มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีกี่คณะ

สวัสดีค่ะน้องๆ ตั้งแต่เริ่มต้นเดือนตุลาคม 2564 ก็จะเห็นได้ว่า หลายๆ มหาวิทยาลัยก็ทยอยประกาศระเบียบการ หรือประกาศรับสมัคร รอบ Portfolio ออกมาให้น้องๆ ได้ศึกษารายละเอียด และเตรียมตัวสมัครกัน อย่างวันนี้ก็เป็นคิวของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งก็เปิดรับสมัคร 11 คณะ รวมกว่า 90 สาขาวิชากันเลย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) รับสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา TCAS รอบ 4 (Direct Admission) ประจำปีการศึกษา 2564 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 2 – 9 มิถุนายน 2564 ที่www.oreg.rmutt.ac.th 

คุณสมบัติผู้สมัคร

– ผู้สมัครที่จบการศึกษาวุฒิ ม. 6 / กศน. จากสถานศึกษาทั่วประเทศ

– นักเรียน/นักศึกษา ที่กำลังศึกษาอยู่ระดับ ม. 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ในสถานศึกษาทั่วประเทศ
– นักเรียน/นักศึกษา ที่กำลังศึกษาอยู่กศน. ภาคการศึกษาสุดท้าย ปีการศึกษา 2563 ในสถานศึกษาทั่วประเทศ
– มีคุณสมบัติตรงตามระเบียบการรับสมัครฯ ปีการศึกษา 2564

สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร

คณะศิลปศาสตร์

สาขาวิชาการท่องเที่ยว

สาขาวิชาการจัดการโรงแรม

สาขาวิชาการจัดการโรงแรม (ภาคพิเศษ)

สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (ภาคพิเศษ)

สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการการบิน

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตามความถนัดในสาขาวิชาชีพที่สำเร็จการศึกษา เช่น มัคคุเทศก์ การจัดการธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว การจัดการการ โรงแรม เลขานุการ งานแปล และล่าม งานประชาสัมพันธ์ การบริการงานภาคพื้น การบริการบนอากาศยาน งานธุรกิจสายการบิน งานบริการที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการบริการการบินและอาชีพอิสระอื่น ๆ

ข้อมูลคณะศิลปศาสตร์ Website : www.larts.rmutt.ac.th

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ค.อ.บ.)

สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ค.อ.บ.)

สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบอัตโนมัติ (ค.อ.บ.)

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ค.อ.บ.)

สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (วศ.บ.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ศษ.บ.)

สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (วท.บ.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง (อส.บ.)

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

 ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตามความถนัดในสาขาวิชาชีพที่สำเร็จการศึกษา เช่น ครูด้านวิชาชีพทั้งระดับอาชีวศึกษาและระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่างเทคนิคหรือวิศวกรในบริษัทเอกชนหรือประกอบอาชีพอิสระ นักเทคโนโลยีทางการศึกษา

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาการผลิตพืช

สาขาวิชาสัตวศาสตร์

สาขาวิชาประมง

สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

 ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพตามความถนัดในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน หรือประกอบอาชีพอิสระทางด้านประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสัตว์น้ำ  ด้านอาหารผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ ในฟาร์มปศุสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ นักวิชาการส่งเสริมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ การวางผัง การออกแบบและการตกแต่ง หรือทำงานในสถานประกอบการ ทางด้านจัดสวน ดูแลสวน หรือออกแบบตกแต่งสถานที่ เป็นต้น

คณะวิศวกรรมศาสตร์

รวม 11 สาขาวิชา

สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-วิศวกรรมระบบการผลิตอัตโนมัติ
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์
สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมพอลิเมอร์
สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรมสิ่งทอ
สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรอุตสาหกรรม
สาขาวิชาวิศวกรรมชลประทานและการจัดการน้ำ
สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร
สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์อากาศยาน

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

 ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพตามความถนัดในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน หรือประกอบอาชีพอิสระทางด้านประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสัตว์น้ำ  ด้านอาหารผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ ในฟาร์มปศุสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ นักวิชาการส่งเสริมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ การวางผัง การออกแบบและการตกแต่ง หรือทำงานในสถานประกอบการ ทางด้านจัดสวน ดูแลสวน หรือออกแบบตกแต่งสถานที่ เป็นต้น

คณะบริหารธุรกิจ
สาขาวิชาการตลาด-การค้าปลีก
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
สาขาวิชาการเงิน
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
สาขาวิชา International Business Administration (นานาชาติ)
สาขาวิชา Logistics and Supply Chain Management (นานาชาติ)

