วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร
   

 1.1  �Է�ҡ�ä��������� ���ʹԨԷ�� ���෤��������ʹ�� (���������� 1 - 2)

          �Է�ҡ�ä��������� ����ʵ��������Ǣ�ͧ�Ѻ����֡�Ҥ鹤��ҷ�ɮա�äӹdz�ҧ���������� ��з�ɯա�û����ż����ʹ�ȷ�駴�ҹ�Ϳ������ �������� ������͢������Է�ҡ�ä��������� �л�Сͺ������Ǣ�ͷ������Ǣ�ͧ������дѺ�������仨��֧�дѺ�ٻ���� ��駹�����͵ͺʹͧ��ͤ���
��ͧ��âͧ�����෤����բͧ����ѧ����

       㹡�ù��Է�ҡ�ä����������һ���ء����㹡�ô��Թ���Ե ���� 6 �ѡɳ� ����

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

  

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

     ���ѡ���¹��¹�ͺ�Ӷ�����仹��ŧ���ش

    1. �ѡ���¹�Դ����Է�ҡ�ä����������դ����Ӥѭ���෤����շ����Դ����͹Ҥ����ҧ��
 
   2. ����ҡ������Է�ҡ�ä��������� �ѧ���¨������ҧ��

     ���ѡ���¹�ӡ���֡����������´����ǡѺ��Ǣ�͵��仹�� ���׺�鹢�������к�
Internet ������¹��ػŧ���ش

    1. ��þѲ�ҫͿ������
    2. �ç���ҧ��С�äǺ����к�����������
    3. ���������������ҧ����ͧ���������� �����ػ�ó��������
    4. ��ù����ҹ��ҹ��ҿԡ �����ŵ������
    5. ��û���ء����ҹ���ҧ�ҭ��Ҵ
    6. ��äӹdz��С�û���ء����ҹ�дѺ�٧

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เรียนเกี่ยวกับอะไร?

เรียนเกี่ยวกับทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย
ซึ่งประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์
ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีเครือข่าย

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

ปี 1 เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป
เรียนวิชาพื้นฐานเหมือนกันทุกสาขา เช่น แคลคูลัส ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ สถิติ จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ โครงสร้างข้อมูล
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ พื้นฐานทางการเขียนโปรแกรม

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร
ปี 2 เริ่มเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ
เรียนวิชาระบบฐานข้อมูล เช่นแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล โครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และต้องเลือกเรียนหมวดวิชาเฉพาะ เช่น วิชาการโปรแกรมภาษาจาวา
วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เชิงมัลติมีเดีย

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

ปี 3 เรียนลึกลงไปเกี่ยวกับวิชาเลือก
ในปีนี้ต้องเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟแวร์ วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร วิชาปัญญาประดิษฐ์ วิชาภาษาโปรแกรม
และต้องเรียนวิชาเลือกตามที่น้องๆสนใจ เช่น วิชาภาษาซีพลัสพลัส วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ฯลฯ

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร
ปี 4 ฝึกงาน , สหกิจศึกษา
มีการเรียนวิชาเลือกเสรี และฝึกงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรืองานอื่นที่เทียบเท่า ต้องเขียนรายงานและนำเสนอผลงาน
หรือฝึกอบรมหรือฝึกงานในต่างประเทศ ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยอาจจะแตกต่างกันไป

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เรียนจบแล้วทำงานอะไร?
1. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer)
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
3. นักทดสอบซอฟต์แวร์ (Software Tester)
4. นักออกแบบเว็บ (Web Designer)
5. ผู้บริหารเว็บ (Webmaster)
6. วิศวกรระบบ (System Engineer)
7. วิศวกรเครือข่าย (Network Engineer)
8. ผู้ประสานงานโครงการด้านเทคนิค (Technical Project Coordinator)
9. เจ้าหน้าที่สนับสนุนด้านเทคนิคซอฟต์แวร์ (Software Technical Support)
10. เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือด้านเทคนิค (Technical Help Desk)
11. ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะผลิตภัณฑ์(Product Specialist)
12. นักบริหารฐานข้อมูล (Database Administrator)
13. นักวิชาการคอมพิวเตอร์
14. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

