การรู้เท่าทันสื่อมีกี่ระดับ

การรู้เท่าทันสื่อ คือ การที่เราไม่หลงเชื่อเนื้อหาที่ได้อ่าน    ได้ยิน ได้ฟัง แต่สามารถคิด วิเคราะห์ สงสัย และรู้จักตั้งคำถามว่า สิ่งนั้นจริงหรือไม่จริง ใครเป็นคนให้ข้อมูลเขาต้องการสื่ออะไร หรือมีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่


5 องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อที่เราต้องมี ได้แก่


1.การเปิดรับสื่อ


การเปิดรับการเข้าใจการวิเคราะห์สื่อสื่อสื่อคือ การรู้เท่าทันการเปิดรับสื่อของประสาทสัมผัส หู ตา จมูก ลิ้น   สัมผัสของเรา ซึ่งเมื่อเปิดรับแล้วสมองจะสั่งการให้คิดและปรุงแต่งให้เกิดอารมณ์ต่างๆตามมา การรู้เท่าทันสื่อในขั้นของการรับรู้อารมณ์ตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องแยกความคิดและอารมณ์ออกจากกัน และความคิดจะทำให้เรารับรู้ความจริงว่า“อะไรเป็นสิ่งที่สื่อสร้างขึ้น”เป็นต้น


2.การวิเคราะห์สื่อ


คือ การแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสื่อว่ามีวัตถุประสงค์อะไร


3.การเข้าใจสื่อ


คือ การตีความสื่อหลังจากเปิดรับสื่อไปแล้ว เพื่อทำความเข้าใจในสิ่งที่สื่อนำเสนอ ซึ่งผู้รับสารแต่ละคนก็จะมีความเข้าใจสื่อได้ไม่เหมือนกันตีความไปคนละแบบ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ พื้นฐานการศึกษาคุณสมบัติในการเรียนรู้ ตลอดจนการรับรู้ข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ไม่เท่ากันมาก่อน


4.การประเมินค่า


หลังการวิเคราะห์และทำความเข้าใจสื่อแล้ว เราควรประเมินค่าสิ่งที่สื่อนำสนอว่ามีคุณภาพและคุณค่ามากน้อยเพียงใด ไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหา วิธีนำเสนอเทคนิคที่ใช้ เป็นต้น


5.การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์


แม้เราจะสามารถวิเคราะห์ เข้าใจ และประเมินค่าสื่อได้ แต่เราไม่สามารถออกไปจากโลกของสื่อได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้ คือ


– นำสิ่งที่เราวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์


– เลือกรับสื่อเป็น


– สามารถส่งสารต่อได้


– มีปฏิกิริยาตอบกลับสื่อได้


5 องค์ประกอบนี้เป็นพื้นฐานอันดีของการเป็นผู้ผลิตสื่อที่ดี สำหรับผู้ที่สามารถคิดวิเคราะห์ เข้าใจธรรมชาติของสื่อได้เป็นอย่างดีแล้วเราอาจเป็นผู้ผลิตสื่อเอง โดยก่อให้เกิดสื่อดีๆ มีประโยชน์เพื่อสังคม โดยการวางแผนการจัดการสื่ออย่างเหมาะสมและเลือกข้อมูลเพื่อคิดเขียน พูดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการภายใต้การผลิตสื่อที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมองค์ประกอบนี้เป็นพื้นฐานอันดีของการเป็นผู้ผลิตสื่อที่ดี

การรู้เท่าทันสื่อมีกี่ระดับ

60. การรู้เท่าทันสื่อมีมิติอะไรบ้าง

  1. หน้าแรก
  2. 60. การรู้เท่าทันสื่อมีมิติอะไรบ้าง

การรู้เท่าทันสื่อมีกี่ระดับ

การเรียนรู้เท่าทันสื่อ มี 4 มิติ ดังนี้

  1. การรับรู้และความเข้าใจ (Cognitive) คือ ความสามารถในการแยกแยะ เข้าใจตั้งแต่สัญลักษณ์ง่ายๆ ไปจนเรื่องที่มีความซับซ้อน เช่น เนื้อหาสารถูกผลิตขึ้นอย่างไร และเหตุใด มันจึงถูกผลิตมาอย่างนั้น
  2. อารมณ์และความรู้สึก (Emotional) คือ ความสามารถในการจำแนกสัญลักษณ์ที่สื่อใช้กระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ และกำลังรับรู้ว่าสื่อต้องการกระตุ้นให้เรามีความรู้สึกอะไร และสามารถใช้สื่อเพื่อปรับอารมณ์ความรู้สึกของตนเองได้ตามต้องการ
  3. สุนทรียภาพ (Aesthetic) คือ ความสามารถในการเข้าถึงและเล็งเห็น "คุณค่าของเนื้อหาสื่อในมุมมองด้านศิลปะ" จำแนกความแตกต่างระหว่างศิลปะและของเลียนแบบ รู้เข้าใจสไตล์ศิลปะของผู้ประพันธ์ นักเขียน ผู้ผลิตสื่อ มองเห็นคุณค่า ความงาม ของกลวิธีการสร้างงานสื่อ
  4. ศีลธรรม (Moral) คือ สามารถวินิจฉัย พิจารณาและตัดสินได้ว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด ดีหรือร้าย ค่านิยมของสังคม ขนบประเพณี หรือระบบวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ ที่สื่อถูกผลิตออกมา ตลอดจนมาตรฐานการผลิต จรรยาบรรณวิชาชีพ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสื่อในเรี่องนั้นๆ

