ความเห็นของผู้ตรวจสอบบัญชีมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

เอเอ็ม ออดิท กรุ๊ป 

บริษัท เอเอ็ม ออดิท แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด

จันทร์-ศุกร์ 8:00-17:00 น โทร 0 2277-0405 ถึง 10 
เสาร์-อาทิตย์ หรือ นอกเวลาทำการ โทร 086 341 5173
อีเมล [email protected]

สาขารัชดา (สำนักงานใหญ่) กรุงเทพฯ

129/1 อาคารรัชดาออร์คิด ซอยหัสดิเสวี

ถนนสุทธิสาร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยหวาง

กรุงเทพมหานคร 10310

สาขาบางเขน กรุงเทพฯ

อาคารเดอะแพลททินั่ม เพลส  

เลขที่ 21, 21/1, 21/2 ถนนวัชรพล บางเขน

กรุงเทพมหานคร 10230

ผู้สอบบัญชี คือ ผู้ตรวจสอบบัญชีของบริษัทที่ต้องมีคุณสมบัติผ่านการทดสอบการเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีตามคุณสมบัติของสภาวิชาชีพบัญชี โดยพื้นฐานแล้วเงื่อนไขของ ผู้สอบบัญชี (Auditor) คือผู้ที่ต้องผ่านการทดสอบและมีชั่วโมงการทำงานครบตามที่กำหนด

นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชี (Auditor) ยังรู้จักในอีกชื่อคือผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Certificated Public Accountant)

สำหรับหน่วยงานที่ดูแลควบคุมผู้สอบบัญชีหรือAuditor จะไม่ได้มีเพียงแค่ด้วยหน่วยงานเดียว แต่จะประกอบด้วย:

  • สภาวิชาชีพบัญชี – ควบคุมมาตรฐานการดำเนินงานของผู้สอบบัญชี
  • กรมสรรพากร – ควบคุมในส่วนที่เกี่ยวกับภาษี
  • ธนาคารแห่งประเทศไทย – ควบคุมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงิน

หน้าที่ของผู้สอบบัญชี

ในส่วนของหน้าที่หลักของ ผู้สอบบัญชี คือ การตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของบริษัทหรือตรวจสอบบัญชีนั่นเอง รวมถึงทำการรายงานความเห็นของผู้สอบบัญชี เรียกว่า ความเห็นของผู้สอบบัญชี

ความเห็นของผู้สอบบัญชีจะแบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่

  1. ความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข
  2. ความเห็นแบบมีเงื่อนไข
  3. ไม่แสดงความเห็น
  4. งบการเงินไม่ถูกต้อง

ความเห็นของผู้สอบบัญชี

ความเห็นของผู้สอบบัญชี จะบ่งบอกถึงความถูกต้องของงบการเงินของบริษัท โดยความเห็นทั้ง 4 มีรายละเอียดดังนี้

ความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข (Unqualified Opinion) คือ งบการเงินที่ถูกต้องอย่างที่ควรจะเป็นตามหลักบัญชีที่ได้รับการรับรอง

ความเห็นแบบมีเงื่อนไข (Qualified Opinion) คือ ผู้สอบบัญชีพบความไม่ถูกต้องหรือความไม่แน่นอนบางอย่างจากงบการเงิน

ไม่แสดงความเห็น (Disclaimer of Opinion) คือ ผู้สอบบัญชีไม่สามารถแสดงความเห็นได้ว่างบการเงินถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ถูกจำกัดขอบเขตการตรวจสอบบางอย่างที่ไม่สามารถตรวจสอบได้หรือตรวจสอบได้ลำบาก

งบการเงินไม่ถูกต้อง (Adverse Opinion) คือ การที่ผู้จัดทำบัญชีทำงบการเงินไม่ถูกต้องและไม่ได้รับการแก้ไขข้อมูลจากผู้ที่จัดทำบัญชี

Accountingบัญชี

แชร์บทความนี้ FacebookTwitterEmail

Kris Piroj

บรรณาธิการ GreedisGoods | อดีตที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์และการเงิน | นักลงทุนที่สนใจในเศรษฐศาสตร์มหภาคและอนุพันธ์เป็นพิเศษ | หากบทความเป็นประโยชน์สามารถติดตามเราได้บน Facebook และ Twitter

แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ การตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบการปฏิบัติงานงานตามกฎระเบียบ การตรวจสอบการดำเนินงานและการตรวจสอบการทุจริต ซึ่งงานตรวจสอบดังกล่าวเป็นงานตรวจสอบที่ให้ความเชื่อมั่น ซึ่งแตกต่างจากการทำบัญชีพี่เป็นเพียงแค่การบันทึกรายการเท่านั้นไม่ได้ให้ความเชื่อมั่นแต่อย่างใด

1. การตรวจสอบงบการเงิน  financial statement audit

การตรวจสอบงบการเงินเป็นการพิจารณาว่าภาพรวมของงบการเงินได้แสดงไว้ตามหลักเกณฑ์ที่ระบุหรือไม่ตรวจสอบประเภทนี้ครอบคลุมงบการเงินประกอบไปด้วย งบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และครอบคลุมถึงหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป

2. การตรวจสอบการดำเนินงาน  operation audit

เป็นการตรวจสอบการดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกิจกรรม ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานต่างๆขององค์กรอย่างเป็นระบบ เพื่อประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร จุดมุ่งหมายของการตรวจสอบการดำเนินงานก็เพื่อประเมินผลการดำเนินงานและทำให้ผู้บริหารข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานภายในองค์กร ตรวจสอบการดำเนินงานมีความยากในการปฏิบัติมากกว่าการตรวจสอบงบการเงินซึ่งจากมีความยากในการระบุวัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์การวัดเพื่อใช้ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ Compliance Audits

เป็นการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นโยบาย ข้อบังคับขงทางราชการหรือของหน่วยงาน ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบมักนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงเผยแพร่ให้บุคคลภายนอกได้รับทราบ

4. การตรวจสอบการทุจริต  Forensic Audits

การตรวจสอบมีจุดมุ่งหมายในการค้นหาการกระทำผิดที่ก่อให้เกิดการทุจริตมีการทุจริตในองค์กร เป็นการตรวจสอบในเชิงลึกมักกระทำโดยผู้ตรวจสอบภายใน

แต่เนื่องจากผู้ตรวจสอบบัญชีนั้นมีหลายประเภท และมีหน้าที่ในการตรวจสอบต่างกัน หากเป็นกิจการเปิดใหม่เพิ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล อาจยังไม่ทราบว่า ผู้ตรวจสอบบัญชีมีกี่ประเภท แล้วรูปแบบกิจการของเราควรใช้บริการผู้ตรวจสอบบัญชีแบบไหนบ้าง

ตามหลักการแล้วผู้สอบบัญชีจะมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ

1.ผู้สอบบัญชีภาษีอากร

2.ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทั่วไป

3.ผู้สอบบัญชีตลาดทุน

4.ผู้ตรวจสอบภายใน

และทั้งหมดทำหน้าที่ต่างกัน ซึ่งกิจการต้องเลือกใช้ผู้สอบบัญชีให้ตรงกับรูปแบบธุรกิจ และจุดประสงค์หลักของกิจการ ดังสามารถอธิบายแยกย่อยได้ดังนี้

 

ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA : Tax Auditor)  

ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA : Tax Auditor) คือผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นผู้ขอขึ้นทะเบียนและได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากร มีหน้าที่ตรวจสอบและออกรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี สำหรับกิจการที่เป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดเล็ก มีทุนจดทะเบียนหรือทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท สินทรัพย์รวมและรายได้รวมของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท

โดยผู้สอบบัญชีภาษีอากร จะต้องปฏิบัติงานตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบที่กรมสรรพากรกำหนด โดยใช้วิธีการทดสอบและวิธีการตรวจสอบอื่นที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากการตรวจสอบงบการเงินว่าตรงตามสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีและเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว ยังต้องตรวจสอบว่ากิจการได้ปรับปรุงกำไร(ขาดทุน)สุทธิเพื่อเสียภาษีถูกต้องตามประมวลรัษฎากรหรือไม่

