ดินแบ่งออกเป็นกี่ชนิด

ดินแบ่งออกเป็นกี่ชนิด

เชื่อว่ามิตรชาวไร่ของมิตรผล ที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการอ้อยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องดินเป็นอย่างดี ดินลักษณะไหนปลูกอ้อยได้อย่างไร เมื่อดินมีปัญหาควรบำรุงรักษาหรือปรับปรุงดินอย่างไรให้อุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการปลูกอ้อย เพราะดินซึ่งปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้อ้อยเจริญเติบโตได้ดี ซึ่งดินประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แร่ธาตุ อินทรียวัตถุหรือซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย น้ำ และอากาศ

ทั้งนี้ดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกต้องดูที่หน้าดินด้วย อาทิ ดินชั้นบน หรือ ชั้นไถพรวน มีความสำคัญต่อการเพาะปลูกพืชมาก เนื่องจากรากของพืชส่วนมากจะชอนไชหาอาหาร ณ ดินชั้นนี้ ดินชั้นบนเป็นชั้นที่มีอินทรียวัตถุสูงกว่าชั้นอื่น ปกติดินชั้นบนจะมีสีเข้ม หรือคล้ำกว่าชั้นอื่น ๆ ใช้สำหรับการทำการเพาะปลูกพืชทั่ว ๆ ไป จะต้องมีความหนาตั้งแต่ 0 - 15 ซม.

สำหรับดินชั้นล่าง รากพืชของต้นไม้ยืนต้น จะมีรากชอนไชลงไปถึงชั้นนี้ได้ และมีอินทรียวัตถุน้อยกว่าชั้นบน ดังนั้นดินซึ่งมีความเหมาะสมต่อการเพาะปลูกควรต้องมีหน้าดิน รวมดินชั้นบนและดินชั้นล่าง มีความลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร

ดินแบ่งออกเป็นกี่ชนิด

คุณสมบัติของดินซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มี 3 ชนิด ได้แก่

ดินเหนียว เป็นดินมีความละเอียดมากที่สุด ยืดหยุ่นได้ดีเมื่อเปียกน้ำ เหนียวติดมือ สามารถปั้นเป็นก้อนได้ จากความเหนียวจึงทำให้พังได้ยาก อุ้มน้ำดี รวมทั้งการจับยึดและดูดธาตุอาหารของพืช ทำได้ค่อนข้างสูง จึงมีแร่ธาตุอาหารของพืชอยู่มาก เหมาะสำหรับใช้ปลูกข้าวเนื่องจากกักเก็บน้ำได้นาน

ดินทราย เป็นดินร่วน เกาะตัวกันไม่แน่น จึงทำให้ระบายทั้งน้ำและอากาศได้อย่างดีเยี่ยม แต่อุ้มน้ำได้น้อย พังทลายได้ง่าย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เนื่องจากความสามารถในการจับธาตุอาหารมีน้อย ทำให้พืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณดินทรายขาดน้ำและธาตุอาหารได้ง่าย

ดินร่วน เป็นดินค่อนข้างละเอียด จับแล้วนุ่ม มีความยืดหยุ่นพอสมควร ระบายน้ำได้ดีปานกลาง มีแร่ธาตุอาหารของพืชมากกว่าดินทราย เหมาะสำหรับใช้เพาะปลูกเป็นอย่างมาก แต่ดินร่วนแบบของแท้มักไม่ค่อยพบในธรรมชาติ แต่ก็จะพบดินซึ่งมีเนื้อดินใกล้เคียงกันเสียมากกว่า

มีดินที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืชแล้ว ก็ต้องมาดูกันว่าดินแบบไหนที่ไม่เหมาะแก่การปลูกพืช ดินที่พืชไม่ชอบคือ ดินแบบมีน้ำขังหรือดินลักษณะแน่นทึบ พืชจะไม่สามารถเติบโตได้ดีเท่าที่ควร เนื่องจากรากพืชขาดอากาศสำหรับใช้หายใจ ทำให้ไม่อาจดูดธาตุอาหารไปใช้ได้ พืชกินอาหารแบบสารละลาย ดังนั้นถ้าปราศจากความชื้นในดิน ถึงแม้จะมีธาตุอาหารอยู่มากแค่ไหน แต่พืชก็ไม่สามารถดูดขึ้นไปใช้ได้ จำเป็นต้องมีน้ำไปหล่อเลี้ยงนั่นเอง