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา

1.สาขาวิชาการตลาด วิชาการค้าปลีก อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ พนักงานขาย พนักงานฝ่ายการตลาด พนักงานฝ่ายจัดซื้อ พนักงาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ พนักงาน วิจัยการตลาด พนักงานควบคุมสินค้าคงคลัง พนักงานจัดแสดงสินค้าและการตกแต่งร้าน ผู้จัดการฝ่ายขาย ผู้จัดการร้านค้า ผู้ประกอบอาชีพอิสระ

2.สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา ได้แก่ นักบริหารจัดการระบบบริการออนไลน์ นักพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ นักออกแบบเว็บไชต์ นักพัฒนา  และบริหารข้อมูลระบบเว็บไซต์ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบอาชีพอิสระ เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ (ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ) พนักงานบริษัทที่มีความรู้คอมพิวเตอร์

3.สาขาวิชาการเงิน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่การเงินขององค์กรธุรกิจทั่วไป เจ้าหน้าที่การตลาดของบริษัทหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  เจ้าหน้าที่ในธนาคารพาณิชย์ เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และฝ่ายสินเชื่อ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ของบริษัทหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นักวิชาการการบัญชีและการเงินของหน่วยงาน ราชการ เจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของบริษัทเงินทุน และธนาคารพาณิชย์ เจ้าของกิจการ / ประกอบอาชีพอิสระ

4. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ เศรษฐกร เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ ที่ปรึกษาทางการเงิน  นักวิเคราะห์ในสถาบันการเงิน เจ้าหน้าที่วางแผนในหน่วยงานภาคเอกชน นักวิจัยและพยากรณ์ทางด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ  

5. สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส ำเร็จการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานระหว่างประเทศ เจ้าหน้าที่บริหารงานด้านในองค์กรธุรกิจระหว่าง ประเทศ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานราชการที่ติดต่อกับต่างประเทศ นักธุรกิจที่ด าเนินธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ นักธุรกิจน าเข้าส่งออก นักวิชาการ นักธุรกิจอิสระ 

6.สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ พนักงานคลังสินค้า พนักงานควบคุมสินค้าคงคลัง พนักงานจัดการการขนส่ง  และกระจายสินค้า พนักงานบริการโลจิสติกส์และซัพลายเชน รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ประกอบอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ

หลักสูตรนานาชาติ  

 สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ นักวิชาการ นักวิเคราะห์แผนและนโยบายเศรษฐกิจ นักการตลาดในและต่างประเทศ  เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานองค์กรระหว่างประเทศ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานราชการที่ติดต่อกับต่างประเทศ นักธุรกิจนำเข้า – ส่งออก เจ้าของกิจการ เจ้าหน้าที่บริหารงานด้านเอกสารในองค์กรธุรกิจระหว่างประเทศ  

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่ พนักงานคลังสินค้าและควบคุมสินค้าคงคลัง พนักงานจัดการการขนส่งและกระจาย สินค้า ประกอบอาชีพ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ 

คณะศิลปกรรมศาสตร์
สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ (ศล.บ.)
สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย (ศล.บ.)
สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา (ศษ.บ.)
สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา (ศษ.บ.)
สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา (ศษ.บ.)
สาขาวิชาคีตศิลปศึกษา (ศษ.บ.)

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย 

นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพเป็นนักออกแบบสร้างสรรค์ทั้งสื่อกราฟฟิก สื่อโฆษณา สื่อประชาสัมพันธ์สิ่งพิมพ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ มัณฑนากร นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ตามสาขาวิชา  เป็นเจ้าของกิจการ หรือทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป็นต้น

ภาควิชานาฏดุริยางคศิลป์สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา นักศึกษาสำเร็จการศึกษาจะสามารถไปสอบเพื่อขอรับใบประกอบวิชาชีพ ครู/อาจารย์ในสาขาวิชาที่เรียน นักวิชาการ วิทยากร นาฏศิลปิน และประกอบอาชีพอิสระทางด้านนาฏศิลป์-ดนตรีไทย-สากล ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ  สาขาวิชาศิลปศึกษา สามารถประกอบอาชีพเป็นครูผู้สอน อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักวิชาการด้านการศึกษา ผู้ออกแบบสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนศิลปะ ผู้ประกอบการธุรกิจ ด้านการศึกษา นักสร้างสรรค์งานศิลปะ

คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
สาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ ภาคพิเศษ
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ภาคพิเศษ