ดังนั้น ผู้สอบบัญชีภาษีอากรจะต้องมีความสามารถทางการบัญชีและภาษีอากร สามารถทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาภาษีอากรได้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ประกอบการเสียภาษีได้ถูกต้อง และเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

 

ผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก (External Auditor) หรือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทั่วไป (CPA : Certified Public Accountant)

ผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก (External Auditor) หรือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทั่วไป (CPA : Certified Public Accountant) คือผู้ตรวจสอบตามกฎหมาย Statutory Auditor ที่มีคุณสมบัติเป็นผู้สอบบัญชีที่ขึ้นทะเบียนและได้รับอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547

ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบบัญชี และแสดงความเห็นไว้ในรายงานการสอบบัญชี ซึ่งจัดทำรายงานเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินของกิจการ ว่างบการเงินจัดทำขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินหรือไม่

โดยมีอำนาจตรวจสอบ และรับรองงบการเงินสำหรับกิจการที่เป็นนิติบุคคลทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดใหญ่ และห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดเล็ก ยกเว้นงบการเงินที่ต้องใช้ผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจาก กลต. ซึ่งสามารถรับรองได้แค่งบการเงินเท่านั้น

ทั้งนี้ สัดส่วนของธุรกิจโดยทั่วไปสำหรับการจัดทำบัญชี งบการเงิน จะอยู่ในกลุ่ม “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทั่วไป” เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งสิ่งที่จำเป็นคือต้องใช้ผู้สอบบัญชีอิสระที่ไม่ใช่พนักงานของกิจการ หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการเข้ามาตรวจสอบ

ด้วยเหตุนี้กิจการจึงต้องเลือกผู้สอบบัญชีภายนอกที่เปิดรับตรวจสอบบัญชี ซึ่งมีหลากหลายให้เลือกทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดา และอยู่ในรูปแบบสำนักงานบัญชี โดยการเลือกให้คำนึงถึงความเชี่ยวชาญและความน่าเชื่อถือเป็นหลัก เพื่อให้การตรวจสอบบัญชีของกิจการมีคุณภาพที่สุด

 

ผู้สอบบัญชีตลาดทุน (List of Auditors Approved by the office of SEC)

ผู้สอบบัญชีตลาดทุน (List of Auditors Approved by the office of SEC) คือผู้ที่ได้รับอนุญาตความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ในการรับรองงบการเงินสำหรับบริษัทที่อยู่ในตลาดทุน หรือบริษัทที่ยื่นขอจดทะเบียนในตลาดทุน (IPO) ที่มีตลาดทุนคือศูนย์กลางมีการออกสินค้าเป็นหลักทรัพย์ขายให้แก่ประชาชนเพื่อถือครองไว้และถือว่าเป็นพันธะสัญญาต่อกัน

โดยมีทั้งหุ้นสามัญ หุ้นกู้ พันธบัตร กองทุนรวมต่างๆ งบการเงินของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ยกเว้นกองทุนที่มีสมาชิกไม่เกิน 100 คน และมีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิไม่เกิน 100 ล้านบาท ซึ่งพิจารณา ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันที่แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และผู้สอบบัญชีนั้น (CPA) ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสมาชิกให้ใช้ผู้สอบบัญชีทั่วไปได้

 

ผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditors) หรือ IA

ผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditors) หรือ IA คือบุคคลที่ทำหน้าที่ตรวจสอบภายในองค์กร และประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในให้แก่องค์กรอย่างเป็นอิสระ รวมทั้งการประเมินประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยงขององค์กร เพื่อให้เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์กร และมีการควบคุมและกำกับดูแลกิจการอย่างเป็นระบบ โดยเน้นความสำคัญในการตรวจสอบการดำเนินงาน การปฏิบัติตามกฎระเบียบขององค์กร ซึ่งไม่ใช่การตรวจสอบงบการเงินและบัญชี     

โดยฝ่ายบริหารของกิจการอาจแต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายใน จากพนักงานในหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นพนักงานของกิจการ และให้ผู้ตรวจสอบภายในคอยตรวจสอบหน่วยงานต่างๆ และเสนอรายงานต่อผู้บริหารระดับสูง หรือคณะกรรมการตรวจสอบ

ที่สำคัญผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความเป็นอิสระจากหน่วยงานที่ไปตรวจสอบ เพื่อให้การรายงานผลเป็นไปอย่างถูกต้องและตรงไปตรงมา ทำให้เกิดการแก้ไขที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของกิจการ

สรุป

เมื่อทราบแล้วว่าผู้ตรวจสอบบัญชีมีกี่ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีขอบเขตการทำงานและหน้าที่แตกต่างกัน แต่ทุกประเภทจะต้องผ่านการสอบใบอนุญาตก่อนทั้งสิ้น จึงจะสามารถเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีอำนาจในการตรวจสอบบัญชีในด้านต่างๆ อย่างเป็นอิสระต่อหน่วยงานที่เข้าตรวจสอบ

ดังนั้น เมื่อผู้ประกอบการต้องเลือกผู้ตรวจสอบบัญชีให้เข้ามาตรวจสอบด้านต่างๆ ของกิจการ ควรเลือกให้ตรงรูปแบบของกิจการและที่สำคัญต้องผ่านการสอบใบอนุญาตด้วย

PrevPreviousบัญชีเงินเดือน ที่เจ้าของกิจการควรรู้

Nextคุณภาพการสอบบัญชี จากนวัตกรรมตรวจสอบบัญชีของบริษัทNext

ความเห็นของผู้ตรวจสอบบัญชีมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

OUR STORY

เรามีชื่อในการช่วยเหลือเจ้าของธุรกิจในเรื่องบัญชีและภาษีเพื่อให้เจ้าของธุรกิจมั่นใจว่าบัญชีและภาษีที่ทำออกมานั้นถูกต้องอีกทั้งเรายังให้คำแนะนำกับเจ้าของธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็กและธุรกิจที่กำลังเติบโต ซึ่งต้องเผชิญกับความท้าทายในการดำเนินธุรกิจต่างๆ

ไม่ว่าจะเรื่องจำนวนคนหรือเวลาที่มีน้อยกว่าบริษัทระดับ Corporate หรือความรู้ในการบริหารจัดการภาษีซึ่งเราก็มีผู้ตรวจสอบบัญชี CPA คอยให้คำแนะนำกับเจ้าของธุรกิจทุกท่าน

ความเห็นของผู้สอบบัญชีมีกี่ประเภท

การแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชีมี 4 แบบ คือ.
1. แสดงความเห็น แบบไม่มีเงื่อนไข เป็นการแสดงความเห็นว่างบการเงินมีความถูกต้องตามสมควร.
2. แสดงความเห็น แบบมีเงื่อนไข ... .
3. แสดงความเห็น กรณีงบการเงินไม่ถูกต้อง ... .
4. ไม่แสดงความเห็น.

การตรวจสอบมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทของการตรวจสอบ.
การตรวจสอบการเงิน การบัญชี (Financial Audit).
การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกำหนด (Compliance Audit).
การตรวจสอบการบริหารงาน (Management Audit).
การตรวจสอบการการปฏิบัติการ (Operational Audit).
การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Audit).
การตรวจสอบทุจริต (Fraud Audit).

Audit ตรวจสอบอะไรบ้าง

ประเภทของการตรวจสอบ Types of Audits.
การตรวจสอบงบการเงิน financial statement audit. ... .
การตรวจสอบการดำเนินงาน operation audit. ... .
การปฏิบัติตามกฎระเบียบ Compliance Audits. ... .
การตรวจสอบการทุจริต Forensic Audits..

หน้ารายงานผู้สอบบัญชี 2564 มีกี่แบบ

ทำความเข้าใจกับประเภทของหน้ารายงานของผู้สอบบัญชี.
สำหรับหน้ารายงานของผู้สอบบัญชี มี 4 แบบ ประกอบด้วย.
แบบที่ 1 ไม่มีเงื่อนไข.
แบบที่ 2 มีเงื่อนไข.
แบบที่ 3 งบการเงินไม่ถูกต้อง.
แบบที่ 4 ไม่แสดงความเห็น.
ผู้เขียน โสรยา ตินตะสุวรรณ์ กรรมการบริหาร บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จำกัด.