https://www.fsepmichigan.org/

https://www.palangkaset.com/

https://chrome-effect.ru/

                        ��Ҩ�ṡ�Թ����ѡɳТͧ���ʹԹ  ����  3  ��Դ
    1
�Թ����  �繷���Сͺ���·��µ����������  70 ����  �¹��˹ѡ�����ѵ�����͹���� ��ӫ����ҹ������ҡ
    2
�Թ��ǹ    �繴Թ����Сͺ����  ����  �Ź��  ��дԹ�˹��� ���ջ���ҳ�Թ������дԹ�˹�������ҡ�ѡ       �ѧ��� �������ҡ�Ȩ֧��ż�ҹ�Թ��ǹ��ա��ҴԹ�˹���
    3
�Թ�˹���   �繴Թ��������������´��  ����������  �������������ӫ����ҹ�����  ����������㹡����л�١        �ת                      

                       �������ͧ�Թ   �·�����觴Թ�͡�� 2 ����������� ���  �Թ��鹺���дԹ�����ҧ
       1
�Թ��鹺� �繴Թ����դ����ش�����ó�  �����ҵ����ªԴ����իҡ�ת�ҡ�ѵ����������  (������) ���ת��ͧ��÷Ѻ���ѹ�����ҡ  �ѡɳТͧ���ʹԹ���մӤ�����紴Թ��Һ  ������紴Թ�բ�Ҵ�˭���ǹ��� �繴Թ�������е�͡����ԭ�Ժⵢͧ�ת
       2
�Թ�����ҧ  ����Ѵ�ҡ�Թ��鹺�ŧ� �դ����ش�����ó�����ҡ ���ʹԹ��  ��������´     �ըҧ  �繴Թ����������е�͡����ԭ�Ժⵢͧ�ת

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ชั้นดินที่อยู่ใต้รากของพืช

ดิน หมายถึง วัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการสลายตัวทางกายภาพ และทางเคมีของหินและแร่ รวมกับสารอินทรีย์ ที่เกิดจากการสลายตัวของซากพืชซากสัตว์เป็นผิวชั้นบนที่ห่อหุ้มโลก ซึ่งดินจะมีลักษณะและคุณสมบัติต่างกันไปในที่ต่างๆ ตามสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วัตถุต้นกำเนิด สิ่งมีชีวิตและระยะเวลาการสร้างตัวของดิน

ประเภทของดิน[แก้]

ดินแบ่งออกเป็นกี่ชนิด

แบ่งตามชั้นดิน (soil profile) จากบนลงล่าง ชั้นดินอินทรีย์ (O), ชั้นดินบน (A), ชั้นชะล้าง (E), ชั้นดินล่าง (B) และ ชั้นวัตถุต้นกำเนิดดิน (C) โดยมีชั้นวัตถุต้นกำเนิดดิน หรือ หินพื้น (R) อยู่ด้านล่างสุด[1]

สามารถแบ่งประเภทของดินได้ในหลายปัจจัย ดังนี้[2]

  • แบ่งตามสภาพพื้นที่ ได้แก่ ดินที่ลุ่ม (หรือเรียก ดินนา), ดินที่ดอน (หรือ ดินไร่)
  • แบ่งตามความลึกของดิน ได้แก่ ดินตื้นมาก, ดินตื้น, ดินลึกปานกลาง และดินลึก-ลึกมาก หรือแบ่งตามชั้นดิน หรือชั้นกำเนิดดิน ซึ่งมี 5 ชั้น คือ ชั้นดินอินทรีย์ (O), ชั้นดินบน (A), ชั้นชะล้าง (E), ชั้นดินล่าง (B) และ ชั้นวัตถุต้นกำเนิดดิน (C)[3]
  • แบ่งตามวัสดุที่เป็นองค์ประกอบในดิน ได้แก่ ดินอนินทรีย์, ดินอินทรีย์
  • แบ่งตามพัฒนาการ
  • แบ่งตามเนื้อดิน ได้แก่ ดินร่วน, ดินเหนียว, ดินทราย
  • แบ่งตามสมบัติ ได้แก่ ดินดี, ดินเลว

เนื้อดิน[แก้]