         สวัสดีค่ะ อีกหนึ่งสาขาที่น้องๆ สนใจมากๆ เลยก็คือ "วิทยาการคอมพิวเตอร์" หรือ Computer Science ในสัปดาห์ที่แล้วได้รู้กันไปแล้วว่าสาขานี้เรียนอะไรบ้าง วันนี้เราไปเก็บรายละเอียดด้านอื่นๆ ของการเรียนสาขานี้กันไปดูกันค่ะ1. สำหรับหลักสูตรในประเทศไทย "วิทยาการคอมพิวเตอร์" เป็นสาขาที่ไม่มีคณะเป็นของตัวเอง จะอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ หรือ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตค่ะ  2. วิทยาการคอมพิวเตอร์  มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Computer Science หรือ CS เวลาเรียกชื่อย่อก็จะเรียนว่า CS ไม่ก็ วิทย์คอม ค่ะ3. วิทยาการคอมพิวเตอร์ ไม่เหมือน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นะคะ คือมีเรียนในรายวิชาที่ทับซ้อนกัน แต่ วิศวะคอมฯ จะลงไปทางฮาร์ดแวร์มากกว่า เช่น ออกแบบ CPU หรือ การหาอุปกรณ์ช่วยเพิ่มความแรงของการส่งสัญญาณ Wifi ส่วน วิทย์คอมฯ เน้นไปที่ซอฟต์แวร์ค่ะ4. ส่วน IT (เทคโนโลยีสารสนเทศ) กับ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็ไม่เหมือนกัน มีเรียนบางวิชาที่ทับซ้อนกัน แต่ก็มีความต่างคือ IT จะเรียนไปทางด้านการสื่อสาร เพื่อเข้าใจระบบสารสนเทศ ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนวิทย์คอมฯ จะเน้นไปที่เขียนโปรแกรมค่ะ ซึ่งวิชาพื้นฐานที่เรียนก็จะคล้ายๆ กัน  5. วุฒิการศึกษาก็ต่างกันนะคะ อย่าง วิทยาการคอมพิวเตอร์จะได้เป็น วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์จะได้เป็น วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีทั้งแบบวิทยาศาสตรบัณฑิตและเทคโนโลยีบัณฑิต ค่ะ
 

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

         6. การเรียนสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็จะมีแขนงหรือวิชาเอกแยกย่อยลงไปอีก (แล้วแต่มหาวิทยาลัย) เช่น AI, Robot, Network แนะนำว่าลองโทรไปสอบถามทางหลักสูตรของสถาบันนั้นก่อนตัดสินใจสอบเข้าจะดีกว่าค่ะ  7. การเรียนจะมีเรียนวิชาพื้นฐานตอนปี 1 เช่น คณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ อัลกอลิทึม ภาษาอังกฤษ พอเรียนปีสูงขึ้นก็จะลงลึกในระบบแต่ละระบบมากขึ้น มีการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ในหลายๆ ภาษา รวมทั้งเรื่องการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การประมวลผล ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ อีกด้วย 8. นอกจากจะเรียนทับซ้อนกับสาขาอื่นที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแล้ว ในการทำงานก็สามารถทำงานได้ในตำแหน่งที่คล้ายๆ กันด้วยค่ะ เช่น โปรแกรมเมอร์ ก็จบได้ทั้ง CS และวิศวะคอมฯ เป็นต้น9. วิทยาการคอมพิวเตอร์ มีเปิดทั้งหลักสูตรปกติ(ภาษาไทย) และหลักสูตรนานาชาติ/ภาษาอังกฤษ บางสถาบันก็มีทั้ง อย่างที่ มจธ.(บางมด) ก็มีทั้งวิทยาการคอมพิวเตอร์(ภาคภาษาอังกฤษ) อยู่ในคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์(ภาคภาษาไทย) อยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ ค่ะ 10. ส่วนใหญ่สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะเปิดรับเฉพาะสายวิทย์เท่านั้น เพราะมีเรียนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเรียนสายศิลป์คำนวณต้องลองเช็กกับสถาบันให้ดี หรือไม่ก็เรียนสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบางเอกที่รับเด็กศิลป์คำนวณค่ะ 11. จะสอบเข้าสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะใช้คะแนน GAT PAT 1 PAT 2 (แล้วแต่สถาบัน) ส่วนวิชาสามัญใช้ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เป็นวิชาหลัก แต่ถ้าอยากครอบคลุมหมดก็เก็บ เคมี กับชีววิทยา มาด้วยค่ะ อันนี้ปลอดภัยชัวร์    12. จริงๆ งานในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ไม่ได้เป็นได้แค่โปรแกรมเมอร์นะคะ ยังสามารถเป็น นักพัฒนาซอฟต์แวร์ นักออกแบบฐานข้อมูล อาจารย์ นักวิจัย ผู้ดูแลระบบ Network Engineer ฯลฯ เดี๋ยวนี้ตำแหน่งมีเยอะมากจริงๆ 13. เพราะการเรียนในสายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเป็นทางฝั่งทฤษฎี แต่ว่าแต่ละสาขาจะเน้นต่างกัน ถ้าใครมีการขวนขวาย หาความรู้ใหม่ๆ พัฒนาตัวเองได้ตลอดเวลา ก็สามารถทำงานที่ไม่ตรงกับสาขาที่เรียนจบได้ อย่างเช่นจบ CS แต่เป็นวิศวกรซอฟต์แวร์ ก็ได้ค่ะ 14. มีอย่างหนึ่งที่ไม่ได้อยากให้เข้าใจผิดกันก็คือ เด็ก CS ไม่ได้ซ่อมคอมเป็นนะจ๊ะ คือเราเรียนเขียนโปรแกรม เขียนการทำงานของระบบนั้นๆ ถ้า CPU พัง เปิดจอคอมไม่ได้ wifi ไม่เข้า ต้องทำอย่างไร แก้ที่ไหน อันนี้เราไม่รู้จ้าาาาา
 

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

         15. เอาจริงๆ การเรียน CS ไม่ใช่แค่ว่าเขียนโปรแกรมได้แล้วจบนะคะ ต้องสามารถสื่อสารได้ วางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบได้ และที่สำคัญต้องเข้าใจตรรกะของงานชิ้นนั้นด้วย ถ้าไม่เข้าใจก็เขียนโปรแกรมออกมาไม่ได้16. เชื่อมั้ยว่า ถ้าเรียน CS แล้วเก่งทางด้านการใช้ Photoshop ด้วย หรือการตัดต่อคลิปด้วย ก็พัฒนาไปได้อีกงานเลยนะคะ แบบนี้เป็นที่ต้องการเยอะมาก สามารถทำงานได้หลายงายในคนคนเดียว 17. เป็นสาขาที่เน้นทำ ไม่เน้นอ่านเท่าคณะอื่นๆ (แต่ก็เรียนทฤษฎีปกตินะจ๊ะ) คือจะจบได้ต้องเขียนให้เป็น รันโปรแกรมออกมาให้ได้ กว่าจะผ่านมาแต่ละวิชาก็ยากเย็นไม่แพ้คณะอื่นๆ เหมือนกัน อย่ามองว่าเรียน CS แล้วสบายเลยค่ะ ไม่สบายนะบอกจริง 18. ไม่ใช่ว่าใครจะเรียนก็ได้ CS เป็นสาขาที่คนที่มาเรียนส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานที่ชอบด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอยู่แล้ว ถ้าไม่ชอบด้านนี้เยนไปเหมือนตกนรกเลยค่ะ อะไรก็ไม่รู้ ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรมจะใช้ภาษาอังกฤษ แต่ก็เป็นภาษาอังกฤษที่เป็นคำเฉพาะด้านนี้ ถ้าไม่มีใจไม่ต้องมา 19. เด็ก CS ไม่ได้หยิ่งเน้ออออออ เราก็คือเด็กปกติทั่วไปนั่นแหละ แต่การเรียนของเรามันเป็นด้านคอมฯ บางทีก็คุยกับเด็กภาคอื่นไม่ค่อยจะรู้เรื่อง แต่คุยได้นะ ทักมาเหอะ ฮ่าๆ20. เรียน CS จะเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายก็เรียนได้ค่ะ ไม่ได้มีข้อจำกัดอะไร และก็ไม่ได้มีค่านิยมอะไรด้วยว่าต้องเป็นผู้ชายเท่านั้น ใครเก่งกว่า มีความสามารถมากกว่า เหมาะกับงานนั้นๆ มากกว่า ก็ได้งานไปครองเลยจ้า หรือจะเป็นฟรีแลนซ์ก็ได้ อิสระมากๆ

