Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง

Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง

 

������ (Topology)

       ������ ���¶֧ �ٻẺ��èѴ�ҧ���������� �ػ�ó���������� ����Թ����ѭ�ҳ����֧���������¹����������͢��¤��������� ��觨С���Ƕ֧� 2 �ѡɳ� ��� �����շҧ��á� (logical topology) ��������շҧ����Ҿ (physical topology)
       �����շҧ����Ҿ ���¶֧����������������������������͢��¨�ԧ � �����Ҩ��繤��������� ����������� ����繡��������§�ҧǧ������硷�͹ԡ��
       ��ǹ�����շҧ��á� ���ʴ��֧���������§�����ҧ�ػ�ó��ҧ� �ͧ���͢�������ѡɳТͧἹ�Ҿ ����繡���ͧ����Ըա���觢������������͢�����������ҧ�� ������Ẻ˹���Ҩ���Ѻ����좹Ҵ�˭���� ���աẺ�Ҩ����������Ѻ����Ѻ����좹Ҵ��硷�������Һ��� � ��� ��õԴ��������ҧ����ͧ�������������͡���Ѻ�觢�������дѺ�������ѭ�ҳ俿�� ���ѭ�ҳ������觺����͡�ҧ����������ͤ�����������Ҵ��¡ѹ ���ѭ�ҳ�Ҩ������鹷ҧᵡ��ҧ�ѹ仢������Ѻ����������ͧ͢���͢�����������ҧ��
       ��õԴ������͢�������ǹ�˭��ѡ���������շҧ����Ҿ ��зҧ��áз���ʹ���ͧ�ѹ ����պҧͧ��÷����ᵡ��ҧ�ѹ� �� �������շҧ��á�Ẻǧ��ǹ ��ҧ����ҾẺ��� �繵�

 

           คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย มีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ ความเหมาะสมเทคโนโลยีการออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า รูปร่างเครือข่าย” (Network Topology) เมื่อพิจารณาการเชื่อมโยงถึงกันของอุปกรณ์สำนักงานที่ใช้ต่างๆ หากต้องการเชื่อมต่อถึงกันโดยตรงจะต้องใช้สายเชื่อมโยงมาก

ลักษณะการใช้งานของเครือข่าย สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ

1.โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)

– มีการเชื่อมต่อแบบเส้นตรง เชื่อมต่อง่ายและไม่ซับซ้อน โดยจะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน โดยจะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง

ข้อดีคือ – เชื่อมต่อง่าย

– ระบบไม่ซับซ้อน

– ประหยัดสายสัญญาณและค่าใช้จ่าย

– เพิ่มเติมปริมาณเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ง่าย

– ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่

ส่งผลต่อการทำงานระบบโดยรวม

ข้อเสียคือ เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อโดยใช้สัญญาณเดียว

– เมื่อสายสัญญาณเสียหายจุดใดจุดหนึ่งจะส่งผลให้เครือข่าย

จะไม่ทำงานได้ทันที

– หาข้อผิดพลาดในการชำรุดได้ยาก

Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง
โครงสร้างเครือข่ายแบบ bus

2.โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)

– มีลักษณะของการเชื่อมต่อเป็นรูปวงแหวนหรือวงกลม สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว โดยจะใช้ลักษณะ การส่งต่อข้อมูล เมื่อการส่งข้อมูลเรียบร้อย จะแจ้งไปยังเครื่องอื่นๆ ว่าสายสัญญาณว่าง เพื่อให้เครื่องอื่นทำการส่งข้อมูลต่อไป

ข้อดีคือ – ประหยัดสายสัญญาณ

– ทำการติดตั้งในเครือข่ายสามารถทำได้ง่าย และใช้สายเคเบิลน้อย

– การส่งข้อมูลมีผลเท่าเทียมกัน

– ไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง

ข้อเสียคือ – ถ้าสายสัญญาณช่วงใดช่วงหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบเครือข่าย

ทั้งหมดไม่สามารถทำงานได้ทันที

– การตรวจสอบเมื่อเกิดความผิดพลาดทำได้ยาก

Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน

3.โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology)

มีอุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายคือ “ฮับ (Hub)” เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อเครือข่าย

คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้าไปยังฮับ เป็นแบบการกระจาย ถ้าหากจะส่งข้อมูล ข้อมูลจะต้องผ่านฮับก่อน ฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางต่างๆ

ข้อดีคือ – จัดการระบบง่าย

– จับหาข้อผิดพลาดง่าย

– เครือข่ายคงทนสูง

– ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำได้ง่าย

และไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ

ข้อเสียคือ – สิ้นเปลืองสัญญาณ

– ต้องมีการจำกัดจำนวนคอมพิวเตอร์ที่จะนำมาเชื่อมต่อ

– ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง

– มื่อฮับไม่ทำงาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย

Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง
โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว

4.โครงสร้างเครือข่ายแบบเมซ (Mesh Topology)

เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่สมบูรณ์ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายเชื่อมต่อถึงกันได้ทั้งหมดด้วยสัญญาณ เป็นอิสระในการส่งข้อมูล ถ้าเส้นทางหลักเกิดความเสียหาย จะลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ทำให้ระบบนี้มีประสิทธิภาพและมีความน่าเชื่อถือสูง ลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน

ข้อดีคือ – ถ้าสายสัญญาณเกิดความเสียหายก็ไม่ส่งผลต่อการส่งข้อมูลเพราะมีเส้นสำรองเพื่อส่ง

ข้อมูลและสามารถระบุจุดที่ระบบเสียหายได้ทันที

– เกิดความรวดเร็วในการส่งข้อมูล เนื่องจากเดินทางได้หลายทาง

– มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูลสูง

– โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการสื่อสารก็เป็นแบบพื้นฐานไม่ซับซ้อนมากนัก

– สามารถรับส่งข้อมูลได้ปริมาณมาก

– ไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการการจราจรในสื่อส่งข้อมูล

– มีความทนทานต่อความเสียหายเมื่อสื่อส่งข้อมูลหรือสายใดสายหนึ่งเสียหายใช้การ

ไม่ได้ ไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายโดยรวม แต่เกิดเสียหายเฉพาะเครื่องต้นสายและ

ปลายสายเท่านั้น

– มีความปลอดภัยหรือมีความเป็นส่วนตัว เพราะ ใช้สายระหว่าง 2 เครื่องเท่านั้น

ข้อเสียคือ – ทำให้สิ้นเปลืองสายสัญญาณมาก และใช้ต้นทุนมาก

– มีความซับซ้อนในการเชื่อมต่อเครือข่าย

– ใช้อินพุดและเอาต์พุดมากในการต่อ

Topology ของ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ มี กี่ แบบ อะไร บ้าง

โครงสร้างเครือข่ายแบบตาข่าย

นอกจากโครงสร้างทั้ง 4 ประเภทที่ได้กล่าวมาแล้ว ได้นำรูปแบบของโครงสร้างหลายๆ รูปแบบผสมผสานให้เกิดเป็นโครงสร้างเครือข่ายขึ้นอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า “ไฮบริดจ์” เป็นการนำโครงสร้างเครือข่ายหลายรูปแบบมารวมกัน

แหล่งอ้างอิง : https://sites.google.com/site/41127yanotai