ดินแบ่งออกเป็นกี่ชนิด

เนื้อดิน (soil texture) คือ องค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน เป็นคุณสมบัติที่บอกถึงความหยาบหรือละเอียดของอนุภาคตะกอนหลาย ๆ ขนาดที่ประกอบขึ้นเป็น"อนุภาคของดิน" ซึ่งอนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดไม่ท่ากัน แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ขนาดใหญ่เรียกว่าอนุภาคขนาดทราย (sand) (2.0-0.05 มิลลิเมตร) ขนาดกลางเรียกว่าอนุภาคทรายแป้ง (silt) (0.05-0.002 มิลลิเมตร) และขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว (clay) (< 0.002 มิลลิเมตร)[4][1]

การรวมตัวกันของอนุภาคทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ในสัดส่วนที่แตกต่างกันทำให้เกิดเป็นเนื้อดินชนิดต่าง ๆ ขึ้น ในการจำแนกชนิดของเนื้อดินนั้นจะถือสัดส่วนร้อยละที่ประกอบของอนุภาคต่างขนาดเหล่านี้ที่มีอยู่ในดินนั้น ๆ เป็นหลัก โดยทั่วไปในประเทศไทยเนื้อดินอาจแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่มคือ ดินทราย (sandy soil) ดินร่วน (loamy soil) และดินเหนียว (clay soil)[4]

ดินทราย[แก้]

เป็นดินที่มีอนุภาคขนาดทรายเป็นองค์ประกอบอยู่มากกว่าร้อยละ 85 เนื้อดินมีการเกาะตัวกันหลวม ๆ มองเห็นเป็นเม็ดเดี่ยว ๆ ได้ ถ้าสัมผัสดินที่อยู่ในสภาพแห้งจะรู้สึกสากมือ เมื่อลองกำดินที่แห้งนี้ไว้ในอุ้งมือแล้วคลายมือออกดินก็จะแตกออกจากกันได้ แต่ถ้ากำดินที่อยู่ในสภาพชื้นจะสามารถทำให้เป็นก้อนหลวม ๆ ได้ แต่พอสัมผัสจะแตกออกจากกันทันที[4]

ดินร่วน[แก้]

เป็นดินที่เนื้อดินค่อนข้างละเอียดนุ่มมือในสภาพดินแห้งจะจับกันเป็นก้อนแข็งพอประมาณ ในสภาพดินชื้นจะยืดหยุ่นได้บ้าง เมื่อสัมผัสหรือคลึงดินจะรู้สึกนุ่มมือแต่อาจจะรู้สึกสากมืออยู่บ้างเล็กน้อย เมื่อกำดินให้แน่นในฝ่ามือแล้วคลายมือออก ดินจะจับกันเป็นก้อนไม่แตกออกจากกัน เป็นดินที่มีการระบายน้ำได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่มีความเหมาะสมสำหรับการเพาะปลูก[4]

ดินเหนียว[แก้]

เป็นดินที่มีเนื้อละเอียด ในสภาพดินแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกน้ำแล้วจะมีความยืดหยุ่น สามารถปั้นเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้ เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศไม่ดี แต่สามารถอุ้มน้ำ ดูดยึด และแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้ดี เหมาะที่จะใช้ทำนาปลูกข้าวเพราะเก็บน้ำได้นาน ติดมือง่าย[4]

แผนภาพสามเหลี่ยมเนื้อดิน[แก้]

การกำหนดชนิดของเนื้อดินมักใช้ระบบสามส่วนประกอบ (แผนภาพสามเหลี่ยม) ในการแบ่งชนิดของเนื้อดิน[5] เรียก แผนภาพสามเหลี่ยมเนื้อดิน หรือ ตารางสามเหลี่ยมเนื้อดิน (soil texture triangle) (ดังตัวอย่างของแผนภาพสามเหลี่ยมที่ด้านขวาของหน้า) ด้านหนึ่งของแผนภาพสามเหลี่ยมแทนสัดส่วนของทราย ด้านที่สองแทนสัดส่วนของดินเหนียว และด้านที่สามแทนเสัดส่วนของทรายแป้ง แมื่อทราบนสัดส่วนเป็นร้อยละของทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ในตัวอย่างดิน จะสามารถใช้แผนภาพสามเหลี่ยมในการระบุชนิดของเนื้อดินของดินตัวอย่างได้ เช่น ถ้าดินเป็นทรายร้อยละ 70 และดินเหนียวร้อยละ 10 ดินจะจัดเป็นดินทรายร่วน (loamy sand) สามารถใช้วิธีเดียวกันนี้ได้โดยเริ่มจากด้านใดก็ได้ของแผนภาพสามเหลี่ยมชนิดของเนื้อดิน และหากใช้วิธีการสัมผัสเพื่อกำหนดระบุชนิดของดิน (texture by feel method) แผนภาพสามเหลี่ยมยังสามารถให้ค่าประมาณคร่าวเกี่ยวกับสัดส่วนเป็นร้อยละของทราย ทรายแป้ง และดินเหนียวในดินได้

คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของดินสัมพันธ์กับเนื้อสัมผัส ขนาดและการกระจายของอนุภาคจะส่งผลต่อความจุของดินในการกักเก็บน้ำและสารอาหาร ดินที่มีเนื้อละเอียดโดยทั่วไปจะมีความสามารถในการกักเก็บน้ำได้สูงกว่า ในขณะที่ดินทรายจะมีช่องว่างขนาดใหญ่ที่น้ำไหลผ่านและสามารถชะล้างสารอาหารออกไปได้มากกว่า[6]

ในทางปฐพีวิทยา (ซึ่งอ้างอิงการแบ่งตามกระทรวงเกษตรสหรัฐ (USDA)) แบ่งดินออกตามสัดส่วนการกระจายตัวของอนุภาคของดินเป็น 12 ชนิด[7][1][8] คือ

  • ทราย (sands)
  • ทรายปนดินร่วน (loamy sand)
  • ดินร่วนปนทราย (sandy loam)
  • ดินร่วน (loam)
  • ดินร่วนปนทรายแป้ง (silt loam)
  • ทรายแป้ง (silt)
  • ดินร่วนเหนียวปนทราย (sandy clay loam)
  • ดินร่วนเหนียว (clay loam)
  • ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง (silty clay loam)
  • ดินเหนียวปนทราย (sandy clay)
  • ดินเหนียวปนทรายแป้ง (silty clay)
  • ดินเหนียว (clay)

อนุภาคของดิน[แก้]

อนุภาคของดินแบ่งออกเป็น 3 ชนิดโดยกว้างแล้ว ในการแบ่งอนุภาคขนาดทรายยังสามารถแบ่งย่อยเป็นอีก 4 ชนิดคือ ทรายละเอียดมาก, ทรายละเอียด, ทรายละเอียดปานกลาง ทรายหยาบ และทรายหยาบมาก[9] ซึ่งแต่ละประเทศมีการจำแนกขนาดอนุภาคของตนเองที่ไม่เท่ากัน

ประเภทของอนุภาคของดิน เส้นผ่านศูนย์กลาง (มิลลิเมตร)(อ้างอิงการแบ่งตาม USDA ) เส้นผ่านศูนย์กลาง (มิลลิเมตร)(อ้างอิงการแบ่งตาม IUSS และ WRB classification)
ดินเหนียว (clay) น้อยกว่า 0.002 น้อยกว่า 0.002
ทรายแป้ง (silt) 0.002 – 0.05 0.002 – 0.063
ทรายละเอียดมาก (very fine sand) 0.05 – 0.10 0.063 – 0.125
ทรายละเอียด (fine sand) 0.10 – 0.25 0.125 – 0.20
ทรายละเอียดปานกลาง (medium sand) 0.25 – 0.50 0.20 – 0.63
ทรายหยาบ (coarse sand) 0.50 – 1.00 0.63 – 1.25
ทรายหยาบมาก (very coarse sand) 1.00 – 2.00 1.25 – 2.00

ดินทางด้านวิศวกรรม[แก้]

ดิน เป็นวัสดุก่อสร้างพื้นฐานในงานวิศวกรรมโยธา ใช้เป็นวัสดุถมในงานก่อสร้างต่าง ๆ เช่นงานถมเพื่อยกระดับบริเวณอาคาร ถนน เขื่อน และใช้เป็นวัสดุผสมสำหรับทำอิฐหรือ ในบางกรณีอาจเพิ่มวัสดุอื่น เช่นปูนขาว เพื่อช่วยในการปรับปรุงคุณภาพดินให้มีคุณสมบัติในการรับกำลังได้มากขึ้นเพื่อผลทางด้านวิศวกรรม บางวัฒนธรรมนำดินมาปั้นเป็นตัวบ้านที่อยู่อาศัยโดยตรง

