หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
2. หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
1. หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วงต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์บันทึกไว้ เช่น จดมายเหตุ คำสัมภาษณ์ เอกสารทางราชการ บันทึกความทรงจำ กฎหมาย หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ สไลด์ วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี โบราณวัตถุ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
2. หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ
เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคำบอกเล่า ผลงานทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ สำหรับหลักฐานชั้นรองนั้นมีข้อดี คือ มีความสะดวกและง่ายในการศึกษาทำความเข้าใจ เนื่องจากเป็นข้อมูลได้ผ่านการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์เหตุการณ์และอธิบายไว้อย่างเป็นระบบ โดยนักประวัติศาสตร์มาแล้ว

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในประเทศไทย มีอยู่หลายลักษณะ อาจแบ่งลักษณะสำคัญของหลักฐานออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1. หลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร ได้แก่

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
1.1 โบราณสถาน หมายถึง สิ่งก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์ขนาดต่างๆกัน อยู่ติดกับ พื้นดินไม่อาจนำเคลื่อนที่ไปได้ เช่น กำแพงเมือง คูเมือง วัง วัด ตลอดจนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในวัด และวัง เช่น โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และที่อยู่อาศัย การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณสถาน จำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานที่ตั้งของโบราณสถานนั้นๆ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

ปราสาทหินพิมาย

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
1.2 โบราณวัตถุ หมายถึง สิ่งของโบราณที่มีลักษณะต่างๆกัน สามารถนำติดตัว เคลื่อนย้ายได้ ไม่ว่าสิ่งของนั้นๆ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น หรือเป็น ส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณสถาน และสิ่งของที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเหล่านี้เกิดขึ้นในสมัยประวัติศาสตร์ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป รูปเคารพต่างๆ เครื่องประดับ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณวัตถุ ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานที่ทางประวัติศาสตร์เสมอไป และสามารถไปศึกษาได้จากแหล่งรวบรวมทั้งของราชการ เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

เครื่องปั้นดินเผาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง

2. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่
        2.1 จารึก ในแง่ของภาษาแล้วมีคำอยู่ 2 คำที่คล้ายคลึงและเกี่ยวกับข้องกัน คือ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
คำว่า จาร และจารึก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
คำว่า จาร แปลว่า เขียนอักษรด้วยเหล็กแหลมลงบนใบลาน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
คำว่า จารึก แปลว่า เขียนเป็นรอยลึกลงบนแผ่นศิลาหรือโลหะ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

จารึกบนฐานพระพุทธรูป วัดป่าข่อย จังหวัดลพบุรี

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คำว่า จารึก หมายรวมถึง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งใช้วิธีเขียนเป็นรอยลึก ถ้าเขียนเป็นรอยลึกลงบนแผ่นหิน เรียกว่า ศิลาจารึก เช่น ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง ถ้าเขียนลงบนวัสดุอื่นๆ เช่น แผ่นอิฐ เรียกว่า จารึกบนแผ่นอิฐ แผ่นดีบุก เรียกว่า จารึกบนแผ่นดีบุก และการจารึกบนใบลาน

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

ศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง

      2.2 เอกสารพื้นเมือง เอกสารพื้นเมืองนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สำคัญของประเทศไทย มักปรากฏในรูปหนังสือสมุดไทย และเรียกชื่อแตกต่างกันออกไป เช่น ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit01_03.html

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างไร

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสําคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร * 1 คะแนน

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสาคัญอย่างมากในการศึกษาค้นคว้า เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยหลักต่างๆถ้าไม่มีหลักฐานการศึกษาประวัติศาสตร์ก็จะไม่ถูกต้องหรือถูกต้องน้อย จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. บอกประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ 2. บอกลักษณะของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ 3. บอกแหล่งรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้

วิธีการทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร

วิธีการทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ ทั้งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ที่ท าให้ได้เรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ ประโยชน์อีกด้านหนึ่ง คือ ผู้ที่ได้รับการฝึกฝนการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์จะทาให้ เป็นคนละเอียด รอบคอบ มีการตรวจสอบเรื่องราวที่ศึกษา รวมทั้งน ามาปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ โดยจะทาให้ เป็นผู้รู้จักท าการ ...

หลักฐานที่มีลายลักษณ์อักษรมีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร

13. หลักฐานลายลักษณ์อักษรมีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร เป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลประวัติศาสตร์ดีที่สุด เป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลง่ายกว่าหลักฐานอื่น เป็นหลักฐานที่มีจำนวนมาก หาง่าย

การศึกษาประวัติศาสตร์จากหลักฐานชั้นรองมีประโยชน์อย่างไร

2. หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคำบอกเล่า ผลงานทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ สำหรับหลักฐานชั้นรองนั้นมี ...