Categories

  • เรื่องน่ารู้ กสทช.
    • ใครเป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุ-โทรทัศน์
    • สื่อวิทยุ-โทรทัศน์มีความเป็นมาอย่างไร
    • สิทธิผู้บริโภคสื่อวิทยุ-โทรทัศน์
    • เครือข่ายผู้บริโภคสื่อวิทยุ-โทรทัศน์
    • การเอาเปรียบผู้บริโภค
    • การรู้เท่าทันสื่อ
    • สื่อวิทยุ-โทรทัศน์กับผู้บริโภคและสังคม
    • สิทธิการเข้าถึงสื่อของทุกกลุ่ม
    • กระบวนการร้องเรียน
    • สู่ยุคดิจิตอล
  • สื่อวีดิทัศน์
  • INFOGRAPHIC
  • ผลการศึกษา/บทความ/งานวิจัยต่างๆ
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Contact

การรู้เท่าทันสื่อมีกี่ระดับ

       คนรู้เท่าทันสื่อเป็นอย่างดี จะควบคุมการใช้สื่อได้มากกว่า เพราะรู้ว่าจะจัดการกับสารต่างๆ ที่ประดังเข้ามาด้วยมุมมองใด ในทางตรงข้ามคนที่มีความรู้เกี่ยวกับสื่ออย่างจำกัดก็จะไม่สามารถรับมือกับสื่ออย่างเท่าทัน

การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความสามารถป้องกันตนเองจากการถูกจูงใจจากเนื้อหาของสื่อการสามารถวิเคราะห์เนื้อหาของสื่ออย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้สามารถควบคุมการตีความเนื้อหาของสื่อที่มีปฏิสัมพันธ์ด้วย นั่นคือ การที่เราไม่หลงเชื่อเนื้อหาที่ได้อ่าน ได้ยิน ได้ฟัง แต่สามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และรู้จักตั้งคำถาม


5 องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อที่เราต้องมี ได้แก่

1.การเปิดรับสื่อ

การเปิดรับการเข้าใจการวิเคราะห์สื่อ คือ การรู้เท่าทันการเปิดรับสื่อของประสาทสัมผัส หู ตา จมูก ลิ้น สัมผัสของเรา ซึ่งเมื่อเปิดรับแล้วสมองจะสั่งการให้คิดและปรุงแต่งให้เกิดอารมณ์ต่าง ๆ ตามมา การรู้เท่าทันสื่อในขั้นของการรับรู้อารมณ์ตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องแยกความคิดและอารมณ์ออกจากกัน และความคิดจะทำให้เรารับรู้ความจริงว่า“อะไรเป็นสิ่งที่สื่อสร้างขึ้น”เป็นต้น

2.การวิเคราะห์สื่อ

คือ การแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสื่อว่ามีวัตถุประสงค์อะไร

3.การเข้าใจสื่อ

คือ การตีความสื่อหลังจากเปิดรับสื่อไปแล้ว เพื่อทำความเข้าใจในสิ่งที่สื่อนำเสนอ ซึ่งผู้รับสารแต่ละคนก็จะมีความเข้าใจสื่อได้ไม่เหมือนกันตีความไปคนละแบบ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ พื้นฐานการศึกษาคุณสมบัติในการเรียนรู้ ตลอดจนการรับรู้ข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ไม่เท่ากันมาก่อน

4.การประเมินค่า

หลังการวิเคราะห์และทำความเข้าใจสื่อแล้ว เราควรประเมินค่าสิ่งที่สื่อนำสนอว่ามีคุณภาพและคุณค่ามากน้อยเพียงใด ไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหา วิธีนำเสนอเทคนิคที่ใช้ เป็นต้น

5.การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์

แม้เราจะสามารถวิเคราะห์ เข้าใจ และประเมินค่าสื่อได้ แต่เราไม่สามารถออกไปจากโลกของสื่อได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้ คือ

– นำสิ่งที่เราวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์

– เลือกรับสื่อเป็น

– สามารถส่งสารต่อได้

– มีปฏิกิริยาตอบกลับสื่อได้

5 องค์ประกอบนี้เป็นพื้นฐานอันดีของการเป็นผู้ผลิตสื่อที่ดี สำหรับผู้ที่สามารถคิดวิเคราะห์ เข้าใจธรรมชาติของสื่อได้เป็นอย่างดีแล้วเราอาจเป็นผู้ผลิตสื่อเอง โดยก่อให้เกิดสื่อดีๆ มีประโยชน์เพื่อสังคม โดยการวางแผนการจัดการสื่ออย่างเหมาะสมและเลือกข้อมูลเพื่อคิดเขียน พูดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการภายใต้การผลิตสื่อที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมองค์ประกอบนี้เป็นพื้นฐานอันดีของการเป็นผู้ผลิตสื่อที่ดี


กิจกรรมฝึกทักษะ

จากคลิปวีดีโอนี้ ตัวละครสอนเรื่องอะไร

…………ไม่ซื้อของกินเยอะ

…………เด็กๆควรซื้อหนังสือ

…………รู้เท่าทันสื่อโฆษณา


ถ้านักเรียนเห็นรูปฟ้าใสแบบในคลิปวีดีโอ นักเรียนจะทำอย่างไร






อ้างอิง

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) , “5 องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อ” สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2563