ประโยชน์ของดิน[แก้]

  • ดิน เป็นวัสดุทำเครื่องปั้นดินเผา ดินที่นำมาใช้ทำเครื่องปั้นดินเผาเป็นดินเหนียวที่มีเนื้อละเอียด
  • สามารถทำเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตได้
  • ดินมีไว้สำหรับปลูกพืช
  • เป็นแหล่งเก็บกักน้ำ

วิชาที่เกี่ยวกับดิน[แก้]

  • ปฐพีศาสตร์ (soil science)
  • ปฐพีวิทยา (pedology)
  • ปฐพีกลศาสตร์ (soil mechanics)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ดิน เก็บถาวร 2007-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ดินของประเทศไทย
  • เจาะสำรวจดิน
  • ดิน : ทรัพยากรสำคัญของเรา เก็บถาวร 2009-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ปัญหาเรื่องดิน ทางด้านการเกษตรและวิธีการแก้ไข เก็บถาวร 2015-09-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์: Earth Manual เก็บถาวร 2012-01-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • กระบวนการกำเนิดดิน และองค์ประกอบของดิน เก็บถาวร 2008-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

อ้างอิง[แก้]

  1. ↑ 1.0 1.1 1.2 "4. ธรณีประวัติ - :: โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ::". sites.google.com.
  2. "::ประเภทของดิน::". osl101.ldd.go.th.
  3. "สมบัติของดิน". 119.46.166.126.[ลิงก์เสีย]
  4. ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "::สมบัติทางกายภาพ : เนื้อดิน::". osl101.ldd.go.th.
  5. Soil Survey Division Staff (1993). Soil survey manual. United States Department of Agriculture. pp. 63–65. สืบค้นเมื่อ 30 August 2014.
  6. Lindbo, Hayes, Adewunmi (2012). Know Soil Know Life: Physical Properties of Soil and Soil Formation. Soil Science Society of America. p. 17. ISBN 9780891189541.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  7. Soil Science Division Staff. 2017. Soil survey sand. C. Ditzler, K. Scheffe, and H.C. Monger (eds.). USDA Handbook 18. Government Printing Office, Washington, D.C.
  8. "หิน (Rocks)". web.archive.org. 2005-12-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-12-14. สืบค้นเมื่อ 2022-02-17.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  9. "Page 70 - แนวทางการศึกษาดินตัวแทนหลักสำหรับพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย". e-library.ldd.go.th.

อนุภาคของดินแบ่งออกเป็นกี่ขนาด

เนื้อดิน เป็นสมบัติที่บอกถึงความหยาบหรือละเอียดของชิ้นส่วนเล็กๆ ของดิน ที่เราเรียกว่า “อนุภาคของดิน” ซึ่งอนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดไม่ท่ากัน แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ขนาดใหญ่เรียกว่าอนุภาคขนาดทราย (2.0-0.05 มิลลิเมตร) ขนาดกลางเรียกว่าอนุภาคขนาดทรายแป้ง (0.05-0.002 มิลลิเมตร) และขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว (< 0.002 ...

ดินชนิดใดที่สามารถอุ้มน้ำได้ดีที่สุด

#ดินเหนียว >> น้ำสามารถไหลผ่านดินเหนียวออกมาได้น้อย เพราะดินเหนียวอุ้มน้ำไว้ได้มาก

ดินลูกรังจัดเป็นดินประเภทไหน

ดินลูกรัง (Skeletal soils) หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นหินพื้นในระดับตื้นกว่า ๕๐ เซนติเมตร จากผิวดิน เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนถึง ดินร่วนปนทราย อาจพบกรวด หินมนเล็ก หรือเศษหินปะปน จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช ดินลูกรังเป็นดิน ที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ จากผลการสำรวจพบว่า ...

ดินดานคือดินอะไร

ดินดาน หมายถึง ชั้นดินที่อัดตัวแน่นทึบ หรือชั้นที่มีสารเชื่อมอนุภาคของดินมาจับตัวกันแน่นทึบ และแข็งเป็นแนวขนานกับหน้าดินที่ความลึกแตกต่างกันไปจนเป็นอุปสรรคต่อการซอนไซของรากพืช การไหลซึมของน้ำและการถ่ายเทอากาศ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช โดยสาเหตุของการเกิดชั้นดาน อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยเกิดจาก ...