินใจ สามารถจำแนกได้ 3 ลักษณะ คือ จำแนกตามจำนวนผู้ตัดสินใจ จำแนกตามโครงสร้างของปัญหาและจำแนกตามลักษณะการบริหารงานในองค์กร ดังรูป 1.2. ประเภทของการตัดสินใจ จำแนกตามจำนวนผู้ตัดสินใจ จำแนกตามโครงสร้าง

ขั้นตอนการตัดสินใจ มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

ดังนั้นจากขั้นตอนของการตัดสินใจดังกล่าวจึงสรุปได้ว่า ขั้นตอนของการตัดสินใจประกอบด้วย ขั้นตอนที่สาคัญ 6 ขั้นตอนคือ การกาหนดปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา การก าหนดทางเลือก ต่าง ๆ ที่จะใช้แก้ปัญหา การประเมินผลทางเลือกต่าง ๆ ที่ได้กาหนด การตัดสินใจเลือกที่เหมาะสมที่สุด ดาเนินการตามทางเลือกที่ตัดสินใจ และประเมินผลที่เกิด ...