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

 ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพได้ในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งสามารถสร้างงานของตนเองเป็นอาชีพอิสระได้ตามความถนัดในวิชาชีพสาขาที่ได้ศึกษา ได้แก่ นักออกแบบ สิ่งพิมพ์และทำแม่พิมพ์ นักเทคโนโลยีทางการผลิตสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ด้วยระบบการพิมพ์ต่าง ๆ นักเทคโนโลยีทางการผลิตกระดาษและหมึกพิมพ์ผู้ประสานงานและควบคุมการผลิตสิ่งพิมพ์  นักปฏิบัติงานด้านหลังการพิมพ์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์
สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต์
สาขาวิชาสถิติประยุกต์
สาขาวิชาเคมีประยุกต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดิจิทัล
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์-เทคโนโลยีเครื่องมือวัด
สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์-นวัตกรรมวัสดุและนาโนเทคโนโลยี
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร
สาขาวิชาการวิเคราะห์และการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

 ครู อาจารย์ในสถาบันการศึกษา นักวิจัย นักวิชาการและนักวิเคราะห์ข้อมูล ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนักวิทยาศาสตร์ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อาชีพเฉพาะทางได้แก่ นักวิเคราะห์ และควบคุมคุณภาพการผลิตในอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พนักงานตรวจสอบวิเคราะห์รังสี เจ้าหน้าที่พิสูจน์หลักฐาน เจ้าหน้าที่สอบเทียบเครื่องมือ นักคณิตศาสตร์ประกันภัย นักสถิติประกันภัย นักเทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบงานสารสนเทศ  นักพัฒนาเว็บไซต์ เจ้าหน้าที่ดูแลระบบสารสนเทศ นักวิทยาการข้อมูล ประกอบอาชีพอิสระ

คณะพยาบาลศาสตร์
สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพเป็นพยาบาลได้ทั้งในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน   

วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย
สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย
สาขาวิชาสุขภาพและความงาม
สาขาวิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา 

การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 

  1. แพทย์แผนไทยประยุกต์ปฏิบัติงานในสถานบริการภาครัฐและภาคเอกชน หรือโรงงานผลิตยาสมุนไพร 
  2. ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 
  3. ผู้ประกอบการธุรกิจสมุนไพร/สุขภาพ 
  4. ที่ปรึกษาด้านสุขภาพ 
  5. นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ นักวิชาการ/นักวิทยาศาสตร์ 

สุขภาพและความงาม 

  1. ผู้จัดการธุรกิจสุขภาพและความงาม เช่น Spa manager และ Beauty manager 
  2. ผู้ฝึกสอนทางด้านสุขภาพและความงาม เช่น Beauty trainer, Spa trainer และ Wellness health coach เป็นต้น 
  3. บุคลากรในธุรกิจสุขภาพและความงาม เช่น Supervisor, Advisor, Wellness counselor, Spa receptionist, Spa therapist และ Beauty therapist เป็นต้น
  4. นักวิชาการศึกษา นักบริหารโครงการวิจัย ครู วิทยากร นักวิจัย และผู้ประสานงานโครงการ เป็นต้น 
  5. เจ้าของกิจการ เช่น Aesthetic Health and Spa , Massage Academy หรือ Massage school, Beauty Center, Wellness Center และ Cosmetic business เป็นต้น

    มหาวิทยาลัย ลัย เทคโนโลยี ราช มงคล ธัญบุรี มีคณะอะไรบ้าง

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
    คณะศิลปศาสตร์.
    คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม.
    คณะวิศวกรรมศาสตร์.
    คณะบริหารธุรกิจ.
    คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์.
    คณะศิลปกรรมศาสตร์.
    คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน.
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

    มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรีมีกี่สาขา

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีพื้นที่จัดการศึกษา 3 แห่งคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ศูนย์คลองหก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ศูนย์นวัตกรรมและความรู้

    คณะ ศิลปศาสตร์ มี สาขา อะไร บ้าง ม ทร ธัญบุรี

    คณะศิลปกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี.
    1. ภาควิชาทัศนศิลป์ ... .
    2. ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี ... .
    3. ภาควิชานาฏดุริยางคศิลป์.

    ราชมงคลธัญบุรีมีกี่ตึก

    ปัจจุบันสำนักฯ มีพื้นที่บริการกับนักศึกษาและบุคลากร ร่วมถึงบุคคลภายนอกทั้งสิ้น 6 อาคารได้แก่ อาคารสำนักงานผู้อำนวยการ (ICT) มีพืันที่ขนาด 807 ตารางเมตร อาคารฝึกอบรม มีพื้นที่ขนาด 807 ตารางเมตร อาคารวิทยบริการ มีพื้นที่ขนาด 8,000 ตารางเมตร