ความแปรผันทางพันธุกรรม มีกี่ประเภท

               ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อๆไปได้หลายลักษณะ ซึ่งแต่ละลักษณะที่แสดงออกต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยสองประการ คือ ปัจจัยภายใน ได้แก่      ฮอร์โมน และระบบประสาท ถือเป็นอิทธิพลจากพันธุกรรม ส่วนปัจจัยภายนอก เช่น อากาศ แสงสว่างอุณหภูมิ เป็นต้น ถือเป็นอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ และเป็นลักษณะที่มีอิทธิพลจากพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น หมู่เลือด แต่ลักษณะที่มีอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมอย่างเดียวนั้นยังไม่ชัดเจน เนื่องจากลักษณะทุกอย่างต้องมีอิทธิพลจากพันธุกรรมด้วย

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ความแปรผันทางพันธุกรรม มีกี่ประเภท

ความแปรผันทางพันธุกรรม มีกี่ประเภท

ความแปรผันทางพันธุกรรม มีกี่ประเภท

     ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน โดยมีการสืบพันธุ์เพื่อให้สามารถดำรงเผ่าพันธุ์ให้คงอยู่ได้ ซึ่งลักษณะที่มีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นนี้เรียกว่า พันธุกรรม (heredity) และวิชาที่ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพันธุกรรมเรียกว่า พันธุศาสตร์ (genetics) โดยความรู้ทางพันธุศาสตร์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน เช่น การวางแผนครอบครัวในการมีบุตรเพื่อป้องกันการให้กำเนิดเด็กที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรม การให้เลือดแก่ผู้ป่วยการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์

ลักษณะทางพันธุกรรม

     หากนักเรียนสังเกตสิ่งมีชีวิตรอบตัวเอง เช่น สมาชิกในครอบครัว สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ จะพบว่ามีลักษณะบางอย่างของสิ่งมีชีวิตที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกับสิ่งมีชีวิตรุ่นก่อน ๆ ลักษณะที่ถูกถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง โดยอาจมีการแสดงออกหรือไม่แสดงออกของลักษณะนั้น ๆ ในแต่ละรุ่นก็ได้ เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic characteristics) ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์สามารถถ่ายทอดได้โดยผ่านทางการสืบพันธุ์ ดังนั้นลูกที่เกิดมาจึงได้รับลักษณะทางพันธุกรรมมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่ง

     สำหรับบางลักษณะที่พบในสิ่งมีชีวิตอาจไม่ใช่ลักษณะทางพันธุกรรม แต่เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อม เช่น แผลเป็นที่เกิดจากสุนัขกัด สันจมูกที่โด่งขึ้นจากการทำศัลยกรรมการวิเคราะห์ว่าลักษณะใดเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมนั้น สามารถดูได้จากการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในหลาย ๆ รุ่น เพราะบางลักษณะอาจไม่ปรากฏในรุ่นลูกแต่อาจปรากฏในรุ่นหลานได้ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

     1) ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)

เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่แยกความแตกต่างได้ไม่ชัดเจน ซึ่งเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมร่วมกับสิ่งแวดล้อม เช่น ความสูง โครงร่าง สีผิว สติปัญญา สีของม่านตา

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation) from พัน พัน

สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันย่อมมีลักษณะทางพันธุกรรมคล้ายคลึงกันมากกว่าสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันหรือสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีลักษณะคล้ายกันมีความแตกต่างกันน้อยกว่าสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน ความแตกต่างเหล่านี้เนื่อจากพันธุกรรมที่แตกต่างกัน  ลักษณะทางพันธุกรรม จำแนกได้ 2 ประเภท

1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง (CONTINUOUS VARIATION) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความลดหลั่นกันทีละน้อย สามารถนำมาเรียงลำดับกันได้ เช่น ความสูง น้ำหนัก สีผิว เป็นต้น เป็นลักษณะทางปริมาณ
 2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง (DISCONTINUOUS VARIATION) เป็นลักษณะที่แบ่งเป็นกลุ่ม ได้อย่างชัดเจน เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้น เป็นต้น เป็นลักษณะทางคุณภาพ

 ข้อสังเกต โดยทั่วไป ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง เช่น สีผิว นั้นสิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลต่อการ แสดงลักษณะในสัดส่วนที่มากกว่าลักษณะที่มีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น หมู่เลือด

    2.ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง < Discontinuous variation > เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนและจำแนกชนิดของลักษณะที่ปรากฎให้เป็นหมู่ได้ง่ายถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่ไม่แปรผันโดยอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมเป็นลักษณะทางคุณภาพ < Quntitative trait > ตัวอย่าง เช่น ความสามารถในการห่อลิ้น / การถนัดมือซ้าย มือขวา / จำนวนชั้นของหนังตา / การมีลักยิ้ม / ลักษณะผิวปกติ – ผิวเผือก / พันธุกรรมของหมู่เลือด / การมีติ่งหู – ไม่มีติ่งหู    ฯลฯ    

ความแปรผันทางพันธุกรรมมี 2 ประเภท คืออะไรบ้าง

ความแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรม แยกความแตกต่างได้ชัดเจน ลักษณะพันธุกรรมเช่นนี้ มักเกี่ยวข้องกันทางด้านปริมาณ เช่น ความสูง น้ำหนัก โครงร่าง สีผิว ลักษณะทีมีความแปรผันต่อเนื่องเป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน 2. ลักษณะที่มีความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง

การแปรผันมีกี่ประเภท

การแปรผัน (variation) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณหรือมากกว่านั้น เมื่อปริมาณหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป อีกปริมาณหนึ่งจะเปลี่ยนตามไปด้วย อย่างได้สัดส่วนกัน สามารถแบ่งการแปรผันออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. การแปรผันตรง (direct variation) 2. การแปรผกผัน (inverse variation) 3. การแปรผันเกี่ยวเนื่อง (joint variation)

สติปัญญาเป็นการแปรผันแบบใด

2) ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่แยกความแตกต่างได้ไม่ชัดเจน ซึ่งเกิดจากอิทธิพลทางพันธุกรรมร่วมกับสิ่งแวดล้อม เช่น ความสูง โครงร่าง สีผิว สติปัญญา สีของม่านตา

อะไรบ้างที่เป็นลักษณะทางพันธุกรรม

ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) เป็นลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด เช่น ลักษณะจมูกโด่ง จมูกแบน ผมหยิก ผมตรง ผิวดา ผิวขาว ตาชั้นเดียว ตาสองชั้น ลักษณะ ดังกล่าวมักมีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่หรือญาติ ลักษณะเหล่านี้จึงสามารถถ่ายทอดมาจากพ่อ แม่ เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม