การสืบทอดดนตรีของศิลปินทำให้ดนตรีได้รับการยอมรับจากสังคมได้อย่างไร

การสืบทอดดนตรีของศิลปินทำให้ดนตรีได้รับการยอมรับจากสังคมได้อย่างไร

  • มัธยมต้น
  • วิชาอื่น ๆ

ขอคำอธิบายวิธีคิดแบบละเอียดๆค่ะ

ในวิถีชีวิตปัจจุบัน บุคคลไม่อาจหนีรอดจากอิทธิพลของเสียงดนตรีได้ ไม่ว่าจะทำอะไร อยู่ที่ไหน เมื่อไหร่ เสียงดนตรีก็จะแวดล้อมอยู่เกือบทุกเวลาและทุกสถานที่ ดนตรีถูกสร้างขึ้นมาใช้เป็นพื้นหลังสนับสนุนการดำเนินชีวิตของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ดนตรีช่วยจุดประกายแสงสว่างให้แก่เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ในชีวิตของบุคคล ทั้งในยามสุข และยามเศร้า รังสรรค์ให้บุคคลได้ถ่ายเทอารมณ์จากอารมณ์ตึงเครียดเป็นอารมณ์ผ่อนคลาย เสียงดนตรีสามารถเชิญชวนให้บุคคลลุกขึ้นเต้นรำ สามารถดลบันดาลให้บุคคลมีความภาคภูมิใจในความเป็นหมู่คณะและความเป็นชาติของตน ถ้าปราศจากเสียงดนตรีแล้วศิลปะการแสดงต่างๆ ก็จะไม่เกิดขึ้น


เนื่องจากบุคคลไม่สามารถแยกตนเองออกจากสังคมได้ เพราะโดยธรรมชาตินั้นมนุษย์จะอยู่รวมกันเป็นสังคม ทำกิจกรรมร่วมกัน เช่นร่วมกันล่าสัตว์ ร่วมกันประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ ร่วมเฉลิมฉลองในงานประเพณีทางศาสนาเป็นต้น การรวมตัวกันลักษณะนี้ช่วยให้ทุกคนในกลุ่มมีโอกาสแสดงตัวตนต่อสังคม และแสดงอารมณ์ต่างๆ ออกมาเพื่อสื่อสารความรู้สึกนึกคิดกับบุคคลอื่น โดยในทุกกิจกรรมจะมีการบรรเลงดนตรีหรือขับร้อง เพื่อช่วยสื่อสารความเข้าใจระหว่างกันและกันของสมาชิกในสังคมด้วย

ปัจจัยที่ทำให้งานดนตรีได้รับการยอมรับจากสังคม 1 ปัจจัยด้านความเจริญทางวัฒนธรรม ... 2 ปัจจัยด้านความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ... 3. ปัจจัยด้านค่านิยมและการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับยุคสมัย ... 4 ปัจจัยด้านการสืบทอดดนตรีของศิลปิน

ข้อ 4 ตอบเพลงชาติ เป็นเพลงปลุกใจแล้วก็มีความหมาย ในเรื่องของการเสียสละของบุคคลในอดีตทำให้เรามีความสุขจิตสำนึกที่จะสานต่อปณิธานความตั้งมั่น

ปจจัยทีทําใหง้ านดนตรี
ได้รบั การยอมรบั

อาจารยพ์ งศพชิ ญ์ แก้วกลุ ธร
อาจารยน์ สิ ติ นนั ทนชั ชาวไรอ่ ้อย
ร า ย วิ ช า ศ 2 3 1 0 2 พื น ฐ า น ศิ ล ป ศึ ก ษ า 6
ชั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที 3 โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ ป ทุ ม วั น

ป"จจัยทีท่ ำให,งานดนตรไี ด,รับการยอมรับ

ป"จจัยทีท่ ำให,งานดนตรีได,รบั การยอมรับจากสังคม

ดนตรีเป)นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติที่เสริมสร;างความแข็งแกร?งให;กับคนในสังคมการสร;างสรรคCงานดนตรี
มีมาอย?างต?อเนื่องตั้งแต?อดีตสู?ปHจจุบัน แม;ว?าบางช?วงสมัยดนตรีอาจได;พบกับสภาวะวิกฤติบ;าง แต?ก็ยังสามารถธำรงคุณค?า
ให;อยคู? ู?สงั คมในปจH จุบนั ได;อยา? งสมบรู ณCโดยในทนี่ ้ีจะกลา? วถึงปจH จัยสำคญั ที่ทำให;งานดนตรีได;รับการยอมรบั จากสงั คม ดงั น้ี

1. ป%จจัยด*านความเจริญทางวฒั นธรรม
ดนตรีมีความสำคัญและมีคุณค?าอย?างยิ่งต?อวัฒนธรรมของชาติ ตั้งแต?อดีตจนถึงปHจจุบันประเทศไทยมีการนำดนตรีไทย

เข;าไปเป)นส?วนหนึ่งของกิจกรรมทางประเพณีต?างๆ ทั้งพระราชพิธี และพิธีกรรมต?างๆ ของประชาชน เช?น ในอดีตเมื่อสมเด็จ-
พระบรมราชินีทรงมีพระประสูติกาลเป)นพระราชโอรสจะมีการบรรเลงวงแตรสังขCและวงปXYพาทยC หากทรงมีพระประสูติกาล
เป)นพระราชธิดาก็จะมีการบรรเลงวงปXYพาทยC เป)นต;น สำหรับกิจกรรมทางประเพณีของประชาชนจะมีการนำวงดนตรีไปบรรเลง
เป)นส?วนหนึ่งของงานนั้นๆ เช?น งานทำบุญขึ้นบ;านใหม? งานทำขวัญนาค งานมงคลสมรส งานวันเกิด งานสมโภชเฉลิมฉลองต?างๆ
งานเทศกาลตามประเพณี งานศพ เป)นต;น ซึ่งได;ยึดถือปฏิบัติมาจนถึงปHจจุบันทำให;คนไทยมีความรัก ความผูกพันกับวิถีชีวิต
และประเพณีไทย มีความคิดและมีทัศนคติที่ดีต?อดนตรีจนเกิดความรู;สึกว?าดนตรีเป)นส?วนหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะดนตรีไทย
ทีช่ ?วยสะท;อนใหเ; ห็นถึงความเจริญรงุ? เรอื งทางวัฒนธรรมของไทยไดเ; ป)นอยา? งดี

ภาพตวั อยNาง การบรรเลงดนตรไี ทยในงานแตNงงาน

เอกสารประกอบการเรียนร,รู ายวชิ าพน้ื ฐานศิลปศกึ ษา 6 อาจารยพI งศพิชญI แกว, กลุ ธร และอาจารยนI สิ ติ นันทนัช ชาวไรอN อ, ย

ป"จจัยทีท่ ำใหง, านดนตรไี ด,รับการยอมรบั

ปHจจุบันทุกประเทศในโลกต?างมีงานศิลปวัฒนธรรมที่แสดงถึงความเป)นเอกลักษณCของชาติ ดังที่พบเห็นได;เสมอ
ในงานสำคัญต?างๆ เช?น ในการแข?งขันกีฬาระหว?างประเทศประเทศที่เป)นเจ;าภาพจะแสดงออกอย?างชัดเจนในการนำ
ศิลปวัฒนธรรมของชาติตนมาแสดงในวันเป`ดและป`ดการแข?งขัน โดยประเทศเจ;าภาพจะนิยมจัดศิลปะด;านการแสดงดนตรี
ที่แสดงความเป)นชาติของตนมาแสดง เพื่ออวดให;ชาวโลกได;ชื่นชม สะท;อนให;เห็นความเจริญรุ?งเรืองทางวัฒนธรรม ซึ่งประเทศ
ไทยก็เช?นเดียวกันเมื่อได;รับหน;าที่เป)นประเทศเจ;าภาพในการจัดการแข?งขันกีฬาระหว?างประเทศ หรืองานต;อนรับราชอาคันตุกะ
จากต?างประเทศ รฐั บาลไทยก็จะนำศลิ ปะการแสดงประเภทต?างๆ และการบรรเลงเคร่อื งดนตรไี ทยมาจดั แสดง

ภาพตัวอยาN ง การแสดงโขนอันเปนR นาฏศิลปTชน้ั สูงของไทย ท่นี ิยมจดั แสดงต,อนรบั อาคันตุกะจากตาN งประเทศหรือนำไปแสดงตาN งประเทศเพื่อเผยแพรNวฒั นธรรม

2. ปจ% จยั ด*านความเจริญกา* วหน*าทางเทคโนโลยี
ความเจริญก;าวหน;าทางเทคโนโลยีทำให;งานดนตรีกลายเป)นที่ยอมรับของคนในสังคมอย?างกว;างขวาง ซึ่งเทคโนโลยี

ต?างๆ ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อนำมาใช;พัฒนางานดนตรีให;คนในสังคมเข;าถึงดนตรีได;ง?ายมากยิ่งขึ้นนั้น เกิดขึ้นมาตั้งแต?เมื่อโทมัส
อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักวิทยาศาสตรCชาวอเมริกันได;คิดประดิษฐCเครื่องบันทึกเสียงขึ้น เมื่อ พ.ศ.2420
วงการดนตรีทั้งไทยและสากลก็ได;นำเครื่องบันทึกเสียงดังกล?าวมาสร;างสรรคCงานดนตรี บันทึกเสียงเพลง เสียงขับร;อง
เสียงปราศรยั และข;อมูลเสยี งต?างๆ ไว;เปน) สมบตั ิให;ชนรน?ุ หลัง ซึง่ นักเรียนสามารถนำมาใชศ; กึ ษาหาความรไ;ู ดม; าจนถงึ ปHจจุบนั

"เพลงสรรเสริญพระบารมี" ที่มีการบันทึกเสียงเก?าแก?ที่สุดในโลกนั้น มีหลักฐานยืนยันอย?างชัดเจนว?าเป)นการบันทึกเสียง
ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเป)นการบันทึกเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมีแบบบรรเลงดนตรีไทยเดิม โดยคณะ
นายบุศยCมหินทรC (Boosra Mahin) หรือเจ;าหมื่นไววรนาถ เมื่อครั้งรอนแรมไปแสดงที่สวนสัตวC ณ กรุงเบอรCลิน (Berlin Zoo)
ประเทศเยอรมันนี ในปX พ.ศ. 2443 โดยเป)นการบันทึกเสียง "เพลงสรรเสริญพระบารมี" ลงกระบอกเสียงของเอดิสันชนิดไขขี้ผึ้ง
สีน้ำตาลอ?อนหรือที่เรียกว?า Edison brown blank wax cylinder (กรุณาชมในคลิป) และบันทึกเสียงโดย ดÉอกเตอรC คารCล
สตÉฟุ (Dr. Carl Stumpf) ซงึ่ เปน) ผู;เชี่ยวชาญการศึกษาเรอ่ื งของเสียงและการบันทึกเสยี งในประเทศเยอรมนั นี

เอกสารประกอบการเรยี นรูร, ายวชิ าพื้นฐานศลิ ปศกึ ษา 6 อาจารยพI งศพิชญI แก,วกุลธร และอาจารยIนิสติ นันทนชั ชาวไรNออ, ย

ป"จจัยทีท่ ำใหง, านดนตรีได,รบั การยอมรับ

3. ป%จจัยดา* นค?านิยมและการปรับเปลี่ยนใหเ* ขา* กับยุคสมยั
ค?านิยมของสังคมไทยที่มีต?อเรื่องต?างๆ นั้น สามารถเปลี่ยนแปลงไปได;ตลอดเวลา ซึ่งงานดนตรีก็เช?นเดียวกัน งานดนตรี

สามารถปรับเปลี่ยนให;เข;ากับยุคสมัยได; โดยในอดีต พระมหากษัตริยCไทยทรงถือเป)นพระราชกรณียกิจประการหนึ่งที่ทรงต;อง
ส?งเสริมงานดนตรีของชาติให;เจริญรุ?งเรือง บรรดาพระบรมวงศานุวงศC ข;าราชการผู;ใหญ?มีค?านิยมในการส?งเสริมดนตรีไทย
มีการพัฒนาวงดนตรี และอุปถัมภCนักดนตรีส?วนในหมู?ประชาชนก็ได;มีการจัดตั้งวงดนตรี เมื่อมีงานบุญ งานกุศล งานเฉลิมฉลอง
งานอวมงคล ก็จะมีค?านิยมการนำดนตรีไทยไปบรรเลงเป)นส?วนหนึ่งของงานด;วยแม;ปHจจุบันระบบสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปมาก
โครงสร;างทางวัฒนธรรมก็เปลี่ยนแปลงไปแต?ค?านิยมของคนไทยที่มีต?อดนตรีก็ยังคงอยู? รัฐบาลไทยยังสนับสนุนและทำนุบำรุง
ดนตรีโดยเฉพาะดนตรีไทยอยู?เสมอ เช?น การจัดตั้งสถาบันการศึกษาที่ทำหน;าที่เกี่ยวกับการผลิตนักดนตรีไทยมหาวิทยาลัยต?างๆ
ก็ได;มีเป`ดการศึกษาวิชาเอกดนตรี ระดับโรงเรียนทั้งระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษามีการจัดรายวิชาดนตรีให;นักเรียน
ได;ศึกษาและฝçกปฏิบัติดนตรี นักเรียนจึงมีค?านิยมที่ดีต?อดนตรีไทย ทำให;คนรุ?นใหม?เล็งเห็นความสำคัญในการศึกษา เรียนรู;
และใช;ดนตรีเป)นส?วนหนึ่งของชีวิตได;อย?างมีคุณค?าตัวอย?างของการปรับเปลี่ยนดนตรีให;เข;ากับยุคสมัยและค?านิยมที่เปลี่ยนแปลง
ไป เช?น เมื่อวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกเข;ามาแพร?หลายในสังคมไทยจึงเกิดวงแตรวง โดยมีการนำเพลงไทยมาบรรเลงด;วย
วงแตรวงจำนวนมาก เมื่อสังคมไทยนิยมนำวงปXYพาทยCมอญมาบรรเลงในกิจกรรมต?างๆ ก็เกิดการแต?งเพลงมอญขึ้นจำนวนมาก
และเม่ือสังคมไทยนิยมฟHงเพลงที่บรรเลงด;วยวงดนตรีสากล ศิลป`นดนตรีจึงนำเพลงไทยมาขับร;องเนื้อเต็มและบรรเลงด;วย
วงดนตรีสากลเป)นศิลปะผสมผสาน รวมทั้งบางส?วนก็ได;พัฒนาไปเป)นเพลงลูกทุ?ง เป)นต;นนอกจากนี้ ยังได;มีการนำดนตรีไทย
และดนตรีสากลมาผสมผสานบรรเลงเข;าด;วยกันจนได;รับความนิยมชมชอบจากนักฟHง ในขณะเดียวกันก็ยังมีการนำเครื่องดนตรี
ชาติต?างๆ มาบรรเลงประกอบเพลงไทย เช?น กู?เจิง ซอเอ;อหู เป)นต;น ดังนั้น ในปHจจุบันดนตรีในประเทศไทยจึงมีทั้งดนตรีไทยเดิม
ดนตรสี ากล และดนตรีไทยสากลในสังคม

ภาพตัวอยNาง การผสมผสานระหวาN งดนตรีไทยและดนตรีสากล

4. ปจ% จยั ด*านการสบื ทอดดนตรีของศิลปMน
ในอดีตการสืบทอดดนตรีของศิลป`นดนตรี จะเป)นการเรียนรู;ในสำนักดนตรี มีครูเป)นศูนยCกลางของความรู; มีสำนักดนตรี

ที่เจ;านาย ข;าราชการหรือผู;มีฐานะทางสังคม และเศรษฐกิจอุปถัมภC ซึ่งปHจจุบันได;เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ครูดนตรีรุ?นเก?า
ผันตัวเองไปเป)นผู;เชี่ยวชาญ ผู;ทรงคุณวุฒิในสถานศึกษาต?างๆ การสืบทอดดนตรีไทยได;พัฒนาให;สอดคล;องกับการก;าวไปของโลก
สมัยใหม? โดยได;เข;าสู?ระบบการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาแทนที่การศึกษาในวังหรือในวัดเหมือนในอดีตขณะเดียวกัน
นักเรียนที่เรียนในโรงเรียน และก;าวเข;าสู?การเรียนดนตรีในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ก็ได;กลับเข;ามาเป)นครู
อาจารยCร?วมกับครูผู;ทรงคุณวุฒิด;านดนตรีไทย และมาเป)นครูสอนดนตรีให;แก?นักเรียนรุ?นต?อๆ มา ระบบการสืบทอดดนตรีไทย
ที่กล?าวมา ส?งผลให;นักเรียนมีโอกาสเรียนดนตรีไทยกันได;อย?างกว;างขวาง มีตำราเรียนดนตรี เครื่องดนตรีและสื่อการเรียน-

เอกสารประกอบการเรียนร,รู ายวิชาพนื้ ฐานศลิ ปศกึ ษา 6 อาจารยIพงศพชิ ญI แกว, กุลธร และอาจารยIนิสติ นนั ทนัช ชาวไรNออ, ย

ป"จจยั ทที่ ำใหง, านดนตรไี ด,รับการยอมรับ

การสอนที่ทันสมัย เอื้ออำนวยให;นักเรียนได;ศึกษาหาความรู; ซึ่งถือเป)นปHจจัยสำคัญที่ทำให;วิชาการดนตรีไทยดำรงอยู?คู?กับสังคม
และวฒั นธรรมไทยตอ? ไป

ภาพตวั อยNาง พิธีไหวค, รูดนตรไี ทย เปRนพธิ ีกรรมหน่งึ ทีแ่ สดงให,เหน็ ถึงการสบื ทอดดนตรขี องครดู นตรตี อN ศิษยI
และยังเปRนการปลูกฝง" ให,ศษิ ยมI คี วามเคารพนบนอบตNอครูอาจารยIท่ีประสิทธิ์ประสาทวิชาใหอ, ีกด,วย

เอกสารประกอบการเรยี นร,ูรายวิชาพน้ื ฐานศลิ ปศกึ ษา 6 อาจารยพI งศพิชญI แก,วกุลธร และอาจารยนI สิ ติ นนั ทนัช ชาวไรอN ,อย

ปจ" จยั ท่ที ำให,งานดนตรีได,รบั การยอมรับ

ปจ" จัยทที่ ำให,งานดนตรีไดร, บั การยอมรับจากบคุ คล

ปจH จยั ทที่ ำใหง; านดนตรีได;รับการยอมรับมีหลายประการ ซึง่ เปน) ส่ิงท่ีทำใหด; นตรเี ป)นท่รี ู;จกั ยอมรับ ได;รับความนยิ ม
จากคนในสังคม ซ่งึ ปจH จัยท่ที ำใหง; านดนตรไี ด;รับการยอมรบั จากบคุ คล มีดงั นี้

6. บทเพลงมคี วาม 1. บทเพลงมีจังหวะ 2. นักดนตรบี รรเลง
ทนั สมัย เข;ากบั กลุม? ทำนอง และเนื้อหาที่ ได;ไพเราะซาบซงึ้ ใจ
3. ผูข; บั ร;องมีน้ำเสียง
ผูฟ; Hง ไพเราะ ดี ไพเราะเหมาะสม
5. บทเพลงมี
เอกลกั ษณC เช?น ป"จจยั ที่ทำใหง, าน กับบทเพลง
จงั หวะ และทำนอง ดนตรีได,รบั การยอมรบั

เพลง จากบคุ คล

4. การแสดงดนตรีมี
ความสนุกสนาน

นา? สนใจ

เอกสารอา* งองิ

ราสิยศ วงศศ* ิลปกลุ และ ศริ ิรตั น* วฐุ สิ กลุ . (2557). ดนตร-ี นาฏศลิ ป- ชน้ั มัธยมศึกษาปท8 ่ี 3. กรุงเทพฯ : บริษัทพฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.)
จำกัด.

สมุ นมาลย* นิม่ เนตพิ ันธ* และคณะ. (2551). ค>ูมอื ครดู นตร-ี นาฏศลิ ป- ช้ันมัธยมศึกษาป8ที่ 3. พิมพค* รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทัศน* อจก.
จำกดั .

Ms school. (2559). หน>วยการเรยี นรูทD ี่ 1 เรื่องที่ 2 ปHจจยั ทท่ี ำใหงD านดนตรไี ดDรบั การยอมรับจากสงั คม. สบื ค[นเม่อื 7 พฤศจกิ ายน 2559,
จาก http:// omsschools.com/school/school _ teacher /index.php?id_ teacher=599&lesson_id=1433

วรกุล งามสระค.ู (2559). เพลงสรรเสริญพระบารมี และเพลงชาตไิ ทย. สบื คน[ เม่ือ 7 พฤศจกิ ายน 2559, จาก
http://t-h-a-i-l-a-n-d.org/RoyalAnthem.html

เอกสารประกอบการเรยี นรร,ู ายวิชาพ้นื ฐานศลิ ปศกึ ษา 6 อาจารยIพงศพชิ ญI แกว, กลุ ธร และอาจารยIนิสติ นนั ทนชั ชาวไรอN อ, ย

เพราะเหตุใดดนตรีจึงได้รับการยอมรับจากสังคม

ดนตรีเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับคนในสังคม การสร้างสรรค์งานดนตรีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน แม้ว่าบางช่วงสมัยดนตรีอาจได้พบกับสภาวะวิกฤติบ้าง แต่ก็ยังสามารถดำรงคุณค่าให้อยู่คู่สังคมในปัจจุบันได้อย่างสมบูรณ์

ปัจจัยที่ทำให้งานดนตรีได้รับการยอมรับ มีกี่ข้อ

กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม ตามปัจจัยที่ท าให้งานดนตรีได้รับการยอมรับ จากสังคม ดังต่อไปนี้ ๑. ปัจจัยด้านความเจริญทางวัฒนธรรม ๒. ปัจจัยด้านความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ๓. ปัจจัยด้านค่านิยมและการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับยุคสมัย ๔. ปัจจัยด้านการสืบทอดดนตรีไทยของศิลปิน แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายว่า ...

ดนตรีที่ได้รับการยอมรับส่งผลต่อสังคมอย่างไร

ดนตรีกับการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ช่วยให้การประสานงานของระบบต่างๆ ในร่างกาย ความสามารถทางการเห็นและการได้ยินดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีส่วนเสริมสร้างสมาธิ ความจำ เชาว์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์อื่นๆ ดนตรีกับการพัฒนาสติปัญญา

ดนตรีมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคมอย่างไร

เสียงดนตรีเป็นภาษาสากลที่ให้สื่อสารกันทั่วโลก สามารถถ่ายทอดความรู้สึกของมนุษย์จึงเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวัน มนุษย์มีความคุ้นเคยกับดนตรี ทั้งในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การแสดงออก การแสดงความสามารถชั้นสูงที่บุคคลพึงกระทำได้ กิจกรรมดนตรีช่วยระบายอารมณ์ เป็นการผ่อนคลายความเครียดขณะทำงาน หรือเวลาว่าง กล่าวโดย ...