         เรื่องของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีไม่ได้จบแค่ที่การเรียน แต่ต้องพัฒนาและต่อยอด รวมทั้งหาความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอถึงจะสามารถเก่งขึ้นได้ เพราะว่าโลกของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีก็พัฒนาอย่างรวดเร็ว ในสัปดาห์หน้าพี่แป้งมีประสบการณ์รุ่นพี่ที่ได้ทำงานที่ Google มาฝากกัน รอติดตามนะคะ


 

  • #วิทยาการคอมพิวเตอร์
  • #วิทย์คอม
  • #วิทยาศาสตร์คอม
  • #วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
  • #คอมพิวเตอร์
  • #เรียนเขียนโปรแกรม
  • #Computer Science
  • #CS

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญอย่างไร

พี่แป้ง - Columnist นักข่าวสายรับตรง พร้อมเสิร์ฟข่าวสอบเข้าทุกมหา'ลัย เติมพลังได้จากชาเย็นหวานน้อย

ความสำคัญของวิทยาการคอมพิวเตอร์คืออะไร

วิทยาการคอมพิวเตอร์ทำให้เราเข้าใจถึงหลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง เป็นรากฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ ขณะที่เทคโนโลยีสารสนเทศจะเน้นด้านการใช้งานวิทยาการคอมพิวเตอร์จะเน้นทฤษฏีและหลักการ วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นวิทยาศาสตร์ แขนงหนึ่งที่ผสมผสานระหว่าง ศาสตร์ด้านไฟฟ้าอีเล็กทรอนิกส์ คณิตศาสตร์หลายแขนง เช่น ตรรกศาสตร์ ...

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างไร

ปัจจุบันวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศนับเป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทั่วโลกเพราะช่วงเวลาของการใช้เทคโนโลยีใน หลายปีที่ผ่านมาทำให้มนุษย์เห็นว่าเทคโนโลยีมาช่วยทำให้การดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความสะดวกสบายขึ้นและยังช่วยให้การทำงานต่าง ๆ ที่นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้สำเร็จลุล่วง ...

วิทยาการคอมพิวเตอร์มีความสําคัญต่อเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร

คอมพิวเตอร์มีส่วนสำคัญในการช่วยให้งานค้นคว้าด้านเทคโนโลยีก้าวหน้าไปไกล มาก เพราะสามารถช่วยงานคำนวณที่ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทำได้มาก่อน ตัวอย่างง่ายๆ เช่น การควบคุมการส่งดาวเทียม การส่งยานอวกาศ การคำนวณออกแบบอาคารหรือโครงสร้างใหญ่ๆ จะทำได้ยากถ้าไม่มีคอมพิวเตอร์ อนึ่ง นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และนักเทคโนโลยีปัจจุบันยัง ...

วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นศาสตร์เกี่ยวข้องกับอะไร

Computer Sciences เรียนอะไร? Computer Sciences จะเรียนเกี่ยวกับระบบของคอมพิวเตอร์และการพัฒนาซอฟแวร์ในเครือข่าย ด้วยการใช้อุปกรณ์และการบริการต่าง ๆ ในสอนการประมวลผลข้อมูลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์และการพัฒนาเครือข่ายของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย