ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

    1. ประเภทของนโยบายการคลัง  จำแนกตามลักษณะปัญหาเศรษฐกิจ
  1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการตั้งนโยบายขาดดุล การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติจะเพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลจะใช้นโยบายดังกล่าวในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ ที่จะทำให้เกิดภาวการณ์จ้างงานเต็มที่ได้
  2. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี หรือการตั้งงบประมาณเกินดุล เพื่อให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่การลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ
    1. การใช้นโยบายการคลังในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

การใช้นโยบายการคลังที่ใช้ขจัดช่วงห่างเงินเฟ้อ

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

นโยบายการคลังที่ใช้ในการแก้ปัญหาเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น คือ การลดการใช้จ่ายของรัฐบาล / การเพิ่มอัตราภาษี  ซึ่งมาตรการทั้งสองประการที่นำมาใช้ จะส่งกระทบต่อความต้องการใช้จ่ายมวลรวม  (DAE) แตกต่างกัน พิจารณาได้ ดังนี้

Show

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง


ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง


ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง


นโยบายการคลัง คือ นโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและการหารายได้ของรัฐบาล นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือสำคัญเครื่องมือหนึ่งในการทำงานของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่ได้กำหนดไว้

 

วัตถุประสงค์ของนโยบายการคลัง

  1. ส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐบาลให้มีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดี จัดสรรทรัพยากรในสัดส่วนที่ทำให้สังคมได้รับสวัสดิการและมีประสิทธิภาพสูงสุด รัฐสามารถจัดหาสินค้าและบริการสาธารณะ (Public goods and service) ในปริมาณและคุณภาพตรงกับความต้องการของประชาชน

  2. ส่งเสริมการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม แต่ละกลุ่มจะได้รับประโยชน์และภาระที่เป็นธรรม นโยบายการคลังจะนำไปสู่การปรับปรุงการกระจายรายได้เบื้องต้นของประชาชนให้ทัดเทียมกัน

  3. เสริมสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รัฐบาลสามารถใช้นโยบายการคลังเพิ่มการใช้จ่ายและขยายการลงทุนในภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาด้านสาธารณูปโภคเพื่ออำนวยความสะดวกแก่การลงทุนและการผลิตของภาคเอกชน

  4. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลังสามารถใช้ในการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพในตลาดเงิน และความสมดุลในบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

เป้าหมายทางด้านเศรษฐกิจมหภาคของรัฐบาล เช่น

  • การเพิ่มระดับการจ้างงาน
  • รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ

 

นโยบายคลังมี 2 ประเภทคือ 

  1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal policy) คือการที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ของรัฐบาลหรือการตั้งงบประมาณแบบขาดดุลซึ่งรัฐบาลมีความต้องการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ การใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัวจะใช้เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยหรือเกิดภาวะเงินฝืดและรัฐบาลต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เจริญเติบโต
  2. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy)  คือการที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ของรัฐบาลคือการตั้งงบประมาณแบบเกินดุลรัฐบาลต้องการดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ รัฐบาลจะใช้นโยบายนี้เมื่อเกิดปัญหาเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจและรัฐบาลต้องการชะลอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ

 

นโยบายการคลังประกอบด้วย 

  1. การเก็บภาษีอากร
  2. การใช้จ่ายของรัฐบาล
  3. การก่อหนี้สาธารณะ
  4. การบริหารเงินคงคลัง

แบ่งปัน

Facebook

Twitter

WhatsApp

Email

LINE

บทความก่อนหน้านี้

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (Bank of Japan)

บทความถัดไป

RSI (Relative Strength Index) คืออะไร ? อ่านค่าอย่างไร ?

RELATED ARTICLES

KNOWLEDGE

พื้นฐานการอ่านกราฟแท่งเทียน รูปแบบแท่งเทียนที่จำเป็นต้องรู้

กันยายน 20, 2022

KNOWLEDGE

Leverage คืออะไร และ ควรใช้ในตลาด Forex อย่างไรดี ?

กันยายน 17, 2022

KNOWLEDGE

PMI คืออะไร และ มีความสำคัญอย่างไร ?

กันยายน 14, 2022

- Advertisment -

Technical Summary Widget Powered by Investing.com

0

ANALYSIS TODAY

วิเคราะห์ ทองคำ ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน EURUSD ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน GBPUSD ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน USDJPY ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน USDCAD ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน USDCHF ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน AUDUSD ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

วิเคราะห์คู่เงิน NZDUSD ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2565

ธันวาคม 23, 2022

โหลดเพิ่มเติม

ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
Exness เป็นโบรกเกอร์ที่ได้รับรางวัลในระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นผู้ถือใบอนุญาตในประเทศเซเชลส์ ไซปรัส และ สหราชอาณาจักร นักลงทุนนิยมใช้บริการมากที่สุดExnessBrokers Recommendedดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
IC Markets โบรกเกอร์จาก ประเทศออสเตรเลีย มีประสบการณ์มากว่า 15 ปี เสปรดเริ่มต้น 0.0 pips, ไม่มีการรีโควต ,ระบบซื้อขายดีมาก มีความมั่นคงสูง ฝาก-ถอน รวดเร็วicmarketsBrokers Recommendedดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
Xm ซื้อขายตราสารกว่า 1000 ตัว ช่น ฟอเร็กซ์ และ CFD ของสกุลเงินดิจิทัล, หุ้น, สินค้าโภคภัณฑ์, ดัชนีหุ้น, โลหะ และพลังงาน มั่นคง ฝากถอนรวดเร็วXmBrokers Recommendedดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ประเภทของนโยบายการคลังมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
Litefinance ครอบคลุมการเทรดที่หลากหลาย เช่น Forex Gold Cryptocurrencies ฯลฯ สเปรดการซื้อขายค่อนข้างต่ำ ดำเนินคำสั่งซื้อขายรวดเร็ว มีความมั่นคงสูงLitefinanceBrokers Recommendedดูรายละเอียดเพิ่มเติม

ข้อใดคือประเภทของนโยบายทางการคลัง

นโยบายการคลังใช้เครื่องมือ 3 ชนิด 1. นโยบายภาษีอากร (Tax Policy) 2. นโยบายงบประมาณ (Budget Policy) 3. นโยบายบริหารหนี้สาธารณะ (Public Debt Management Policy)

นโยบายการคลังเป็นนโยบายที่เกี่ยวกับเรื่องใด

นโยบายการคลัง หมายถึง นโยบายการใช้งบประมาณของรัฐ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายทางด้านเศรษฐกิจมหภาค – อาทิ เพิ่มระดับการจ้างงาน – รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ – เพิ่มระดับการจ้างงาน รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ กระตุ้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และลดความเหลื่อมล ้าในการกระจาย

งบประมาณแผ่นดิน 3 ประเภทได้แก่อะไรบ้าง

1.งบประมาณสมดุล(Balanced Budget) 2.งบประมาณขาดดุล(Deficit Budget) 3.งบประมาณเกินดุล(Surplus Budget)

นโยบายการคลังแบบหดตัว มีอะไรบ้าง

สินค้าและบริการของผู้ผลิตขายไม่ออกระดับการว่างงานภายในประเทศสูง นโยบายการคลังแบบหดตัว คือ นโยบายการคลังที่ 1. ลดรายจ่ายของภาครัฐบาล 2. เพิ่มอัตราภาษี 3. ใช้งบประมาณแบบเกินดุล ใช้เมื่อ ภาวะเศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป เกิดภาวะเงินเฟ้อ